SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  139
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 11 โครงสร้ างและหน้ าทีของพืชดอก
                             ่
            11.1 เนือเยอพช
                    ้ ่ื ื
จุดประสงค์ การเรียนรู้ เพือให้ นักเรียนสามารถ
                              ่
1.สืบค้ นข้ อมูลเกี่ยวกับโครงสร้ างและหน้ าที่ของเนือเยื่อ
                                                    ้
เจริญและเนือเยื่อถาวรของพืช
                ้
2.สืบค้นข้อมูล ทดลอง อธิบาย และอภปรายเก่ ียวกบ
                                         ิ            ั
โครงสร้างและหน้าท่ ของราก ลาต้น และใบ
                       ี         ํ
3.สืบค้นข้อมูล ทดลอง และสรุปเก่ ียวกบโครงสร้างภายใน
                                       ั
ของราก ลาต้น และใบ
            ํ
4.ทดลองและอภิปรายเกี่ยวกับตําแหน่ งและจํานวนของปาก
ใบในพชแต่ละชนิด และเปรียบเทยบความหนาแน่นของ
        ื                           ี
ปากใบในพชต่างชนิดกัน
              ื
เซลล์พช(plant cell)
               ื




http://waynesword.palomar.edu/lmexer1a.htm
เซลล์ พช มีผนังเซลล์ (cell wall)ทีให้ ความแข็งแรงต่ อ
            ื                     ่
  โครงสร้ างของพืช แบ่ งเป็ น 1.ผนังเซลล์ ปฐมภูมิ
  (primary cell wall) ซึ่งมีองค์ ประกอบสํ าคัญ
  เป็ นเซลลูโลส(cellulose) โดยผนังเซลล์ ของเซลล์ ที่
  อยู่ตดกันจะมี middle lamella กั้นอยู่ และมี
        ิ
เพกทิน(pectin)เป็ นองค์ ประกอบ
2.ผนังเซลล์ ทุตยภูม(secondary cell wall)ซ่ึงมี
                 ิ ิ
  ในพชบางชนิด โดยอยู่ระหว่างprimary cell
          ื
  wall กับเยือหุ้มเซลล์ หรือแทรกอยู่ใน primary
               ่
  cell wall ซึ่งจะเป็ นสารพวกลิกนิน(lignin)
รู้ไว้ มีประโยชน์
Pectin เป็นพอลแซ็กคาไรด์ (polysaccharide) ใน
                     ิ
     ผนังเซลล์ ของพืช (plant cell wall) และรอยต่ อ
     ระหว่างผนังเซลล์ โดยรวมตวอย่ ูกบเซลลโลส
                               ั    ั    ู
     (cellulose) ทําหน้ าทียดเกาะผนังเซลล์ ให้ ตดกันคล้ าย
                            ่ึ                  ิ
     เป็ นซีเมนต์
คุณค่ าทางอาหารของเพคติน
 ร่ างกายไม่ สามารถย่ อยเพคตินได้ ในระบบการย่ อย จดเป็น
                                                  ั
ใยอาหาร(dietary fiber) ชนิดหนึ่ง
Lignin คือ ส่ วนของผนังเซลในพืช ลกนินเป็ น
                                          ิ
ส่ วนประกอบหลักของพืชเช่ นเดียวกับเซลลูโลส ช่ วยให้ พชมี
                                                       ื
    เนือทีแข็งแกร่ งและทนทาน จึงมีมากในพืชไม้ เนือแข็ง
       ้ ่                                       ้
เนือเย่อพช(plant tissue) แบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภท
   ้ ื ื
ตามลกษณะการเจริญของเนือเยอ
        ั                ้ ่ื
1. เนือเยือเจริญ (Meristematic tissue)
       ้ ่
2. เนือเยือถาวร(Permanent tissue)
      ้ ่
นักเรี ยนทราบหรื อไม่ ว่าเนือเยื่อทัง 2 อยู่ท่ อวัยวะ
                            ้       ้          ี
ส่ วนใดของพืชและมีรูปร่ างอย่ างไร
1.เนือเยือเจริญ(Meristematic tissue) คือ
     ้ ่
เนือเยือทีประกอบด้ วยเซลล์ ทมความสามารถในการ
   ้ ่ ่                     ี่ ี
แบ่งตวแบบไมโทซิส (mitosis) ได้ ตลอดชีวตของ
      ั                                     ิ
เซลล์ ลักษณะเซลล์ เป็ นเซลล์ ทมชีวต
                                  ี่ ี ิ
โดยมากมีรูปร่ างหลายเหลียมหรือ ค่ อนข้ างกลม
                         ่
ขนาดเล็ก ผนังบาง มีนิวเคลียสขนาดใหญ่ ไซโทพลาซึม
เต็มเซลล์ แวคิวโอลมีขนาดเลกหรือไม่ มี แต่ละเซลล์ อยู่
                               ็
ชิดกันมากจนไม่ มช่องว่ างระหว่ างเซลล์
                 ี
(intercellular space)
เมื่อเซลล์ ของเนือเยือเจริญหยุด
                 ้ ่
แบ่ งตัวจะเปลียนสภาพไปเป็ นเนือเยือถาวรต่ อไป
               ่                ้ ่
เนือเยือเจริญสามารถจําแนกตามตําแหน่ งทีอยู่บนส่ วน
    ้ ่                                ่
ต่ าง ๆ ของพืชได้ 3 ชนิด คือ
1.1 เนือเยือเจริญส่ วนปลาย(apical meristem)
       ้ ่

-ปลายราก เรียก เนือเยือเจริญส่ วนปลายราก (apical
                  ้ ่
root meristem) ทาให้รากยาวขน
                         ํ          ึ้

-ปลายยอด เรียก เนือเยือเจริญส่ วนปลายยอด(apical
                   ้ ่
shoot meristem) ทําให้ ลาต้ นยืดยาวออกไป
                                ํ
และสร้ างใบ รวมทั้งกิง
                     ่
เนือเยื่อเจริ ญปลายยอด
    ้




                                    http://www.vcbio.science.ru.nl/en/image-
                                    gallery/show/PL0160/



http://www.sbs.utexas.edu/mauseth/weblab/webchap6apmer/6.1-1.htm
เนือเยือเจริญปลายราก (Apical root meristem)
   ้ ่
1.2 เนือเยือเจริญเหนือข้ อ หรือ ระหว่ างปล้อง
          ้ ่
(intercalary meristem)
 เป็ นเนือเยือเจริญทีอยู่บริเวณข้ อหรือเหนือข้ อของ
         ้ ่          ่
พชใบเลียงเดียว ซึ่งมีการแบ่ งเซลล์ ยาวนานกว่ าบริเวณ
    ื      ้ ่
อืนในปล้ องเดียวกัน เช่ น ข้าว หญ้ า ข้ าวโพด อ้ อย และไผ่
  ่
เป็ นต้ น ทําหน้ าทีช่วยให้ ปล้องยืดยาวขน
                    ่                    ึ้
เนือเยือเจริญเหนือข้ อ (intercalary meristem)
   ้ ่




     ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/Meristem.htm
1.3 เนือเยอเจริญด้านข้าง (lateral
       ้ ่ื
meristem) มการแบ่งเซลล์เพมจานวนออก
                    ี              ่ิ ํ
ทางด้ านข้ าง ทําให้ รากและลําต้ นขยายขนาดใหญ่
ขึนเป็ นเนือเยอเจริญทอยู่ระหว่างเปลอกและเนือไม้
  ้         ้ ่ื        ่ี            ื     ้
ของพืชใบเลียงคู่ และพืชใบเลียงเดียวบางชนิด เช่ น
              ้               ้ ่
หมากผู้หมากเมีย จันทน์ ผา เป็ นต้ น
จันทน์ ผา   หมากผ้ ูหมากเมีย
เป็ นการเจริญขั้นที่ 2 (Secondary growth)บาง
คนอาจเรียกเนือเยือเจริญด้ านข้ างนีว่า แคมเบียม
              ้ ่                  ้
(cambium) แบ่ งเป็ น 2 ชนิดคือ
- วาสควลาร์ แคมเบียม(vascular cambium) พบอย่ ู
        ิ
ระหว่างเนือเยอท่อลาเลยงนําและเนือเยอท่อลาเลยงอาหาร
           ้ ื่       ํ ี ้             ้ ื่      ํ ี
เมือแบ่ งเซลล์ ทาให้ เกิดเนือเยือท่ อลําเลียงเพิมขึน
   ่            ํ           ้ ่                 ่ ้




   http://www.deanza.edu/faculty/mccauley/6a-labs-plants-05.htm
- คอร์กแคมเบียม (cork cambium) แบ่งเซลล์ทาให้  ํ
เกิดเนือเยือคอร์ก(cork) ห้ ุมรอบรากและลาต้นพชใบเลยงคู่
       ้ ่                             ํ    ื    ี้
ทมอายุมาก
  ี่ ี
2.เนือเยอถาวร (permanent
     ้ ่ื
tissue) เป็ นเนือเยือทีเ่ จริญเติบโตเต็มที่
                 ้ ่
แล้ ว ประกอบด้ วยกลุ่มเซลล์ ทเี่ ปลียนแปลง
                                    ่
มาจากเนือเยอเจริญ มรูปร่างคงท่ี ไม่มการ
          ้ ่ื        ี                ี
แบ่ งตัวเพิมขึนอก และมหน้าทเ่ี ฉพาะ
           ่ ้ ี         ี
จําแนกตามลักษณะของเซลล์ได้ 2 ชนิด ได้ แก่
-เนือเยือถาวรเชิงเดียว (simple permanent
    ้ ่             ่
tissue) เป็นเนือเย่อทีประกอบด้ วยกลุ่มเซลล์ ชนิด
                  ้ ื ่
เดยวกนมาทาหน้าทอย่างเดยวกน
   ี ั      ํ         ่ี   ี ั
 ได้ แก่ เนือเยือผิวนอกหรือเอพิเดอร์ มิส พาเรงคิมา
            ้ ่
 คอลเลงคมา สเกลอเรงคิมา และเพริเดิร์ม
             ิ
เอพิเดอร์ มิส (epidermis) เป็ นเนือเยือชั้นผิว
                                           ้ ่
 นอกสุ ดของส่ วนต่ าง ๆ ของพืชทีอายุน้อย
                                     ่
 ประกอบด้ วยเซลล์ ทเี่ รียงตัวชิดกันแน่ นจนไม่ มี
 ช่องว่างระหว่างเซลล์
 - ทําหน้ าทีป้องกันเนือเยือทีอยู่ด้านใน
             ่          ้ ่ ่
 - ผิวด้ านนอก มีสารขีผงพวกคิวตน (cutin)
                         ้ ึ้          ิ
ฉาบอย่ ูเพือช่ วยป้ องกันการระเหยของนํา
           ่                             ้
ช้ันควตน เรียกว่ า คิวติเคิล (cuticle)
     ิ ิ
-ช่ วยป้ องกันไม่ ให้ นําซึมผ่ านเข้ าไปในรากมากเกินไป
                        ้
เพราะจะทาให้รากเน่า
             ํ
-เจริญเปลียนแปลงไปเป็ น ขนราก เซลล์ คุม
           ่
ขนและต่ อม
เซลล์เอพิเดอร์ มิสไม่มีคลอโรฟี ลล์ ยกเว้น ในเซลล์ คุม
ดังนั้นเซลล์ คุมจึงสามารถสั งเคราะห์ แสงได้
คิวตน เป็ นสารพวกไขมัน เคลือบอยู่ช้ันนอก เช่ น ใบ ยกเว้ นใน
     ิ
รากจะมี suberin เคลือบ พืชทีขนอยู่ในทีแห้ งแล้ งมักมีควตน
                                ่ ึ้    ่               ิ ิ
เคลือบหนา เพือรักษานําทีอยู่ภายใน(ปองกันการระเหยของนํา)
              ่      ้ ่             ้                   ้
Epidermis




   http://www.nana-bio.com/e-learning/image%20e-
   learning/tissue.jpg
ขนราก เพอเพมพนทในการดูดซึมนําและแร่ธาตุ
        ื่ ิ่ ื ้ ี่        ้




 ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/permanent.htm
- เซลล์คุม ทาหน้าทควบคุมการปิด-เปิ ดของปากใบ
            ํ     ่ี




  http://waynesword.palomar.edu/photsyn1.htm
-ขนและต่ อม




   ที่มา
   http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=31603
พาเรงคิมา (parenchyma) พบได้ แทบทุกส่ วน
        ของอวัยวะพืช เป็ นเซลล์ ทมชีวต
                                  ี่ ี ิ
         มีรูปร่ างหลายแบบ บางเซลล์ ค่อนข้ างกลม รี
        ทรงกระบอกหรือเป็นเหลยม มช่องว่างระหว่างเซลล์
                                ี่ ี
        (intercellular space)

ที่มา
http://botit.botany.wisc.edu/images/1
30/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/
Parenchyma.html
พาเรงคิมา (parenchyma)




ตัดตามยาว (long section)                          ตัดตามขวาง (cross section)

ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
พาเรงคิมา มีหน้ าทีแตกต่ างกันไป ขึนอยู่กบส่ วนของพืช
                     ่             ้       ั
ได้แก่ สังเคราะห์แสง สะสมอาหารพวกแปง โปรตีน
                                         ้
ไขมันและนํา  ้
สั งเคราะห์ สารพวกนํามันระเหยง่ าย และสารสี ช่ วยใน
                       ้
การลําเลียง นอกจากนีอาจเปลียนสภาพกลับไปเป็ น
                         ้    ่
เนือเยอเจริญได้ อก ซึ่งจะพบในบริเวณทีพชเกิดบาดแผล
    ้ ่ื           ี                  ่ ื
โดยเปลียนไป เพือช่ วยสมานแผล
         ่       ่
คอลเลงคมา (collenchyma)
       ิ
เป็นเนือเยือทีประกอบด้ วยเซลล์ ทมชีวต ผนังเซลล์
       ้ ่ ่                       ี่ ี ิ
เป็นแบบปฐมภูมิ มีความหนาไม่ สมํ่าเสมอ มีความ
เหนียวและ ยืดหยุ่นประกอบด้ วย เซลลูโลส
เฮมิเซลลูโลส และเพกทน    ิ
เซลล์มีขนาดเล็ก การเรียงตัวของเซลล์ อยู่ชิดกัน
แน่ นจนไม่ ค่อยมีช่องว่ างระหว่ างเซลล์
ทําหน้ าทีช่วยเพิมความแข็งแรงให้ แก่โครงสร้ างพืช
          ่       ่
และต้ านแรงเสี ยดทาน
พบเซลล์ กลุ่มนีได้ มากทีบริเวณใต้ เอพิเดอร์ มิสของก้านใบ
                ้       ่
เส้ นกลางใบ และลําต้ นส่ วนทียงอ่ อนของพืชล้ มลุก หรือ
                             ่ั
ไม้ เลือยบางชนิด
       ้
คอลเลงคิมา (collenchyma)




                        ลักษณะของคอลเลงคิมา
ที่มา http://www.science.smith.edu/~mmarcotr/Hortwebpage- fall/handouts/figures-
overheads/anatomyfigures.htm
สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma)
เป็ นเนือเยือทีประกอบด้ วยเซลล์ ทมีผนังหนามาก
        ้ ่ ่                      ี่
มีท้งผนังเซลล์ ปฐมภูมและทุตยภูมิ
     ั                   ิ       ิ
มีเซลลูโลสและลิกนินมาก ทาให้ เพิมความแข็งแรงแก่
                               ํ      ่
พืช เซลล์ เมื่อโตเต็มทีจะตาย โดยผนังเซลล์ ยงอยู่แต่
                       ่                   ั
โพรโทพลาสต์ สลายไปเหลือเป็ นช่ องว่ าง เรียกว่ า
 ลูเมน (lumen)
 จําแนกได้ เป็น 2 ชนิด ได้ แก่
สเกลอรีด(sclereid) และไฟเบอร์(fiber)
ไฟเบอร์ (fiber) หรือเซลล์ เส้ นใย
-เป็ นเซลล์ ทมีรูปร่ างเล็กเรียวยาว หัวท้ ายแหลม
             ี่
-ผนังเซลล์หนามากเพราะมีลกนินและเซลลูโลสมาสะสม
                                  ิ
-มีความเหนียวและยืดหยุ่น ทําหน้ าทีให้ ความแข็งแรงแก่
                                       ่
พช ื
-พบอย่ ูตามส่ วนต่ างๆ ของพช เช่น คอร์ เทกช์ ปะปนอยู่ใน
                                ื
ท่ อลําเลียงหรืออยู่โดยรอบท่ อลําเลียง
-มีประโยชน์ มากในทางเศรษฐกิจ โดยใช้ ทาเป็ นเชือก
                                             ํ
กระดาษ ทอเป็ นเสื้อผ้ า และกระสอบ เป็ นต้ น
เซลล์เส้ นใย (fiber)
สเกลอรีด (scleried) หรือ สโตนเซลล์ (stone cell)
-เป็ นเซลล์ทมลกษณะคล้ายไฟเบอร์แต่ละเซลล์ส้ั นกว่า รูปร่าง
            ี่ ี ั
มีหลายแบบ ทั้งรู ปกลม หลายเหลียม เป็ นแฉกคล้ ายดาว
                              ่
-ผนังเซลล์ หนามากเนื่องจากมีลกนินมาสะสม
                                 ิ
-พบในส่ วนของพืชทีแข็ง เช่ น เปลือกของเมล็ดหรือ
                      ่
ผลไม้ ได้ แก่ กะลามะพร้ าว เมล็ดพุทรา
เนือผลไม้ ทสาก เช่ น ละมุด น้ อยหน่ า ฝรั่ง ท้ อ สาลี่
   ้          ี่
อาจพบแทรกในชั้นคอร์เทกซ์ ในท่ อลําเลียงของ
ลําต้ น ในส่ วนของใบ และก้ านใบ เป็ นต้ น
-ทําหน้ าทีเ่ พิมความแข็งแรงให้ แก่ ส่วนต่ าง ๆ ของพืช
                 ่
Sclereid(Stone cell)


  Sclereid
(Stone cell)
สเกลอรีด (scleried)
เอนโดเดอร์มส (Endodermis)
                                        ิ

                                                                          Endodermis

                                                      ส่ วนใหญ่ พบในรากพืชใบเลียง ้
                                                      เดียว เซลล์ เรียงตัวเป็ นแนว
                                                         ่
                                                      เดียว ผนังเซลล์ บาง มีสารพวก
                                                      ซูเบอริน คิวติน หรือลิกนิน
                                                      มาสะสมเป็นแถบทาให้ผนัง
                                                                          ํ
                                                      เซลล์ หนา เป็ นแถบ ซึ่งจะกีด
                                                      ขวางนําและอาหารไม่ให้ผ่านได้
                                                             ้
                                                      สะดวก
ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Root/Monocot_Roots/Zea_Root/Endodermis_vasc_tissue
หน้ าทีของเอนโดเดอร์มส
               ่             ิ

    1. ป้ องกันเนือเยือส่ วนทีอยู่ถดเข้ าไปข้ างใน
                  ้ ่         ่ ั
    2. เป็ นทางผ่ านของนํา เกลือแร่ อาหาร และ
                           ้
กีดขวางการลําเลียงสารดังกล่าว
เพริไซเคล(pericycle)
                     ิ
เป็นเนือเยอทพบเฉพาะในราก ทาหน้าทให้กาเนดรากแขนง
       ้ ่ื ่ี            ํ     ่ี ํ ิ
(secondary root)
เนือเยือถาวรเชิงซ้อน(complex
     ้ ่
permanent tissue)

  ประกอบด้ วยกลุ่มเซลล์ หลายชนิดมาทํางานร่ วมกัน
  ซึ่งเนือเยือถาวรเชิงซ้ อนแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท
         ้ ่
  ได้แก่ เนือเยือลําเลียง(vascular tissue)
            ้ ่
- เนือเยือลําเลียงนํา แร่ ธาตุ เรียกว่าไซเลม (xylem)
      ้ ่            ้                     ็
- เนือเยือลําเลียงอาหาร เรียกว่ า โฟลเอ็ม (phloem)
       ้ ่
Xylem and phloem
Xylem and phloem
ไซเลม (xylem) ลําเลียงนําและแร่ ธาตุ
    ็                   ้
ประกอบด้ วย
- เทรคต (Tracheid) มีรูปร่ างยาวหรือเป็ นเหลียมยาว
      ี                                      ่
   ปลายค่อนข้างแหลมท้งสองข้าง ไม่มผนังด้านปลาย
                     ั            ี
   (end wall)
- เวสเซล (Vessel) มีผนังด้ านปลายทีชัดเจน อาจตัดตรง
                                          ่
   หรือเอยง ี
• คล้ายท่อยาวๆ ทประกอบด้วยท่อส้ั นๆหลายๆท่อมาต่อกน
                    ี่                                      ั
• ท่อส้ั นแต่ละท่อเรียกว่า vessel member หรือ vessel
   element
• ผนังหนาเป็ นสารพวกลกนินมาสะสม มีช่องทะลุถึงกัน
                           ิ
   ซึ่งมีลกษณะเป็ นรอยปรุหรือรู พรุ นทีเ่ รียกว่ า perforation
          ั
   plate
-ไซเล็มพาเรงคิมา (xylem parenchyma)
เป็ นเซลล์ ทมชีวต รู ปร่ างคล้ ายพาเรงคิมาทัวไป
             ี่ ี ิ                         ่
ทาหน้าทสะสมอาหารจําพวกแปง นํามัน ผลึกและสารอน
  ํ       ี่                      ้ ้            ื่
นอกเหนือจากการทาหน้าทลาเลยงนําและธาตุอาหาร
                     ํ       ี่ ํ ี ้
ไซเล็มพาเรงคิมาบางกลุ่มอาจเรี ยงตัวขนานกับรั ศมี
    ของลําต้ นและราก เรียกว่า ไซเล็มเรย์ (xylem
    ray)
ทําหน้ าที่ลาเลียงนําและธาตุอาหารไปยังด้ านข้ างของ
               ํ       ้
    ลาต้ นและราก
     ํ
-ไซเล็มไฟเบอร์   (xylem fiber)
 เป็ นเซลล์ ขนาดสัน ผนังหนา ปลายแหลม
                   ้
อาจมีผนังกันเป็ นห้ อง ๆ
             ้
ทาหน้าท่ ช่วยให้ความแขงแรงแก่พช
  ํ      ี               ็     ื
****สาหรับพชพวกจมโนสเปิ ร์ มและเฟิร์นพบ
      ํ        ื     ิ
    เฉพาะเทรคีด และไซเล็มพาเรงคิมาเท่ านัน
                                         ้
โฟลเอม(Phloem)
                  ็
เป็ นเนือเยือทีทาหน้ าทีลาเลียงอาหารทีใบสั งเคราะห์ ขน
         ้ ่ ่ ํ        ่ํ            ่               ึ้
    ไปสู่ ส่วนต่ างๆ ของพืช ประกอบด้ วยกลุ่มเซลล์ ต่างๆ
    ดงนี้
     ั
โฟลเอม (phloem)




ที่มา   http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/lectf03am/lect18.htm
-เซลล์ หลอดตะแกรงหรือซีฟทวบ์เมมเบอร์ (sieve
                               ิ
   tube member)
 เป็ นเซลล์ ทมีชีวต รูปทรงกระบอกยาว เมื่อเจริญเต็มที่
              ี่ ิ
   ไม่ มีนิวเคลียส ทีปลายผนังเซลล์ ท้งสองด้ านจะมีรู
                     ่               ั
   พรุนเล็กๆ มีลกษณะเป็ นแผ่ นตะแกรง หรือซีฟเพลต
                  ั
   (sieve plate)ซึ่ง เป็ นทางให้ ไซโตพลาสซึม
   ภายในติดต่ อกัน
ซีฟทิวบ์ เมมเบอร์ หลายๆ เซลล์ มาเรียงต่ อกัน เรียกว่ า
   ซีฟทิวบ์ (sieve tube) ทาหน้าทลาเลยงอาหาร
                                 ํ     ่ี ํ ี
แสดงลักษณะของซีพทิวบ์
ที่มา http://facweb.furman.edu/~lthompson/bgy34/plantanatomy/plant_cells.htm
ซีฟทิวบ์ เมมเบอร์ (sieve tube member)
-เซลล์ประกบ หรือเซลล์คอมพาเนียนเซลล์
    (companion cell)
เป็ นเซลล์ทมชีวต จะอยู่ตดกับซีฟทิวบ์ เมมเบอร์
              ี่ ี ิ      ิ
    เสมอ มีนิวเคลียสขนาดใหญ่
ทําหน้ าทีช่วยเหลือซีฟทวบ์เมมเบอร์ ในการ
            ่           ิ
    ลําเลียงอาหาร โดยเฉพาะ เมือเซลล์มอายุมากขึน
                              ่       ี       ้
เซลล์คอมพาเนียนเซลล์(companion cell)
-โฟลเอ็มพาเรงคิมา (phloem parenchyma)
ทําหน้ าทีช่วยสะสมอาหารและอินทรียสาร เช่ น
               ่
เม็ดแป้ ง แทนนิน เรซิน และนํามัน เป็ นต้ น ตลอดทั้ง
                                ้
ทาหน้าทในการลาเลยงอาหารและช่วยเสริมสร้างความ
  ํ         ่ี         ํ ี
    แข็งแรงให้ แก่ พช   ื
เป็ นเซลล์ ทเี่ รียงตัวแนวรัศมีขวางลําต้ นและราก
    เรียกว่ า โฟลเอมเรย์(pholem ray) ทาหน้าท่ี
                     ็                        ํ
    ลาเลยงอาหารไปยงด้านข้างของลาต้นและราก
      ํ ี                  ั          ํ
-โฟลเอ็มไฟเบอร์ (phloem fiber) ทาหน้าท่ช่วย
                                ํ      ี
  เสริมความแข็งแรงแก่ท่ออาหาร
เนือเยือไซเล็มและโฟลเอมมักจะรวมตัวเป็ นมัดท่ อ
   ้ ่                  ็
ลําเลียงเรียกว่ า vascular bundle
สรุปชนิดของเนือเยือพืช
                              ้ ่
เนือเยื่อพืช แบ่ งเป็ น 2 ประเภท คือ
   ้
1.Meristematic tissue
-แบ่ งตามตําแหน่ งที่อยู่ในส่ วนต่ างๆของพืช ได้ แก่ apical
meristem intercalary meristem
Lateral meristem
-แบ่ งตามอายุและการเจริญ ได้แก่ promeristem
primary meristem secondary meristem
2.Permanent tissue จําแนกตามหน้าท่ ี
      1.protective tissue
      –epidermis
      -periderm= cork cork cambium phelloderm
      2.fundamental tissue
      – parenchyma
      -collenchyma
      -sclerenchyma
      3.Vascular tissue
      -xylem
      -phloem
2.จําแนกตามลักษณะของเซลล์ ทมาประกอบกัน
                           ี่
      -simple permanent tissue
      -complex permanent tissue
จดทาโดย
          ั ํ
   นางสาวแอนนา ปัญโญ
      ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย
       ํ
โรงเรียนนารีรัตน์จงหวดแพร่
                  ั ั


     Thank you
11.2 อวัยวะและหน้ าทีของอวัยวะของพืช
                     ่
   1.โครงสร้ างและหน้ าที่ของราก
จุดประสงค์ การเรียนรู้ เพือให้ นักเรียนสามารถ
                              ่
1. สื บค้ นข้ อมูล ทดลอง อธิบาย และอภิปรายเกียวกับ
                                             ่
   โครงสร้างและหน้าทของราก
                        ี่
2. สืบค้นข้อมูล ทดลอง และสรุปเกยวกบโครงสร้างภายใน
                                  ี่ ั
   ของราก
ราก(root)
เป็ นอวัยวะของพืชทีไม่ มี ข้ อ ปล้ อง ตา และใบ เจริญลงสู่ ดนตาม
                   ่                                       ิ
แรงดงดูดของโลก(positive geotropism ) มกาเนิดมา
          ึ                                           ีํ
จาก radicle ของ embryo ซึ่งอยู่ภายในเมล็ด รากที่
เปลยนแปลงมาจากเเรดเิ คิล จัดเป็ นรากทีมีการเจริญในระยะแรก
       ่ี                                 ่
(Primary growth) ส่ วนรากของพืชใบเลียงคู่หรือ พืชใบ
                                                 ้
เลยงเดยวบางชนิด จะมการเจริญเตบโตข้นท่ี 2 (Secondary
    ี ้ ่ี             ี             ิ      ั
growth)
โครงสร้ างและหน้ าทีของราก
                                 ่
- ทําหน้ าทีดูดนําและสารอาหาร
               ่ ้
- ลาเลยงนํา แร่ธาตุ และอาหาร
    ํ ี ้
- สร้างฮอร์โมนพช เช่น cytokinin gibberellin เพ่อ
                   ื                                 ื
  พฒนาลาต้น ยอด และส่วนอนๆ
     ั       ํ              ื่
- ยดลาต้นให้ติดกบพนดน เจริญเติบโตลงสู่ ดนตามแรงโน้มถ่วง
   ึ ํ               ั ื้ ิ             ิ
  ของโลก
- หน้าที่อนๆ เช่น สะสมอาหาร สังเคราะห์แสง คาจุน ยดเกาะ
          ื่                               ํ้    ึ
  หายใจ เป็นต้น
การงอกของเมล็ดพืช ในช่ วง 3 วันแรก
- ส่ วนทีโผล่ พ้นเมล็ดออกมาก่ อน เรียกว่ า primary root(แรดิเคิล)
           ่
หรือรากแก้ ว
- เมื่อรากมีความยาวเพิมขึน จะมีขนราก(root hair)เกดขน
                        ่ ้                           ิ ึ้
ถดจากปลายสุดของราก
 ั
- จํานวนและความยาวของรากเพิมมากขึน
                                 ่        ้
- รากถัวเขียวทีเ่ พิมขึน รากแขนง(lateral root) หรือ secondary
         ่          ่ ้
root ซ่ึงเจริญมาจากรากเดม ิ
- รากข้ าวโพด จํานวนรากทีเ่ พิมขึนเจริญมาจากบริเวณทีอยู่เหนือ
                              ่ ้                       ่
   ขนไป รากพเิ ศษ(adventitious root)
     ึ้
พืชใบเลียงเดี่ยว(ข้ าวโพด)
                 ้




พืชใบเลียงคู่(ถ่ ัว)
        ้
ขนราก(root hair)
Primary root




   Root hair
การศึกษาโครงสร้ างของรากในระยะทีมการเจริญ
                                    ่ ี
ขั้นต้ น (Primary growth) จะแบ่งศึกษา
2 ลกษณะ คอ
    ั         ื
       1. ศึกษาโครงสร้ างตามยาวของราก
       2. ศึกษาโครงสร้ างในภาคตัดขวาง
โครงสร้ างตามยาวของราก แบ่ งได้ 4 บริเวณ คือ
1. หมวกราก(root cap) ประกอบด้ วยเซลล์ พาเรงคิมา
(Parenchyma) เรียงตัวกันอย่ างหลวมๆ ผนังค่ อนข้ างบาง
มีแวคิวโอลขนาดใหญ่ สามารถผลิตเมือกได้ ทําให้ หมวก
รากชุ่มชื้น และอ่ อนตัว สะดวกต่อการชอนไชของรากลงไป
ในดิน และหมวกรากทําหน้ าที่ปองกันอันตรายให้ กบ
                                 ้               ั
บริเวณที่อยู่เหนือขึนไป ขณะทีรากชอนไชลงสู่ ดน
                    ้          ่             ิ
เซลล์ บริเวณนีจะมีอายุส้ั นเพราะมีการฉีกขาดอยู่เสมอ
               ้
2.บริเวณเซลล์ กาลังแบ่ งตัว(Region of cell
                  ํ
division)
อย่ ูถัดจากรากขนมาประมาณ 1-2 mm เป็ นบริเวณของ
               ึ้
เนือเยือเจริญปลายราก จึงมีการแบ่ งเซลล์ แบบไมโทซิส เพือ
    ้ ่                                                ่
เพิมจํานวน โดยส่ วนหนึ่งเจริญเป็ นหมวกราก แต่ เซลล์ ส่วน
     ่
ใหญ่ จะเจริญเปลียนแปลงเป็ นเซลล์ ทอยู่ในบริเวณถัดขึนไป
                    ่              ี่               ้
ด้ านบน
3. บริเวณเซลล์ ขยายตัวตามยาว (Region of cell
elongation)
อยู่ถดจากบริเวณที่เซลล์ มีการแบ่ งตัว เป็ นบริเวณที่เซลล์ มี
     ั
การยืดยาวขึน ประกอบด้ วยเซลล์ ที่ได้ จากบริเวณเซลล์
              ้
กําลังแบ่ งตัว และหยุดการแบ่ งตัวแล้ ว มีการขยายขนาด
ทางด้ านยาวเพิมขึนก่อน จากกนั้นจะค่ อย ๆ ขยายขนาด
                ่ ้
ทางด้ าน กว้ างออกเล็กน้ อย ทําให้ รากยาวออกไป
4. บริเวณเซลล์ เปลียนแปลงไปทําหน้ าที่เฉพาะ
                        ่
 และการเจริญเตมทของเซลล์(Region of cell
                   ็ ี่
differentiation and maturation)
ประกอบด้ วยเซลล์ ถาวรต่ างๆ ซึ่งมีการเปลียนแปลงมาจาก
                                             ่
เนือเยือเจริญ เป็ นเซลล์ ชนิดต่ างๆ ในโครงสร้ างของราก เพือ
    ้ ่                                                        ่
ทําหน้ าทีเ่ ฉพาะ ซึ่งเป็ นเซลล์ ทมการเจริญเต็มที่ ทําหน้ าที่
                                  ี่ ี
ต่ างๆ ได้ อย่ างสมบูรณ์ เช่ น บริเวณนีจะมเี ซลล์ขนราก
                                       ้
(Root hair cell)อยู่ท่เี อพิเดอร์ มส เพือเพิมพืนที่ผวใน
                                         ิ ่ ่ ้ ิ
การดูดนําและแร่ธาตุ
           ้
ภาพโครงสร้าง
ตามยาวของราก
โครงสร้างในภาคตดขวางของราก
                              ั
    แยกเป็ นบริเวณ หรือชั้นต่ างๆได้ 3 บริเวณ ดังนี้
1. epidermis เป็ นเนือเยือชั้นนอกสุ ด มเี ซลล์ทีเ่ รียง
                            ้ ่
ตัวกนเพยงช้ันเดียว และผนังเซลล์บาง ไม่มีคลอโรพลาสต์
    ั ี
ประกอบด้วยเซลล์ผว และเซลล์ขนราก มีแวคิวโอล
                   ิ
ขนาดใหญ่
epidermis มีหน้ าที่ปองกันอันตราย ให้ แก่ เนือเยือที่อยู่
                       ้                     ้ ่
ภายในขนรากของเอพเิ ดอร์มส ช่ วยดูดนําและแร่ ธาตุ
                          ิ         ้
ปองกน ไม่ให้นําเข้ารากมากเกนไป
 ้ ั          ้              ิ
โครงสร้ างในภาคตัดขวางของราก พืชใบเลียงคู่
                                         ้



                                                     1
3



                                                 2
2. คอร์เทกซ์ (cortex)
เป็ นอาณาเขตระหว่ างชั้น epidermis และ สตีล(stele)
ประกอบด้วยเนือเยอพาเรงคิมา ทีทาหน้ าที่สะสมนํา และ
                    ้ ่ื           ่ ํ            ้
อาหารเป็นส่วนใหญ่ ช้ันในสุดของ cortex จะเป็นเซลล์
แถวเดยวเรียก endodermis ซ่ึงในรากพชใบเลยงเดยวจะ
       ี                                       ื     ี ้ ่ี
เห็นชัดเจน
เซลล์ ในชั้นนีเ้ มื่อมีอายุมากขึนจะมีผนังหนาเพราะ มีสารซูเบอริน
                                ้
หรือลิกนินสะสมอยู่ ทาให้เป็นแถบหรือปลอกอยู่ เซลล์แถบหนา
                          ํ
ดงกล่าว เรียกว่า แคสพาเรียนสตริพ (casparian strip)
  ั
แถบแคสพาร์เรียน
ซูเบอริน
เป็ นพอลิเมอร์ ของกรดไขมันบางชนิด มีหน้ าทีปองกัน
                                           ่้
อนตรายจากภายนอกให้แก่เซลล์พชและมบทบาทในการต้าน
  ั                           ื      ี
การแพร่ของนํา  ้
3. สตล(stele) เป็ นบริเวณทีอยู่ถัดจากชั้น endodermis
     ี                     ่
เข้าไป stele ในรากจะแคบกว่ าชั้น cortex
ประกอบด้ วยช้ันต่างๆดังนี้
 3.1 เพริไซเคล(pericycle) ประกอบด้ วยเซลล์ พาเรงคมา
                 ิ                                          ิ
เป็ น ส่ วนใหญ่ อาจมีช้ันเดียวหรือหลายชั้นแล้ วแต่ ชนิดของพืช
เป็นช้ันด้านนอกสุ ด ของสตล   ี
เพริไซเคล พบเฉพาะในรากเท่าน้ัน และเห็นชัดเจนในรากพชใบ
           ิ                                              ื
เลยงคู่ เพริไซเคล เป็นส่วนทให้กาเนดรากแขนง
    ี้             ิ             ่ี ํ ิ
(Secondary root) ท่แตกออกทางด้านข้าง (Lateral
                               ี
root)
3.2 กล่ ุมท่อลาเลยง (vascular bundle)
                 ํ ี
ประกอบด้ วย primary xylem และ primary
phloem ซึ่งมี xylem อย่ ูตรงใจกลางของรากเรียง
เป็ นแฉก โดยมี phloem อย่ ูระหว่างแฉก
ในพชใบเลียงคู่จะเห็นการเรียงตัวเป็ นแฉกชัดเจน มีจํานวน
      ื    ้
แฉกน้อย ประมาณ 1-6 แฉก โดยมากมกมี 4 แฉก
                                     ั
 ส่ วนรากของพืชใบเลียงเดียวมักมีจํานวนแฉกมากกว่ า
                       ้ ่
ต่ อมา จะเกิดเนือเยือเจริญ vascular cambium ค่น
                ้ ่                                  ั
ระหว่าง xylem กบ phloem
                     ั
cortex
cortex
                                       stele




                 ภาพ เปรี ยบเทียบภาคตัดขวาง
         stele   ของรากพืชใบเลียงเดี่ยวและใบ
                                ้
                 เลียงค่ ู
                    ้
พืชใบเลียงคู่ มีการเจริญเติบโตให้ รากมีขนาดใหญ่ ขน
        ้                                            ึ้
มีการสร้ างวาสคิวล์ ารแคมเบียม (Vascular cambium)
หรือ แคมเบียม (Cambium) ซึ่งเป็นเนื่อเยือเจริญ เกดขน
                                             ่            ิ ึ้
ระหว่ าง primary xylem และ primary phloem
Vascular cambium ทา ให้เกิดการเจริญเติบโตข้นที่สอง
                               ํ                        ั
(Secondary growth) โดยแบ่งตัวให้ Secondary
xylem อยู่ทางด้ านใน Secondary phloem อยู่
ทางด้ านนอก เมือมีการเจริญเติบโตขั้นที่สองเพิมขึนเรื่อย ๆ ทา ให้
                 ่                             ่ ้             ํ
primary phloem คอร์เทกซ์และเอพิเดอร์ มสถูกดันออก   ิ
และถอยร่ นออกไป
รากพืชในเลียงคู่
                                ้
  endodermis
                   Primary phloem

                   Secondary phloem

                     Secondary xylem
                       Primary xylem



                   pericycle

Vascular cambium
ลําต้ นพืชใบเลียงคู่
               ้


    Primary xylem


      Secondary xylem
      Secondary phloem
 Vascular cambium
  Primary phloem
3.3 พธ (pith)
        ิ
 เป็ นบริเวณตรงกลางราก หรือ ไส้ในของราก
เห็นได้ ชัดเจนในรากพืชใบเลียงเดี่ยว ส่ วนใหญ่ เป็ นเนือเยือ
                           ้                          ้ ่
พาเรงคิมา เช่ น ข้ าวโพด
ส่ วนรากพืชใบเลียงคู่ตรงกลางมักเป็ น xylem
                 ้
monocot root cross section




           pith(พธ)
                 ิ
รากพืชใบเลียงเดี่ยว
           ้
ชนิดของราก
เมอแยกตามการเกดของราก ออกเป็น 3 ชนิดคอ
    ื่               ิ                           ื
1. Primary root หรือ รากแก้ว (tap root)
 เป็ นรากทเี่ จริญจาก แรดเิ คล(Radicle) ของเอ็มบริโอ
                               ิ
แล้ วพุ่งลงสู่ ดนต่ อ โคนรากจะใหญ่ แล้ วค่ อย ๆ เรียวไป
                ิ
จนถึงปลายราก จะยาวและใหญ่กว่ารากอืนๆ ทีแยกออกไป
                                           ่ ่
ทาหน้าทเี่ ป็นหลกรับส่ วนอืนๆ ให้ ทรงตัวอยู่ได้
  ํ                ั         ่
รากแก้ว(tap root)




                    รากแก้ว
รากชนิดนีพบในพืชใบเลียงคู่ทงอกออกจากเมล็ด
            ้           ้     ี่
โดยปกติ พืชหลายชนิดมีรากแก้ วเป็ นรากสํ าคัญ
ตลอดชีวต  ิ
ส่วนพืชใบเลียงเดียวทีงอกออกจากเมล็ดใหม่ ๆ ก็มี
              ้ ่ ่
รากระบบนีเ้ หมือนกัน แต่ มอายุได้ ไม่ นานก็เน่ า
                          ี
เปื่ อยไป แล้วเกิดรากชนิดใหม่ ขนมาแทน(รากฝอย)
                                 ึ้
แรดิเคิล(radicle) คือ ส่ วนของเอ็มบริโอทีเ่ จริญ
         ออกมาจากเมล็ดเป็ นอันดับแรก
2. Secondary root หรือรากแขนง(lateral
    root หรือ branch root)
เป็ นรากทีเ่ จริญเติบโตออกมาจากรากแก้ ว มักงอกเอียง
ลงไปในดินจนเกือบขนานหรือขนานไปกับพืนดิน      ้
รากชนิดนีอาจแตกแขนงออกเป็ นทอดๆ ได้ อกเรื่อยๆ
             ้                             ี
ทั้งรากแขนงและแขนงต่ างๆ ทียนออกไปเป็ นทอดๆ
                              ่ ื่
ต่ างกําเนิดมาจากเนือเยือเพริไซเคิลในรากเดิมทั้งสิ้น
                     ้ ่
Secondary root หรือรากแขนง(lateral root
         หรือ branch root)




                                    รากแก้ว
                   รากฝอย รากแขนง
3. Adventitious root หรือ รากวิสามัญ
เป็ นรากทีไม่ ได้ กาเนิดมาจากรากแก้ วหรือรากแขนง
          ่        ํ
รากชนิดนีอาจแตกออกจากโคนต้ นของพืช
            ้
ตามข้ อของลําต้ นหรือกิง ตามใบหรือจากกิงตอนของ
                         ่                    ่
ไม้ ผลทุกชนิด
 แยกเป็ นชนิดย่ อยได้ ตามรู ปร่ างและหน้ าที่ ได้ ดงนี้
                                                   ั
รากฝอย (fibrous root)
เป็นรากเส้นเลกๆมากมาย ขนาดโตสมาเสมอกน งอกออก
             ็                      ํ่      ั
จากรอบโคนต้ นแทนรากแก้ วทีฝ่อเสี ยไปหรือทีหยุดเติบโต
                              ่               ่
พบในพืชใบเลียงเดียวเป็ นส่ วนใหญ่ เช่ น รากข้ าว ข้ าวโพด
               ้ ่
หญ้ า หมาก มะพร้ าว เป็ นต้ น
รากฝอย
รากคาจุน (Prop root) เป็ นรากทีแตกออกมาจาก
        ํ้                             ่
ข้ อของลําต้ น ทีอยู่ใต้ ดน และเหนือดินขึนมาเล็กน้ อย
                   ่      ิ              ้
และพุ่งแทงลงไปในดิน เพือพยุงลําต้ นเอาไว้ ไม่ ให้
                               ่
ล้ มง่ าย เช่ น รากข้ าวโพดทีงอกออกจากโคนต้ น
                             ่
รากเตย ลาเจยก ไทรย้อย แสม โกงกาง
               ํ ี
รากคําจุนของข้ าวโพด
     ้
รากคาจุน(รากแสม)
    ํ้
รากค้ าจุน(ตนโกงกาง)
      ํ     ้
รากต้ นลําเจียก หรือ เตยทะเล
รากเกาะ (Climbing root)
เป็ นรากทีแตกออกมาจากข้ อของลําต้ น แล้ วมา
          ่
เกาะตามหลกหรือเสา เพือพยุงลําต้ นให้ ตด
             ั            ่             ิ
แน่ น และชู ลาต้ นขึนทีสูง เช่ น รากของพลู
               ํ    ้ ่
พลูด่าง กล้ วยไม้ พริกไทย เป็ นต้ น
ต้นพลู
พลูด่าง
รากสังเคราะห์แสง (photosynthetic root)
เป็นรากทแตกออกมาจากข้อของลาต้นหรือกง แล้ว
           ี่                 ํ           ิ่
ห้อยลงมาในอากาศ จะมสีเขยวของคลอโรฟิลล์ เป็ น
                    ี ี
รากททาหน้าทสังเคราะห์แสง เช่น รากกล้วยไม้ทมี
      ี่ ํ      ี่                           ี่
สีเขยวเฉพาะรากอ่อน หรือปลายรากทแก่เท่าน้ัน
    ี                               ี่
รากของไทร โกงกาง มีสีเขียวเฉพาะตรงที่ห้อยอยู่ใน
อากาศ ส่ วนทีไซลงไปในดินแล้ วไม่ มสีเขียวเลย
              ่                   ี
รากกล้ วยไม้ -พืชอิงอาศัย(epiphyte)




ทําหน้ าที่ยดเกาะดูดซับความชืนในอากาศ
            ึ                ้
รากหายใจ (Respiratory root หรือ
     Aerating root)
เป็ นรากทีเ่ กิดจากรากทีอยู่ใต้ ดนงอก และ ต้งตรง
                        ่        ิ          ั
ขึนมาเหนือดินหรือผิวนํา เพือรับออกซิเจน
   ้                      ้ ่
ช่ วยในการหายใจ พบในพืชชายนําหรือป่ าชายเลน
                                   ้
เช่ น รากลําพู แสม โกงกาง
ซึ่งแต่ ละชนิดจะมีรากหายใจทีต่างกันไป เช่ น
                            ่
แสม มีรากหายใจโผล่ จากดิน ส่ วนโกงกาง รากหายใจ
แทงออกจากต้ นลงดิน เพือช่ วยคํายันลําต้ นอีกด้ วย
                         ่     ้
นอกจากนีนากเหล่ านียงช่ วยดักตะกอนหรือ
           ้         ้ั
อินทรียวัตถุต่างๆ ตามพืนทีชายฝั่งอีกด้ วย
                        ้ ่
นอกจากนีรากส่ วนทีอยู่ในนวมคล้ ายฟองนําของผักกระเฉด
               ้        ่                 ้
      ก็เป็ นรากหายใจ เรียกว่า รากท่อนลอย
      Pneumatophore root ) โดยนวมจะเป็ นที่
เกบอากาศและเป็นท่ ุนลอยนําด้วย เช่น รากของแพงพวยนํา
    ็                           ้                 ้
ผกกะเฉด
  ั
ผกกะเฉด
 ั
แพงพวยนํา
        ้
•    รากกาฝาก หรือ รากปรสิ ต (Parasitic root)
เป็ นรากของพืชพวกปรสิ ตทีสร้ าง Haustoria
                          ่
แทงเข้ าไปในลําต้ นของพืชทีเ่ ป็ นโฮสต์ เพือแย่ งนํา และ
                                           ่       ้
อาหารจากโฮสต์ เช่ น รากกาฝาก ฝอยทอง เป็ นต้ น
รากกาฝาก
ฝอยทอง
รากสะสมอาหาร (food storage root)
  เป็นรากที่สะสมอาหารพวกแปง โปรตน หรือนําตาลไว้
                                ้      ี      ้
จนรากเปลียนแปลงรู ปร่ างมีขนาดใหญ่ ซึ่งมักจะ
            ่
เรียกกันว่ า“หัว” เช่ น หัวแครอท หัวผกกาด หรือหัวไชเท้า
                                     ั
หัวผกกาดแดง หรือ แรดช (Radish)
      ั                    ิ
หัวบีท (Beet root) และ หัวมนแกว    ั
 เป็นรากสะสมอาหารทเี่ ปลยนแปลงมาจากรากแก้ว
                             ี่
หัวผกกาด หัวผกกาดแดง(แรดช-radish)
    ั        ั          ิ
บีทรูท(beet root)
มันแกว
ส่วนรากสะสมอาหารของมนเทศ รักเร่ กระชาย
                     ั
เปลียนแปลงมาจากรากแขนง
    ่
นอกเรื่อง
                   รักเร่ หรือ “รักแรก”
ลักษณะเป็ นไม้ ล้มลุก มีหัวใต้ ดน สู ง 40-100 ซม.
                                ิ
ดอกมหลายสี เช่ น ชมพู ส้ ม ขาว เหลือง และ สองสี ในดอก
       ี
เดียว เป็ นต้ น ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด และ หัวใต้ ดน เมอมดอก
                                                ิ ื่ ี
และดอกร่วงโรยต้นจะยบ แต่จะแตกต้นขนมาใหม่ได้
                        ุ                  ึ้
จากหัวทฝังอย่ ูใต้ดน
          ี่       ิ
หัวรักเร่
รากหนาม (Thorn Root)
เป็ นรากทีมีลกษณะเป็ นหนามงอกมาจากบริเวณโคนต้ น
          ่ ั
ตอนงอกใหม่ ๆ เป็ นรากปกติ แต่ ต่อมาเกิดเปลือกแข็งทํา
ให้ มลกษณะคล้ ายหนามแข็ง ช่ วยปองกันโคนต้ นได้
     ีั                         ้
ปกติพบในพืชทีเ่ จริญในทีนําท่ วมถึง เช่ น โกงกาง
                        ่ ้
ส่วนในปาล์มบางชนิดจะปรากฏรากหนามกรณทมราก       ี ี่ ี
ลอยหรือรากคาจุน
              ํ้
รากหนาม (Thorn Root)
จดทาโดย
          ั ํ
   นางสาวแอนนา ปัญโญ
      ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย
       ํ
โรงเรียนนารีรัตน์จงหวดแพร่
                  ั ั


     Thank you

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นมัทนา อานามนารถ
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueIssara Mo
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชMin Minho
 

Tendances (20)

Tissue oui
Tissue ouiTissue oui
Tissue oui
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 

Similaire à เนื้อเยื่อพืช Annanet

โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and functionsukanya petin
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 

Similaire à เนื้อเยื่อพืช Annanet (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
ราก544
ราก544ราก544
ราก544
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and function
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
Tissue1
Tissue1Tissue1
Tissue1
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 

Plus de Anana Anana

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขAnana Anana
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงAnana Anana
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisAnana Anana
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcamAnana Anana
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชAnana Anana
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำAnana Anana
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 

Plus de Anana Anana (15)

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
พืชC3 c4
พืชC3 c4พืชC3 c4
พืชC3 c4
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 

เนื้อเยื่อพืช Annanet

  • 1. บทที่ 11 โครงสร้ างและหน้ าทีของพืชดอก ่ 11.1 เนือเยอพช ้ ่ื ื
  • 2. จุดประสงค์ การเรียนรู้ เพือให้ นักเรียนสามารถ ่ 1.สืบค้ นข้ อมูลเกี่ยวกับโครงสร้ างและหน้ าที่ของเนือเยื่อ ้ เจริญและเนือเยื่อถาวรของพืช ้ 2.สืบค้นข้อมูล ทดลอง อธิบาย และอภปรายเก่ ียวกบ ิ ั โครงสร้างและหน้าท่ ของราก ลาต้น และใบ ี ํ 3.สืบค้นข้อมูล ทดลอง และสรุปเก่ ียวกบโครงสร้างภายใน ั ของราก ลาต้น และใบ ํ 4.ทดลองและอภิปรายเกี่ยวกับตําแหน่ งและจํานวนของปาก ใบในพชแต่ละชนิด และเปรียบเทยบความหนาแน่นของ ื ี ปากใบในพชต่างชนิดกัน ื
  • 3. เซลล์พช(plant cell) ื http://waynesword.palomar.edu/lmexer1a.htm
  • 4. เซลล์ พช มีผนังเซลล์ (cell wall)ทีให้ ความแข็งแรงต่ อ ื ่ โครงสร้ างของพืช แบ่ งเป็ น 1.ผนังเซลล์ ปฐมภูมิ (primary cell wall) ซึ่งมีองค์ ประกอบสํ าคัญ เป็ นเซลลูโลส(cellulose) โดยผนังเซลล์ ของเซลล์ ที่ อยู่ตดกันจะมี middle lamella กั้นอยู่ และมี ิ เพกทิน(pectin)เป็ นองค์ ประกอบ 2.ผนังเซลล์ ทุตยภูม(secondary cell wall)ซ่ึงมี ิ ิ ในพชบางชนิด โดยอยู่ระหว่างprimary cell ื wall กับเยือหุ้มเซลล์ หรือแทรกอยู่ใน primary ่ cell wall ซึ่งจะเป็ นสารพวกลิกนิน(lignin)
  • 5.
  • 6. รู้ไว้ มีประโยชน์ Pectin เป็นพอลแซ็กคาไรด์ (polysaccharide) ใน ิ ผนังเซลล์ ของพืช (plant cell wall) และรอยต่ อ ระหว่างผนังเซลล์ โดยรวมตวอย่ ูกบเซลลโลส ั ั ู (cellulose) ทําหน้ าทียดเกาะผนังเซลล์ ให้ ตดกันคล้ าย ่ึ ิ เป็ นซีเมนต์ คุณค่ าทางอาหารของเพคติน ร่ างกายไม่ สามารถย่ อยเพคตินได้ ในระบบการย่ อย จดเป็น ั ใยอาหาร(dietary fiber) ชนิดหนึ่ง
  • 7. Lignin คือ ส่ วนของผนังเซลในพืช ลกนินเป็ น ิ ส่ วนประกอบหลักของพืชเช่ นเดียวกับเซลลูโลส ช่ วยให้ พชมี ื เนือทีแข็งแกร่ งและทนทาน จึงมีมากในพืชไม้ เนือแข็ง ้ ่ ้
  • 8. เนือเย่อพช(plant tissue) แบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภท ้ ื ื ตามลกษณะการเจริญของเนือเยอ ั ้ ่ื 1. เนือเยือเจริญ (Meristematic tissue) ้ ่ 2. เนือเยือถาวร(Permanent tissue) ้ ่ นักเรี ยนทราบหรื อไม่ ว่าเนือเยื่อทัง 2 อยู่ท่ อวัยวะ ้ ้ ี ส่ วนใดของพืชและมีรูปร่ างอย่ างไร
  • 9. 1.เนือเยือเจริญ(Meristematic tissue) คือ ้ ่ เนือเยือทีประกอบด้ วยเซลล์ ทมความสามารถในการ ้ ่ ่ ี่ ี แบ่งตวแบบไมโทซิส (mitosis) ได้ ตลอดชีวตของ ั ิ เซลล์ ลักษณะเซลล์ เป็ นเซลล์ ทมชีวต ี่ ี ิ โดยมากมีรูปร่ างหลายเหลียมหรือ ค่ อนข้ างกลม ่ ขนาดเล็ก ผนังบาง มีนิวเคลียสขนาดใหญ่ ไซโทพลาซึม เต็มเซลล์ แวคิวโอลมีขนาดเลกหรือไม่ มี แต่ละเซลล์ อยู่ ็ ชิดกันมากจนไม่ มช่องว่ างระหว่ างเซลล์ ี (intercellular space)
  • 10. เมื่อเซลล์ ของเนือเยือเจริญหยุด ้ ่ แบ่ งตัวจะเปลียนสภาพไปเป็ นเนือเยือถาวรต่ อไป ่ ้ ่ เนือเยือเจริญสามารถจําแนกตามตําแหน่ งทีอยู่บนส่ วน ้ ่ ่ ต่ าง ๆ ของพืชได้ 3 ชนิด คือ
  • 11. 1.1 เนือเยือเจริญส่ วนปลาย(apical meristem) ้ ่ -ปลายราก เรียก เนือเยือเจริญส่ วนปลายราก (apical ้ ่ root meristem) ทาให้รากยาวขน ํ ึ้ -ปลายยอด เรียก เนือเยือเจริญส่ วนปลายยอด(apical ้ ่ shoot meristem) ทําให้ ลาต้ นยืดยาวออกไป ํ และสร้ างใบ รวมทั้งกิง ่
  • 12. เนือเยื่อเจริ ญปลายยอด ้ http://www.vcbio.science.ru.nl/en/image- gallery/show/PL0160/ http://www.sbs.utexas.edu/mauseth/weblab/webchap6apmer/6.1-1.htm
  • 14. 1.2 เนือเยือเจริญเหนือข้ อ หรือ ระหว่ างปล้อง ้ ่ (intercalary meristem) เป็ นเนือเยือเจริญทีอยู่บริเวณข้ อหรือเหนือข้ อของ ้ ่ ่ พชใบเลียงเดียว ซึ่งมีการแบ่ งเซลล์ ยาวนานกว่ าบริเวณ ื ้ ่ อืนในปล้ องเดียวกัน เช่ น ข้าว หญ้ า ข้ าวโพด อ้ อย และไผ่ ่ เป็ นต้ น ทําหน้ าทีช่วยให้ ปล้องยืดยาวขน ่ ึ้
  • 15. เนือเยือเจริญเหนือข้ อ (intercalary meristem) ้ ่ ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/Meristem.htm
  • 16. 1.3 เนือเยอเจริญด้านข้าง (lateral ้ ่ื meristem) มการแบ่งเซลล์เพมจานวนออก ี ่ิ ํ ทางด้ านข้ าง ทําให้ รากและลําต้ นขยายขนาดใหญ่ ขึนเป็ นเนือเยอเจริญทอยู่ระหว่างเปลอกและเนือไม้ ้ ้ ่ื ่ี ื ้ ของพืชใบเลียงคู่ และพืชใบเลียงเดียวบางชนิด เช่ น ้ ้ ่ หมากผู้หมากเมีย จันทน์ ผา เป็ นต้ น
  • 17. จันทน์ ผา หมากผ้ ูหมากเมีย
  • 18. เป็ นการเจริญขั้นที่ 2 (Secondary growth)บาง คนอาจเรียกเนือเยือเจริญด้ านข้ างนีว่า แคมเบียม ้ ่ ้ (cambium) แบ่ งเป็ น 2 ชนิดคือ
  • 19. - วาสควลาร์ แคมเบียม(vascular cambium) พบอย่ ู ิ ระหว่างเนือเยอท่อลาเลยงนําและเนือเยอท่อลาเลยงอาหาร ้ ื่ ํ ี ้ ้ ื่ ํ ี เมือแบ่ งเซลล์ ทาให้ เกิดเนือเยือท่ อลําเลียงเพิมขึน ่ ํ ้ ่ ่ ้ http://www.deanza.edu/faculty/mccauley/6a-labs-plants-05.htm
  • 20. - คอร์กแคมเบียม (cork cambium) แบ่งเซลล์ทาให้ ํ เกิดเนือเยือคอร์ก(cork) ห้ ุมรอบรากและลาต้นพชใบเลยงคู่ ้ ่ ํ ื ี้ ทมอายุมาก ี่ ี
  • 21. 2.เนือเยอถาวร (permanent ้ ่ื tissue) เป็ นเนือเยือทีเ่ จริญเติบโตเต็มที่ ้ ่ แล้ ว ประกอบด้ วยกลุ่มเซลล์ ทเี่ ปลียนแปลง ่ มาจากเนือเยอเจริญ มรูปร่างคงท่ี ไม่มการ ้ ่ื ี ี แบ่ งตัวเพิมขึนอก และมหน้าทเ่ี ฉพาะ ่ ้ ี ี
  • 22. จําแนกตามลักษณะของเซลล์ได้ 2 ชนิด ได้ แก่ -เนือเยือถาวรเชิงเดียว (simple permanent ้ ่ ่ tissue) เป็นเนือเย่อทีประกอบด้ วยกลุ่มเซลล์ ชนิด ้ ื ่ เดยวกนมาทาหน้าทอย่างเดยวกน ี ั ํ ่ี ี ั ได้ แก่ เนือเยือผิวนอกหรือเอพิเดอร์ มิส พาเรงคิมา ้ ่ คอลเลงคมา สเกลอเรงคิมา และเพริเดิร์ม ิ
  • 23. เอพิเดอร์ มิส (epidermis) เป็ นเนือเยือชั้นผิว ้ ่ นอกสุ ดของส่ วนต่ าง ๆ ของพืชทีอายุน้อย ่ ประกอบด้ วยเซลล์ ทเี่ รียงตัวชิดกันแน่ นจนไม่ มี ช่องว่างระหว่างเซลล์ - ทําหน้ าทีป้องกันเนือเยือทีอยู่ด้านใน ่ ้ ่ ่ - ผิวด้ านนอก มีสารขีผงพวกคิวตน (cutin) ้ ึ้ ิ ฉาบอย่ ูเพือช่ วยป้ องกันการระเหยของนํา ่ ้ ช้ันควตน เรียกว่ า คิวติเคิล (cuticle) ิ ิ
  • 24. -ช่ วยป้ องกันไม่ ให้ นําซึมผ่ านเข้ าไปในรากมากเกินไป ้ เพราะจะทาให้รากเน่า ํ -เจริญเปลียนแปลงไปเป็ น ขนราก เซลล์ คุม ่ ขนและต่ อม เซลล์เอพิเดอร์ มิสไม่มีคลอโรฟี ลล์ ยกเว้น ในเซลล์ คุม ดังนั้นเซลล์ คุมจึงสามารถสั งเคราะห์ แสงได้
  • 25. คิวตน เป็ นสารพวกไขมัน เคลือบอยู่ช้ันนอก เช่ น ใบ ยกเว้ นใน ิ รากจะมี suberin เคลือบ พืชทีขนอยู่ในทีแห้ งแล้ งมักมีควตน ่ ึ้ ่ ิ ิ เคลือบหนา เพือรักษานําทีอยู่ภายใน(ปองกันการระเหยของนํา) ่ ้ ่ ้ ้
  • 26. Epidermis http://www.nana-bio.com/e-learning/image%20e- learning/tissue.jpg
  • 27. ขนราก เพอเพมพนทในการดูดซึมนําและแร่ธาตุ ื่ ิ่ ื ้ ี่ ้ ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/permanent.htm
  • 28. - เซลล์คุม ทาหน้าทควบคุมการปิด-เปิ ดของปากใบ ํ ่ี http://waynesword.palomar.edu/photsyn1.htm
  • 29. -ขนและต่ อม ที่มา http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=31603
  • 30. พาเรงคิมา (parenchyma) พบได้ แทบทุกส่ วน ของอวัยวะพืช เป็ นเซลล์ ทมชีวต ี่ ี ิ มีรูปร่ างหลายแบบ บางเซลล์ ค่อนข้ างกลม รี ทรงกระบอกหรือเป็นเหลยม มช่องว่างระหว่างเซลล์ ี่ ี (intercellular space) ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/1 30/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/ Parenchyma.html
  • 31. พาเรงคิมา (parenchyma) ตัดตามยาว (long section) ตัดตามขวาง (cross section) ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
  • 32. พาเรงคิมา มีหน้ าทีแตกต่ างกันไป ขึนอยู่กบส่ วนของพืช ่ ้ ั ได้แก่ สังเคราะห์แสง สะสมอาหารพวกแปง โปรตีน ้ ไขมันและนํา ้ สั งเคราะห์ สารพวกนํามันระเหยง่ าย และสารสี ช่ วยใน ้ การลําเลียง นอกจากนีอาจเปลียนสภาพกลับไปเป็ น ้ ่ เนือเยอเจริญได้ อก ซึ่งจะพบในบริเวณทีพชเกิดบาดแผล ้ ่ื ี ่ ื โดยเปลียนไป เพือช่ วยสมานแผล ่ ่
  • 33. คอลเลงคมา (collenchyma) ิ เป็นเนือเยือทีประกอบด้ วยเซลล์ ทมชีวต ผนังเซลล์ ้ ่ ่ ี่ ี ิ เป็นแบบปฐมภูมิ มีความหนาไม่ สมํ่าเสมอ มีความ เหนียวและ ยืดหยุ่นประกอบด้ วย เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และเพกทน ิ เซลล์มีขนาดเล็ก การเรียงตัวของเซลล์ อยู่ชิดกัน แน่ นจนไม่ ค่อยมีช่องว่ างระหว่ างเซลล์
  • 34. ทําหน้ าทีช่วยเพิมความแข็งแรงให้ แก่โครงสร้ างพืช ่ ่ และต้ านแรงเสี ยดทาน พบเซลล์ กลุ่มนีได้ มากทีบริเวณใต้ เอพิเดอร์ มิสของก้านใบ ้ ่ เส้ นกลางใบ และลําต้ นส่ วนทียงอ่ อนของพืชล้ มลุก หรือ ่ั ไม้ เลือยบางชนิด ้
  • 35. คอลเลงคิมา (collenchyma) ลักษณะของคอลเลงคิมา ที่มา http://www.science.smith.edu/~mmarcotr/Hortwebpage- fall/handouts/figures- overheads/anatomyfigures.htm
  • 36. สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma) เป็ นเนือเยือทีประกอบด้ วยเซลล์ ทมีผนังหนามาก ้ ่ ่ ี่ มีท้งผนังเซลล์ ปฐมภูมและทุตยภูมิ ั ิ ิ มีเซลลูโลสและลิกนินมาก ทาให้ เพิมความแข็งแรงแก่ ํ ่ พืช เซลล์ เมื่อโตเต็มทีจะตาย โดยผนังเซลล์ ยงอยู่แต่ ่ ั โพรโทพลาสต์ สลายไปเหลือเป็ นช่ องว่ าง เรียกว่ า ลูเมน (lumen) จําแนกได้ เป็น 2 ชนิด ได้ แก่
  • 38. ไฟเบอร์ (fiber) หรือเซลล์ เส้ นใย -เป็ นเซลล์ ทมีรูปร่ างเล็กเรียวยาว หัวท้ ายแหลม ี่ -ผนังเซลล์หนามากเพราะมีลกนินและเซลลูโลสมาสะสม ิ -มีความเหนียวและยืดหยุ่น ทําหน้ าทีให้ ความแข็งแรงแก่ ่ พช ื -พบอย่ ูตามส่ วนต่ างๆ ของพช เช่น คอร์ เทกช์ ปะปนอยู่ใน ื ท่ อลําเลียงหรืออยู่โดยรอบท่ อลําเลียง -มีประโยชน์ มากในทางเศรษฐกิจ โดยใช้ ทาเป็ นเชือก ํ กระดาษ ทอเป็ นเสื้อผ้ า และกระสอบ เป็ นต้ น
  • 40. สเกลอรีด (scleried) หรือ สโตนเซลล์ (stone cell) -เป็ นเซลล์ทมลกษณะคล้ายไฟเบอร์แต่ละเซลล์ส้ั นกว่า รูปร่าง ี่ ี ั มีหลายแบบ ทั้งรู ปกลม หลายเหลียม เป็ นแฉกคล้ ายดาว ่
  • 41. -ผนังเซลล์ หนามากเนื่องจากมีลกนินมาสะสม ิ -พบในส่ วนของพืชทีแข็ง เช่ น เปลือกของเมล็ดหรือ ่ ผลไม้ ได้ แก่ กะลามะพร้ าว เมล็ดพุทรา เนือผลไม้ ทสาก เช่ น ละมุด น้ อยหน่ า ฝรั่ง ท้ อ สาลี่ ้ ี่ อาจพบแทรกในชั้นคอร์เทกซ์ ในท่ อลําเลียงของ ลําต้ น ในส่ วนของใบ และก้ านใบ เป็ นต้ น -ทําหน้ าทีเ่ พิมความแข็งแรงให้ แก่ ส่วนต่ าง ๆ ของพืช ่
  • 42. Sclereid(Stone cell) Sclereid (Stone cell)
  • 44. เอนโดเดอร์มส (Endodermis) ิ Endodermis ส่ วนใหญ่ พบในรากพืชใบเลียง ้ เดียว เซลล์ เรียงตัวเป็ นแนว ่ เดียว ผนังเซลล์ บาง มีสารพวก ซูเบอริน คิวติน หรือลิกนิน มาสะสมเป็นแถบทาให้ผนัง ํ เซลล์ หนา เป็ นแถบ ซึ่งจะกีด ขวางนําและอาหารไม่ให้ผ่านได้ ้ สะดวก ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Root/Monocot_Roots/Zea_Root/Endodermis_vasc_tissue
  • 45. หน้ าทีของเอนโดเดอร์มส ่ ิ 1. ป้ องกันเนือเยือส่ วนทีอยู่ถดเข้ าไปข้ างใน ้ ่ ่ ั 2. เป็ นทางผ่ านของนํา เกลือแร่ อาหาร และ ้ กีดขวางการลําเลียงสารดังกล่าว
  • 46. เพริไซเคล(pericycle) ิ เป็นเนือเยอทพบเฉพาะในราก ทาหน้าทให้กาเนดรากแขนง ้ ่ื ่ี ํ ่ี ํ ิ (secondary root)
  • 47. เนือเยือถาวรเชิงซ้อน(complex ้ ่ permanent tissue) ประกอบด้ วยกลุ่มเซลล์ หลายชนิดมาทํางานร่ วมกัน ซึ่งเนือเยือถาวรเชิงซ้ อนแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท ้ ่ ได้แก่ เนือเยือลําเลียง(vascular tissue) ้ ่ - เนือเยือลําเลียงนํา แร่ ธาตุ เรียกว่าไซเลม (xylem) ้ ่ ้ ็ - เนือเยือลําเลียงอาหาร เรียกว่ า โฟลเอ็ม (phloem) ้ ่
  • 50. ไซเลม (xylem) ลําเลียงนําและแร่ ธาตุ ็ ้ ประกอบด้ วย - เทรคต (Tracheid) มีรูปร่ างยาวหรือเป็ นเหลียมยาว ี ่ ปลายค่อนข้างแหลมท้งสองข้าง ไม่มผนังด้านปลาย ั ี (end wall)
  • 51. - เวสเซล (Vessel) มีผนังด้ านปลายทีชัดเจน อาจตัดตรง ่ หรือเอยง ี • คล้ายท่อยาวๆ ทประกอบด้วยท่อส้ั นๆหลายๆท่อมาต่อกน ี่ ั • ท่อส้ั นแต่ละท่อเรียกว่า vessel member หรือ vessel element • ผนังหนาเป็ นสารพวกลกนินมาสะสม มีช่องทะลุถึงกัน ิ ซึ่งมีลกษณะเป็ นรอยปรุหรือรู พรุ นทีเ่ รียกว่ า perforation ั plate
  • 52. -ไซเล็มพาเรงคิมา (xylem parenchyma) เป็ นเซลล์ ทมชีวต รู ปร่ างคล้ ายพาเรงคิมาทัวไป ี่ ี ิ ่ ทาหน้าทสะสมอาหารจําพวกแปง นํามัน ผลึกและสารอน ํ ี่ ้ ้ ื่ นอกเหนือจากการทาหน้าทลาเลยงนําและธาตุอาหาร ํ ี่ ํ ี ้ ไซเล็มพาเรงคิมาบางกลุ่มอาจเรี ยงตัวขนานกับรั ศมี ของลําต้ นและราก เรียกว่า ไซเล็มเรย์ (xylem ray) ทําหน้ าที่ลาเลียงนําและธาตุอาหารไปยังด้ านข้ างของ ํ ้ ลาต้ นและราก ํ
  • 53. -ไซเล็มไฟเบอร์ (xylem fiber) เป็ นเซลล์ ขนาดสัน ผนังหนา ปลายแหลม ้ อาจมีผนังกันเป็ นห้ อง ๆ ้ ทาหน้าท่ ช่วยให้ความแขงแรงแก่พช ํ ี ็ ื ****สาหรับพชพวกจมโนสเปิ ร์ มและเฟิร์นพบ ํ ื ิ เฉพาะเทรคีด และไซเล็มพาเรงคิมาเท่ านัน ้
  • 54. โฟลเอม(Phloem) ็ เป็ นเนือเยือทีทาหน้ าทีลาเลียงอาหารทีใบสั งเคราะห์ ขน ้ ่ ่ ํ ่ํ ่ ึ้ ไปสู่ ส่วนต่ างๆ ของพืช ประกอบด้ วยกลุ่มเซลล์ ต่างๆ ดงนี้ ั
  • 55. โฟลเอม (phloem) ที่มา http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/lectf03am/lect18.htm
  • 56. -เซลล์ หลอดตะแกรงหรือซีฟทวบ์เมมเบอร์ (sieve ิ tube member) เป็ นเซลล์ ทมีชีวต รูปทรงกระบอกยาว เมื่อเจริญเต็มที่ ี่ ิ ไม่ มีนิวเคลียส ทีปลายผนังเซลล์ ท้งสองด้ านจะมีรู ่ ั พรุนเล็กๆ มีลกษณะเป็ นแผ่ นตะแกรง หรือซีฟเพลต ั (sieve plate)ซึ่ง เป็ นทางให้ ไซโตพลาสซึม ภายในติดต่ อกัน ซีฟทิวบ์ เมมเบอร์ หลายๆ เซลล์ มาเรียงต่ อกัน เรียกว่ า ซีฟทิวบ์ (sieve tube) ทาหน้าทลาเลยงอาหาร ํ ่ี ํ ี
  • 59. -เซลล์ประกบ หรือเซลล์คอมพาเนียนเซลล์ (companion cell) เป็ นเซลล์ทมชีวต จะอยู่ตดกับซีฟทิวบ์ เมมเบอร์ ี่ ี ิ ิ เสมอ มีนิวเคลียสขนาดใหญ่ ทําหน้ าทีช่วยเหลือซีฟทวบ์เมมเบอร์ ในการ ่ ิ ลําเลียงอาหาร โดยเฉพาะ เมือเซลล์มอายุมากขึน ่ ี ้
  • 61.
  • 62. -โฟลเอ็มพาเรงคิมา (phloem parenchyma) ทําหน้ าทีช่วยสะสมอาหารและอินทรียสาร เช่ น ่ เม็ดแป้ ง แทนนิน เรซิน และนํามัน เป็ นต้ น ตลอดทั้ง ้ ทาหน้าทในการลาเลยงอาหารและช่วยเสริมสร้างความ ํ ่ี ํ ี แข็งแรงให้ แก่ พช ื เป็ นเซลล์ ทเี่ รียงตัวแนวรัศมีขวางลําต้ นและราก เรียกว่ า โฟลเอมเรย์(pholem ray) ทาหน้าท่ี ็ ํ ลาเลยงอาหารไปยงด้านข้างของลาต้นและราก ํ ี ั ํ
  • 63. -โฟลเอ็มไฟเบอร์ (phloem fiber) ทาหน้าท่ช่วย ํ ี เสริมความแข็งแรงแก่ท่ออาหาร
  • 65. สรุปชนิดของเนือเยือพืช ้ ่ เนือเยื่อพืช แบ่ งเป็ น 2 ประเภท คือ ้ 1.Meristematic tissue -แบ่ งตามตําแหน่ งที่อยู่ในส่ วนต่ างๆของพืช ได้ แก่ apical meristem intercalary meristem Lateral meristem -แบ่ งตามอายุและการเจริญ ได้แก่ promeristem primary meristem secondary meristem
  • 66. 2.Permanent tissue จําแนกตามหน้าท่ ี 1.protective tissue –epidermis -periderm= cork cork cambium phelloderm 2.fundamental tissue – parenchyma -collenchyma -sclerenchyma 3.Vascular tissue -xylem -phloem
  • 68. จดทาโดย ั ํ นางสาวแอนนา ปัญโญ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย ํ โรงเรียนนารีรัตน์จงหวดแพร่ ั ั Thank you
  • 69. 11.2 อวัยวะและหน้ าทีของอวัยวะของพืช ่ 1.โครงสร้ างและหน้ าที่ของราก
  • 70. จุดประสงค์ การเรียนรู้ เพือให้ นักเรียนสามารถ ่ 1. สื บค้ นข้ อมูล ทดลอง อธิบาย และอภิปรายเกียวกับ ่ โครงสร้างและหน้าทของราก ี่ 2. สืบค้นข้อมูล ทดลอง และสรุปเกยวกบโครงสร้างภายใน ี่ ั ของราก
  • 71.
  • 72. ราก(root) เป็ นอวัยวะของพืชทีไม่ มี ข้ อ ปล้ อง ตา และใบ เจริญลงสู่ ดนตาม ่ ิ แรงดงดูดของโลก(positive geotropism ) มกาเนิดมา ึ ีํ จาก radicle ของ embryo ซึ่งอยู่ภายในเมล็ด รากที่ เปลยนแปลงมาจากเเรดเิ คิล จัดเป็ นรากทีมีการเจริญในระยะแรก ่ี ่ (Primary growth) ส่ วนรากของพืชใบเลียงคู่หรือ พืชใบ ้ เลยงเดยวบางชนิด จะมการเจริญเตบโตข้นท่ี 2 (Secondary ี ้ ่ี ี ิ ั growth)
  • 73. โครงสร้ างและหน้ าทีของราก ่ - ทําหน้ าทีดูดนําและสารอาหาร ่ ้ - ลาเลยงนํา แร่ธาตุ และอาหาร ํ ี ้ - สร้างฮอร์โมนพช เช่น cytokinin gibberellin เพ่อ ื ื พฒนาลาต้น ยอด และส่วนอนๆ ั ํ ื่ - ยดลาต้นให้ติดกบพนดน เจริญเติบโตลงสู่ ดนตามแรงโน้มถ่วง ึ ํ ั ื้ ิ ิ ของโลก - หน้าที่อนๆ เช่น สะสมอาหาร สังเคราะห์แสง คาจุน ยดเกาะ ื่ ํ้ ึ หายใจ เป็นต้น
  • 74. การงอกของเมล็ดพืช ในช่ วง 3 วันแรก - ส่ วนทีโผล่ พ้นเมล็ดออกมาก่ อน เรียกว่ า primary root(แรดิเคิล) ่ หรือรากแก้ ว - เมื่อรากมีความยาวเพิมขึน จะมีขนราก(root hair)เกดขน ่ ้ ิ ึ้ ถดจากปลายสุดของราก ั - จํานวนและความยาวของรากเพิมมากขึน ่ ้ - รากถัวเขียวทีเ่ พิมขึน รากแขนง(lateral root) หรือ secondary ่ ่ ้ root ซ่ึงเจริญมาจากรากเดม ิ - รากข้ าวโพด จํานวนรากทีเ่ พิมขึนเจริญมาจากบริเวณทีอยู่เหนือ ่ ้ ่ ขนไป รากพเิ ศษ(adventitious root) ึ้
  • 75. พืชใบเลียงเดี่ยว(ข้ าวโพด) ้ พืชใบเลียงคู่(ถ่ ัว) ้
  • 77. การศึกษาโครงสร้ างของรากในระยะทีมการเจริญ ่ ี ขั้นต้ น (Primary growth) จะแบ่งศึกษา 2 ลกษณะ คอ ั ื 1. ศึกษาโครงสร้ างตามยาวของราก 2. ศึกษาโครงสร้ างในภาคตัดขวาง
  • 78. โครงสร้ างตามยาวของราก แบ่ งได้ 4 บริเวณ คือ 1. หมวกราก(root cap) ประกอบด้ วยเซลล์ พาเรงคิมา (Parenchyma) เรียงตัวกันอย่ างหลวมๆ ผนังค่ อนข้ างบาง มีแวคิวโอลขนาดใหญ่ สามารถผลิตเมือกได้ ทําให้ หมวก รากชุ่มชื้น และอ่ อนตัว สะดวกต่อการชอนไชของรากลงไป ในดิน และหมวกรากทําหน้ าที่ปองกันอันตรายให้ กบ ้ ั บริเวณที่อยู่เหนือขึนไป ขณะทีรากชอนไชลงสู่ ดน ้ ่ ิ เซลล์ บริเวณนีจะมีอายุส้ั นเพราะมีการฉีกขาดอยู่เสมอ ้
  • 79. 2.บริเวณเซลล์ กาลังแบ่ งตัว(Region of cell ํ division) อย่ ูถัดจากรากขนมาประมาณ 1-2 mm เป็ นบริเวณของ ึ้ เนือเยือเจริญปลายราก จึงมีการแบ่ งเซลล์ แบบไมโทซิส เพือ ้ ่ ่ เพิมจํานวน โดยส่ วนหนึ่งเจริญเป็ นหมวกราก แต่ เซลล์ ส่วน ่ ใหญ่ จะเจริญเปลียนแปลงเป็ นเซลล์ ทอยู่ในบริเวณถัดขึนไป ่ ี่ ้ ด้ านบน
  • 80.
  • 81. 3. บริเวณเซลล์ ขยายตัวตามยาว (Region of cell elongation) อยู่ถดจากบริเวณที่เซลล์ มีการแบ่ งตัว เป็ นบริเวณที่เซลล์ มี ั การยืดยาวขึน ประกอบด้ วยเซลล์ ที่ได้ จากบริเวณเซลล์ ้ กําลังแบ่ งตัว และหยุดการแบ่ งตัวแล้ ว มีการขยายขนาด ทางด้ านยาวเพิมขึนก่อน จากกนั้นจะค่ อย ๆ ขยายขนาด ่ ้ ทางด้ าน กว้ างออกเล็กน้ อย ทําให้ รากยาวออกไป
  • 82. 4. บริเวณเซลล์ เปลียนแปลงไปทําหน้ าที่เฉพาะ ่ และการเจริญเตมทของเซลล์(Region of cell ็ ี่ differentiation and maturation) ประกอบด้ วยเซลล์ ถาวรต่ างๆ ซึ่งมีการเปลียนแปลงมาจาก ่ เนือเยือเจริญ เป็ นเซลล์ ชนิดต่ างๆ ในโครงสร้ างของราก เพือ ้ ่ ่ ทําหน้ าทีเ่ ฉพาะ ซึ่งเป็ นเซลล์ ทมการเจริญเต็มที่ ทําหน้ าที่ ี่ ี ต่ างๆ ได้ อย่ างสมบูรณ์ เช่ น บริเวณนีจะมเี ซลล์ขนราก ้ (Root hair cell)อยู่ท่เี อพิเดอร์ มส เพือเพิมพืนที่ผวใน ิ ่ ่ ้ ิ การดูดนําและแร่ธาตุ ้
  • 84. โครงสร้างในภาคตดขวางของราก ั แยกเป็ นบริเวณ หรือชั้นต่ างๆได้ 3 บริเวณ ดังนี้ 1. epidermis เป็ นเนือเยือชั้นนอกสุ ด มเี ซลล์ทีเ่ รียง ้ ่ ตัวกนเพยงช้ันเดียว และผนังเซลล์บาง ไม่มีคลอโรพลาสต์ ั ี ประกอบด้วยเซลล์ผว และเซลล์ขนราก มีแวคิวโอล ิ ขนาดใหญ่ epidermis มีหน้ าที่ปองกันอันตราย ให้ แก่ เนือเยือที่อยู่ ้ ้ ่ ภายในขนรากของเอพเิ ดอร์มส ช่ วยดูดนําและแร่ ธาตุ ิ ้ ปองกน ไม่ให้นําเข้ารากมากเกนไป ้ ั ้ ิ
  • 85.
  • 87. 2. คอร์เทกซ์ (cortex) เป็ นอาณาเขตระหว่ างชั้น epidermis และ สตีล(stele) ประกอบด้วยเนือเยอพาเรงคิมา ทีทาหน้ าที่สะสมนํา และ ้ ่ื ่ ํ ้ อาหารเป็นส่วนใหญ่ ช้ันในสุดของ cortex จะเป็นเซลล์ แถวเดยวเรียก endodermis ซ่ึงในรากพชใบเลยงเดยวจะ ี ื ี ้ ่ี เห็นชัดเจน เซลล์ ในชั้นนีเ้ มื่อมีอายุมากขึนจะมีผนังหนาเพราะ มีสารซูเบอริน ้ หรือลิกนินสะสมอยู่ ทาให้เป็นแถบหรือปลอกอยู่ เซลล์แถบหนา ํ ดงกล่าว เรียกว่า แคสพาเรียนสตริพ (casparian strip) ั
  • 89. ซูเบอริน เป็ นพอลิเมอร์ ของกรดไขมันบางชนิด มีหน้ าทีปองกัน ่้ อนตรายจากภายนอกให้แก่เซลล์พชและมบทบาทในการต้าน ั ื ี การแพร่ของนํา ้
  • 90. 3. สตล(stele) เป็ นบริเวณทีอยู่ถัดจากชั้น endodermis ี ่ เข้าไป stele ในรากจะแคบกว่ าชั้น cortex ประกอบด้ วยช้ันต่างๆดังนี้ 3.1 เพริไซเคล(pericycle) ประกอบด้ วยเซลล์ พาเรงคมา ิ ิ เป็ น ส่ วนใหญ่ อาจมีช้ันเดียวหรือหลายชั้นแล้ วแต่ ชนิดของพืช เป็นช้ันด้านนอกสุ ด ของสตล ี เพริไซเคล พบเฉพาะในรากเท่าน้ัน และเห็นชัดเจนในรากพชใบ ิ ื เลยงคู่ เพริไซเคล เป็นส่วนทให้กาเนดรากแขนง ี้ ิ ่ี ํ ิ (Secondary root) ท่แตกออกทางด้านข้าง (Lateral ี root)
  • 91. 3.2 กล่ ุมท่อลาเลยง (vascular bundle) ํ ี ประกอบด้ วย primary xylem และ primary phloem ซึ่งมี xylem อย่ ูตรงใจกลางของรากเรียง เป็ นแฉก โดยมี phloem อย่ ูระหว่างแฉก ในพชใบเลียงคู่จะเห็นการเรียงตัวเป็ นแฉกชัดเจน มีจํานวน ื ้ แฉกน้อย ประมาณ 1-6 แฉก โดยมากมกมี 4 แฉก ั ส่ วนรากของพืชใบเลียงเดียวมักมีจํานวนแฉกมากกว่ า ้ ่ ต่ อมา จะเกิดเนือเยือเจริญ vascular cambium ค่น ้ ่ ั ระหว่าง xylem กบ phloem ั
  • 92. cortex cortex stele ภาพ เปรี ยบเทียบภาคตัดขวาง stele ของรากพืชใบเลียงเดี่ยวและใบ ้ เลียงค่ ู ้
  • 93.
  • 94. พืชใบเลียงคู่ มีการเจริญเติบโตให้ รากมีขนาดใหญ่ ขน ้ ึ้ มีการสร้ างวาสคิวล์ ารแคมเบียม (Vascular cambium) หรือ แคมเบียม (Cambium) ซึ่งเป็นเนื่อเยือเจริญ เกดขน ่ ิ ึ้ ระหว่ าง primary xylem และ primary phloem Vascular cambium ทา ให้เกิดการเจริญเติบโตข้นที่สอง ํ ั (Secondary growth) โดยแบ่งตัวให้ Secondary xylem อยู่ทางด้ านใน Secondary phloem อยู่ ทางด้ านนอก เมือมีการเจริญเติบโตขั้นที่สองเพิมขึนเรื่อย ๆ ทา ให้ ่ ่ ้ ํ primary phloem คอร์เทกซ์และเอพิเดอร์ มสถูกดันออก ิ และถอยร่ นออกไป
  • 95. รากพืชในเลียงคู่ ้ endodermis Primary phloem Secondary phloem Secondary xylem Primary xylem pericycle Vascular cambium
  • 96. ลําต้ นพืชใบเลียงคู่ ้ Primary xylem Secondary xylem Secondary phloem Vascular cambium Primary phloem
  • 97. 3.3 พธ (pith) ิ เป็ นบริเวณตรงกลางราก หรือ ไส้ในของราก เห็นได้ ชัดเจนในรากพืชใบเลียงเดี่ยว ส่ วนใหญ่ เป็ นเนือเยือ ้ ้ ่ พาเรงคิมา เช่ น ข้ าวโพด ส่ วนรากพืชใบเลียงคู่ตรงกลางมักเป็ น xylem ้
  • 98. monocot root cross section pith(พธ) ิ
  • 99.
  • 101. ชนิดของราก เมอแยกตามการเกดของราก ออกเป็น 3 ชนิดคอ ื่ ิ ื 1. Primary root หรือ รากแก้ว (tap root) เป็ นรากทเี่ จริญจาก แรดเิ คล(Radicle) ของเอ็มบริโอ ิ แล้ วพุ่งลงสู่ ดนต่ อ โคนรากจะใหญ่ แล้ วค่ อย ๆ เรียวไป ิ จนถึงปลายราก จะยาวและใหญ่กว่ารากอืนๆ ทีแยกออกไป ่ ่ ทาหน้าทเี่ ป็นหลกรับส่ วนอืนๆ ให้ ทรงตัวอยู่ได้ ํ ั ่
  • 102. รากแก้ว(tap root) รากแก้ว
  • 103. รากชนิดนีพบในพืชใบเลียงคู่ทงอกออกจากเมล็ด ้ ้ ี่ โดยปกติ พืชหลายชนิดมีรากแก้ วเป็ นรากสํ าคัญ ตลอดชีวต ิ ส่วนพืชใบเลียงเดียวทีงอกออกจากเมล็ดใหม่ ๆ ก็มี ้ ่ ่ รากระบบนีเ้ หมือนกัน แต่ มอายุได้ ไม่ นานก็เน่ า ี เปื่ อยไป แล้วเกิดรากชนิดใหม่ ขนมาแทน(รากฝอย) ึ้
  • 104. แรดิเคิล(radicle) คือ ส่ วนของเอ็มบริโอทีเ่ จริญ ออกมาจากเมล็ดเป็ นอันดับแรก
  • 105. 2. Secondary root หรือรากแขนง(lateral root หรือ branch root) เป็ นรากทีเ่ จริญเติบโตออกมาจากรากแก้ ว มักงอกเอียง ลงไปในดินจนเกือบขนานหรือขนานไปกับพืนดิน ้ รากชนิดนีอาจแตกแขนงออกเป็ นทอดๆ ได้ อกเรื่อยๆ ้ ี ทั้งรากแขนงและแขนงต่ างๆ ทียนออกไปเป็ นทอดๆ ่ ื่ ต่ างกําเนิดมาจากเนือเยือเพริไซเคิลในรากเดิมทั้งสิ้น ้ ่
  • 106. Secondary root หรือรากแขนง(lateral root หรือ branch root) รากแก้ว รากฝอย รากแขนง
  • 107. 3. Adventitious root หรือ รากวิสามัญ เป็ นรากทีไม่ ได้ กาเนิดมาจากรากแก้ วหรือรากแขนง ่ ํ รากชนิดนีอาจแตกออกจากโคนต้ นของพืช ้ ตามข้ อของลําต้ นหรือกิง ตามใบหรือจากกิงตอนของ ่ ่ ไม้ ผลทุกชนิด แยกเป็ นชนิดย่ อยได้ ตามรู ปร่ างและหน้ าที่ ได้ ดงนี้ ั
  • 108. รากฝอย (fibrous root) เป็นรากเส้นเลกๆมากมาย ขนาดโตสมาเสมอกน งอกออก ็ ํ่ ั จากรอบโคนต้ นแทนรากแก้ วทีฝ่อเสี ยไปหรือทีหยุดเติบโต ่ ่ พบในพืชใบเลียงเดียวเป็ นส่ วนใหญ่ เช่ น รากข้ าว ข้ าวโพด ้ ่ หญ้ า หมาก มะพร้ าว เป็ นต้ น
  • 110. รากคาจุน (Prop root) เป็ นรากทีแตกออกมาจาก ํ้ ่ ข้ อของลําต้ น ทีอยู่ใต้ ดน และเหนือดินขึนมาเล็กน้ อย ่ ิ ้ และพุ่งแทงลงไปในดิน เพือพยุงลําต้ นเอาไว้ ไม่ ให้ ่ ล้ มง่ าย เช่ น รากข้ าวโพดทีงอกออกจากโคนต้ น ่ รากเตย ลาเจยก ไทรย้อย แสม โกงกาง ํ ี
  • 115. รากเกาะ (Climbing root) เป็ นรากทีแตกออกมาจากข้ อของลําต้ น แล้ วมา ่ เกาะตามหลกหรือเสา เพือพยุงลําต้ นให้ ตด ั ่ ิ แน่ น และชู ลาต้ นขึนทีสูง เช่ น รากของพลู ํ ้ ่ พลูด่าง กล้ วยไม้ พริกไทย เป็ นต้ น
  • 117.
  • 119. รากสังเคราะห์แสง (photosynthetic root) เป็นรากทแตกออกมาจากข้อของลาต้นหรือกง แล้ว ี่ ํ ิ่ ห้อยลงมาในอากาศ จะมสีเขยวของคลอโรฟิลล์ เป็ น ี ี รากททาหน้าทสังเคราะห์แสง เช่น รากกล้วยไม้ทมี ี่ ํ ี่ ี่ สีเขยวเฉพาะรากอ่อน หรือปลายรากทแก่เท่าน้ัน ี ี่ รากของไทร โกงกาง มีสีเขียวเฉพาะตรงที่ห้อยอยู่ใน อากาศ ส่ วนทีไซลงไปในดินแล้ วไม่ มสีเขียวเลย ่ ี
  • 120. รากกล้ วยไม้ -พืชอิงอาศัย(epiphyte) ทําหน้ าที่ยดเกาะดูดซับความชืนในอากาศ ึ ้
  • 121. รากหายใจ (Respiratory root หรือ Aerating root) เป็ นรากทีเ่ กิดจากรากทีอยู่ใต้ ดนงอก และ ต้งตรง ่ ิ ั ขึนมาเหนือดินหรือผิวนํา เพือรับออกซิเจน ้ ้ ่ ช่ วยในการหายใจ พบในพืชชายนําหรือป่ าชายเลน ้ เช่ น รากลําพู แสม โกงกาง
  • 122. ซึ่งแต่ ละชนิดจะมีรากหายใจทีต่างกันไป เช่ น ่ แสม มีรากหายใจโผล่ จากดิน ส่ วนโกงกาง รากหายใจ แทงออกจากต้ นลงดิน เพือช่ วยคํายันลําต้ นอีกด้ วย ่ ้ นอกจากนีนากเหล่ านียงช่ วยดักตะกอนหรือ ้ ้ั อินทรียวัตถุต่างๆ ตามพืนทีชายฝั่งอีกด้ วย ้ ่
  • 123. นอกจากนีรากส่ วนทีอยู่ในนวมคล้ ายฟองนําของผักกระเฉด ้ ่ ้ ก็เป็ นรากหายใจ เรียกว่า รากท่อนลอย Pneumatophore root ) โดยนวมจะเป็ นที่ เกบอากาศและเป็นท่ ุนลอยนําด้วย เช่น รากของแพงพวยนํา ็ ้ ้ ผกกะเฉด ั
  • 126. รากกาฝาก หรือ รากปรสิ ต (Parasitic root) เป็ นรากของพืชพวกปรสิ ตทีสร้ าง Haustoria ่ แทงเข้ าไปในลําต้ นของพืชทีเ่ ป็ นโฮสต์ เพือแย่ งนํา และ ่ ้ อาหารจากโฮสต์ เช่ น รากกาฝาก ฝอยทอง เป็ นต้ น
  • 129. รากสะสมอาหาร (food storage root) เป็นรากที่สะสมอาหารพวกแปง โปรตน หรือนําตาลไว้ ้ ี ้ จนรากเปลียนแปลงรู ปร่ างมีขนาดใหญ่ ซึ่งมักจะ ่ เรียกกันว่ า“หัว” เช่ น หัวแครอท หัวผกกาด หรือหัวไชเท้า ั หัวผกกาดแดง หรือ แรดช (Radish) ั ิ หัวบีท (Beet root) และ หัวมนแกว ั เป็นรากสะสมอาหารทเี่ ปลยนแปลงมาจากรากแก้ว ี่
  • 133. ส่วนรากสะสมอาหารของมนเทศ รักเร่ กระชาย ั เปลียนแปลงมาจากรากแขนง ่
  • 134. นอกเรื่อง รักเร่ หรือ “รักแรก” ลักษณะเป็ นไม้ ล้มลุก มีหัวใต้ ดน สู ง 40-100 ซม. ิ ดอกมหลายสี เช่ น ชมพู ส้ ม ขาว เหลือง และ สองสี ในดอก ี เดียว เป็ นต้ น ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด และ หัวใต้ ดน เมอมดอก ิ ื่ ี และดอกร่วงโรยต้นจะยบ แต่จะแตกต้นขนมาใหม่ได้ ุ ึ้ จากหัวทฝังอย่ ูใต้ดน ี่ ิ
  • 136.
  • 137. รากหนาม (Thorn Root) เป็ นรากทีมีลกษณะเป็ นหนามงอกมาจากบริเวณโคนต้ น ่ ั ตอนงอกใหม่ ๆ เป็ นรากปกติ แต่ ต่อมาเกิดเปลือกแข็งทํา ให้ มลกษณะคล้ ายหนามแข็ง ช่ วยปองกันโคนต้ นได้ ีั ้ ปกติพบในพืชทีเ่ จริญในทีนําท่ วมถึง เช่ น โกงกาง ่ ้ ส่วนในปาล์มบางชนิดจะปรากฏรากหนามกรณทมราก ี ี่ ี ลอยหรือรากคาจุน ํ้
  • 139. จดทาโดย ั ํ นางสาวแอนนา ปัญโญ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย ํ โรงเรียนนารีรัตน์จงหวดแพร่ ั ั Thank you