SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
กรณีศึกษากระบวนการทำงานและการปรับ
ตัวของหนังสือพิมพ์สู่ความเป็นองค์กรผู้
ผลิตข่าวสาร
กรณีศึกษา: The New York Times, The Washington Post
@lekasina
มูลค่าตลาดอุตสาหกรรมหนังสือพิมพ์ทั่ว
โลก (หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐ)
ที่มา: Newspaper Publishing, Global Entertainment and Media Outlook 2014 – 2018, PWC (2013)
มูลค่าอุตสาหกรรมหนังสือพิมพ์ในภูมิภาค
เอเชียแปซิฟิก (หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐ)
ที่มา: Newspaper Publishing, Global Entertainment and Media Outlook 2014 – 2018, PWC (2013)
Newsweek: Go Digital
ในต่างประเทศมีตัวอย่างของการปรับตัวของธุรกิจ
สื่ออยู่หลายกรณี โดยเฉพาะในปีพ.ศ. 2555
นิตยสาร Newsweek นิตยสารข่าวรายสัปดาห์ของ
สหรัฐอเมริกาเป็นนิตยสารที่มียอดขายมากเป็น
อันดับสองรองจากนิตยสาร Times ได้ยุติการพิมพ์
นิตยสาร Newsweek ฉบับกระดาษอย่างถาวรและ
ปรับธุรกิจเข้าสู่รูปแบบดิจิทัล
“การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
Christensen Clayton M. Christensen (2012) ผู้เชี่ยวชาญด้านนวัตกรรมแห่งมหาวิทยาลัย
ฮาร์วาร์ด เจ้าของทฤษฎี Disruptive Innovation แนะนำว่า องค์กรธุรกิจควรมองหาหรือคิด
รูปแบบธุรกิจใหม่ๆ ที่สามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรสำคัญ ที่มีอยู่ นั่นคือ ห้องข่าว หรือ
กองบรรณาธิการ
ด้วยการเปลี่ยนแนวคิดในการนำเสนอข่าวจากการนำเสนอข่าวสารในรูปแบบเดิมๆ ไปสู่
การนำเสนอข่าวสารภายใต้แนวคิดใหม่ที่เชื่อว่า การนำเสนอข่าวสารคือการนำเสนอข้อมูล
ข่าวสารเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคข่าวสาร
Christensen เรียกแนวคิดนี้ว่า แนวคิดการทำข่าวแบบ job-to-be-done
หมายถึงการนำเสนอข่าวสารเพื่อการตัดสินใจหรือเพื่อการตอบสนองความต้องการของผู้
บริโภคข่าวสารในเรื่องต่างๆ
การนำเสนอข่าวสารภายใต้แนวคิดความนี้ องค์กรธุรกิจข่าวต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการ
ทำงานแบบเดิม ไปสู่กระบวนการทำงานในรูปแบบใหม่
“การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
Christensen เสนอว่า องค์กรธุรกิจข่าวจำเป็นต้องสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ
ข่าว ด้วยการให้บริบทข่าว และให้การตรวจสอบข้อเท็จจริงของข้อมูล
การให้บริบทข่าว คือ การนำข่าวพร้อมอธิบายความ แทนการนำเสนอ
เพียงแค่ข้อมูลข่าวว่าเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น แต่จะต้องอธิบายให้
ประชาชนเข้าได้ได้ว่าทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นี้ขึ้น เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นได้
อย่างไร และเหตุการณ์นี้จะส่งผลกระทบอย่างไรต่อชีวิตความเป็นอยู่ของ
ประชาชน หรือเหตุกาณ์นี้มีนัยสำคัญอย่างไร
การตรวจสอบข้อเท็จจริงของข้อมูล คือ การใช้ทักษะของความเป็น
สื่อสารมวลชนในการตรวจสอบว่าข้อมูลข่าวที่เกิดขึ้นเป็นจริงเป็นเท็จ
อย่างไร
“การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
Jim Moroney ซีอีโอของ The Dallas Morning News บอกว่า
กระบวนการวารสารศาสตร์จะต้องเน้นการนำเสนอข่าวภายใต้แนวคิดที่
เรียกว่า PICA คือ การนำเสนอข่าวที่ต้อง
ให้มุมมองข่าว (Perspective) ให้การตีความข่าว (Interpretation)
ให้บริบทข่าว (Context) และให้การวิเคราะห์ข่าว (Analysis) การ
ทำให้เกิด
กระบวนการทำงานข่าวภายใต้แนวคิด PICA ได้ต้องสร้างให้การ
ทำงานของกองบรรณาธิการ เกิดบรรยากาศในการรวบรวมข่าวสาร
จากหลายแหล่งข้อมูล การจดจ่ออยู่กับการสืบเสาะหาข้อมูล การค้นหา
ความจริง และการตรวจสอบข้อเท็จจริงของข้อมูล
“การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
Christensen ยังอธิบายต่อว่า นวัตกรรมได้สร้างความปั่นป่วนให้กับอุตสาหกรรม
สื่อ เหตุผลมาจากเทคโนโลยีทำให้ผู้บริโภคปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับข่าวสาร
จากเดิมที่ผู้บริโภคติดตามข่าวสารจากการอ่านหนังสือพิมพ์ หรือดูรายการข่าว
โทรทัศน์ ไปสู่การติดตามข่าวสารตามความชอบและความสนใจ ติดตามข่าวสาร
จากหลากหลายช่องทาง และติดตามข่าวสาร ณ เวลาที่ตัวเองสะดวก
การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ทำให้เกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่า news segments a la
carte หมายถึง ประชาชนผู้บริโภคข่าวสารเกิดการกระจายตัว ไม่รวมเป็นกลุ่ม
ก้อนใหญ่กลุ่มก้อนเดียวเหมือนเช่นในอดีต
ดังนั้น กระบวนการนำเสนอข่าวสารขององค์กรธุรกิจสื่อจำเป็นต้องคิดค้นวิธีการ
ใหม่ๆ ในการนำเสนอข่าวสาร เพื่อให้ข่าวสารเป็นที่ต้องการและเข้าถึงได้ทุกกลุ่ม
ผู้บริโภคข่าวสารที่มีพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารที่แตกต่างกัน
“การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ธุรกิจสื่อจำเป็นต้องคิดค้นช่องทางการสร้างรายได้
ใหม่ๆ และมองหาโอกาสใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น ซึ่งธุรกิจ
สื่ออาจจำเป็นต้องเปลี่ยนนิยามของคำว่า “ข่าว” ใหม่
ห้องข่าวหรือกองบรรณาธิการ จำเป็นต้องปรับเปลี่ยน
วัฒนธรรมการทำงาน และปรับรูปแบบการทำงาน
โดยพิจารณาจาก 3 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อองค์กร
ได้แก่ ทรัพยากร กระบวนการทำงาน และการจัดลำดับ
ความสำคัญ
“การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
จากปี 2006 ถึง 2012 จำนวนนักหนังสือพิมพ์ใน
สหรัฐอเมริกาลดลง 17,000 คน (ข้อมูลจาก Pew
Research Center)
ในปี 2013 รายได้รวมของอุตสาหกรรมหนังสือพิมพ์ลด
ลง 2.6% percent คิดเป็นมูลค่าหลายพันล้านเหรียญ
สหรัฐ ผลคือ The New York Times, The Wall Street
Journal และ USA Today ต่างประสบปัญหาขาดทุน
และแต่ละหนังสือพิมพ์เริ่มปลดคนในห้องข่าว
http://harvardpolitics.com/covers/future-print-newspapers-struggle-survive-age-technology/
มากกว่าครึ่งของหนังสือพิมพ์ในสหรัฐฯ ต่างมี
เว็บไซต์ หรือ ออนไลน์เวอร์ชั่น (ข้อมูลจาก Fourth
Annual Media in Cyberspace Study)
20% ของหนังสือพิมพ์ที่มีเวอร์ชั่นออนไลน์ (มี
เว็บไซต์) บอกว่า อย่างน้อยครึ่งหนึ่งของเนื้อหาบน
เว็บไซต์เป็นเนื้อหาเดิม(เนื้อหาเดียวกับเวอร์ชั่น
กระดาษ)
http://harvardpolitics.com/covers/future-print-newspapers-struggle-survive-age-technology/
The Washington Post
http://www.niemanlab.org/
The Washington Post
สิงหาคม ปี 2013 ผู้ก่อตั้ง Amazon Jeff Bezos เข้าซื้อ
กิจการ The Washington Post นักวิเคราะห์เชื่อว่า Jeff
Bezos จะพยายามทำให้ The Washington Post มีความ
เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อที่จะสามารถเข้าถึงคนอ่านออนไลน์
และหลากหลายแพลตฟอร์มได้
การเปลี่ยนแปลที่น่าสนใจของ The Washington Post ภาย
ใต้บังเหียนของ Jeff Bezos คือ การเน้นไปที่ “เว็บไซต์” ด้วย
กลยุทธ์ให้สมาชิกของหนังสือพิมพ์กระดาษสามารถอ่าน
The Washington Post ฟรีบนเว็บไซต์
http://harvardpolitics.com/covers/future-print-newspapers-struggle-survive-age-technology/
The Washington Post
ภายใต้การบริหารงานของ Jeff Bezos “The
Washington Post ไม่ใช่หนังสือพิมพ์อีกต่อไป” แต่
เป็น “media and technology company”
ปรับองค์กรด้วยการเพิ่มจำนวนนักข่าว เพิ่มการนำ
เสนอเนื้อหาในรูปแบบวีดีโอ และเพิ่มเครื่องไม้เครื่อง
มือ (digital tools) ในการทำให้รูปแบบการนำเสนอ
เนื้อหา (Storytelling) มีความหลากลายและน่าสนใจ
The Washington Post
ผลคือ เมื่อปลายปีที่ผ่านมา The Washington Post เอาชนะ The New
York Times ด้วยการมีจำนวน unique users 76 ล้านคนในเดือน
ธันวาคมที่ผ่านมา [ข้อมูลจาก comScore]
สิ่งที่ The Washington Post ทำ คือ ปรับปรุงเว็บไซต์ และ mobile
app / และใช้ประโยชน์จาก Amazon Fire/Kindle ด้วยการนำเสนอ
ข่าวแบบ pre-load ด้วยราคาแบบมีส่วนลด เพื่อขยายฐานคนอ่าน
Jeff Bezos ใช้กลยุทธ์ที่ประสบความสำเร็จจาก Amazon มาใช้กับ The
Washington Post ด้วยการนำ technology platform ที่เรียกว่า Arc ที่
เรียนรู้ผู้อ่านว่าชอบอ่านข่าวอะไร สนใจข่าวอะไร เพื่อนำข้อมูลมา
วิเคราะห์ในการวางแผนการทำ/นำเสนอข่าว
The New York Times
http://www.niemanlab.org/2015/10/newsonomics-the-thinking-and-dollars-behind-the-new-york-times-new-digital-strategy/?relatedstory
The New York Times
ตุลาคม 2015 The New York Times มีสมาชิกที่สมัครฉบับดิจิทัล
เกิน 1 ล้านคน ซึ่งเป็นจำนวนสมาชิกที่ต้องใช้เวลาทั้งศตวรรษในการ
สร้างยอดสมาชิกได้เท่านี้ แต่เว็บไซต์และแอพลลิเคชั่นของ The
New York Times สามารถสร้างยอดสมาชิกเกิน 1 ล้านคนได้ใน
ระยะเวลาเพียงไม่ถึง 5 ปี
การปรับตัวของ The New York Times คือ เน้นที่การสร้างรายได้
จากการขายข่าวออนไลน์ ที่ต้องแข่งขันกับข่าวฟรีต่างๆ โดยเน้น 2
อย่าง คือ เน้นคุณภาพข่าว กับเน้นการนำเสนอข่าวผ่าน mobile app
เพราะเชื่อว่า mobile app จะทำให้ผู้ผ่านใช้เวลาอยู่กับข่าว และเชื่อ
ว่าผู้ลงโฆษณาจะหันมาลงโฆษณาบนมือถือมากขึ้น
http://www.niemanlab.org/
The New York Times
The New York Times ยังมีแผนให้บริการ Times
Videos เพื่อดึงเม็ดเงินโฆษณาที่คาดว่า online video
ads จะมีมูลค่า $12.82 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี 2018
ปัจจุบันวีดีโอที่นำเสอนบนเว็บไซต์ยังเป็นวีดีโอสารคดี
นักวิเคราะห์มองว่า NYT ควรเปิดช่องทีวีบนออนไลน์
เหมือนที่ Huffington Post มี HuffPost Live เพื่อ
สร้างให้บริการ (ข่าว) บนออนไลน์มีความแตกต่างและ
หลากหลายเพื่อดึงดูดให้ผู้อ่านยินดีที่จะจ่ายค่าสมาชิก
http://www.niemanlab.org/
The NYT 2020
Digital strategy ใหม่ของ The New York Times
1. ทำระบบการสมัครสมาชิกง่ายและสะดวกเพื่อเข้าถึงคนอ่านกลุ่มที่เด็กลง
40% ของคนอ่านผ่านมือถือเป็นคนอายุต่ำกว่า 35
เคยพยายามราคาต่ำสำหรับเวอร์ชั่นมือถือ NYT Now แต่ไม่ประสบความสำเร็จ จึงยกเลือก
และหันมาให้อ่านฟรี มาพึ่ง ads
package หลายอุปกรณ์ อาทิ web-mobile, web-tablet, web-mobile-tablet
2. พัฒนารูปแบบโฆษณาและการสนับสนุน
ใส่ innovation ให้โฆษณาบนเว็บมีความน่าสนใจ ดึงดูดผู้ลงโฆษณา อาทิ จับมือกับ google
ใช้ google maps
ตั้งบก.ที่ทำ sponsor content ประสานงานระหว่างฝ่ายการตลาดและฝ่ายบก.
ทำ mobile format เรียกMobile Moments เพื่อ support โฆษณาบนมือถือ
http://www.niemanlab.org/
The NYT 2020
Digital strategy ใหม่ของ The New York Times
3. เน้นทุกสื่อ/แพลตฟอร์ม
เลิกเน้นการทำข่าวเพื่อป้อน print
เลิกประการชุมข่าวแบบเดิม (ประชุมข่าวสำหรับนสพ.) แต่คิดว่าจะทำข่าวยังไงเพื่อนำเสนอ
ทุก platform
มีการตั้ง centralized editorial สำหรับดูภาพรวมของข่าว ว่าจะลง platform ไหนอย่างไร
มี mobile alert บอกผู้อ่านว่ามีข่าวอัพเดท
4. ขยายกลุ่มเป้าหมายสู่นานาชาติ ทั่วโลก
ขยายตลาดนอกเหนือตลาดสหรัฐอเมริกา
เริ่มเข้าตลาดเอเชีย เข้าตลาดจีน ร่วมมือกับ WeChat
http://www.niemanlab.org/
BBC
BBC ต้องปรับตัวรับเทคโนโลยีดิจิทัล ด้วยการปรับ
กระบวนการผลิตข่าวให้มีลักษณะของการใช้สื่อผสมระหว่าง
สื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่ เป็นการปรับตัวจากการเป็นเพียงห้อง
ข่าวที่รายงานข่าวผ่านช่องทางสื่อเก่า ได้แก่ วิทยุ และ
โทรทัศน์ ไปสู่การรายงานข่าวผ่านสื่อหลากหลายช่องทาง
การปรับตัวของ BBC ในครั้งนี้ส่งผลให้นักข่าวของ BBC
ต้องปรับตัวให้มีความสามารถในการผลิตชิ้นข่าวและความ
สามารถในการรายงานข่าวที่หลากหลาย
“การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
The Wall Street Journal
http://www.niemanlab.org/2015/04/newsonomics-the-wall-street-journal-is-playing-a-game-of-digital-catchup/
The Wall Street Journal
redesign
multi-platform
mobile
ใช้ analytic วิเคราะห์ข้อมูล
@lekasina
องค์กรหนังสือพิมพ์ในประเทศไทย
การศึกษา “องค์กรสื่อและการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ
ทางธุรกิจสื่อ” พบว่า องค์กรหนังสือพิมพ์ใน
ประเทศไทยอยู่ในจุดเริ่มต้นเชิญชวนผู้อ่านให้สมัคร
สมาชิกเพื่ออ่านทางออนไลน์ ในขณะที่องค์กรธุรกิจ
หนังสือพิมพ์ในต่างประเทศมีความพยายามทดลอง
หลากหลายรูปแบบในการเก็บรายได้จากการ
บริโภคข่าว
“การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
รูปแบบในการเก็บรายได้จากการ
การบริโภคข่าวของสื่อต่างประเทศ
1. การออกฉบับฟรี (Free Digital or Print) โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายในการอ่านเนื้อหาดิจิทัลทั้งหมด รูปแบบ
นี้จะได้ปริมาณของผู้อ่านสูงและสามารถถึงดูดโฆษณาได้ดี
2. เสียค่าสมัครสมาชิกฉบับกระดาษ แต่ได้อ่านฉบับดิจิทัลฟรี (Buy Print, Get Digital Free) เน้นสิ่งพิมพ์
เป็นหลัก แต่ผลิตคู่ขนานกันไป โดยแบ่งรายได้จากการโฆษณากัน ในกรณีเชื่อว่าจะยังคงรักษาฐานลูกค้า
หนังสือพิมพ์ฉบับกระดาษไว้ได้
3. ขายพ่วง (Bundle Subscription) มีทั้งลักษณะที่ออกคู่ขนานกัน ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อแยกประเภท
ฉบับกระดาษและฉบับดิจิทัล แต่หาซื้อควบจะมีส่วนลดพิเศษ
4. ตั้งกำแพงการเก็บเงิน (Paywall) มีการแบ่งเนื้อหาเป็นสองส่วนหลัก ได้แก่ เนื้อหาทั่วไป ไม่เสียค่าใช้
จ่าย และเนื้อหาพิเศษเฉพาะที่มีการเก็บค่าใช้จ่ายในการอ่าน
5. การเก็บเงินโดยใช้มาตรวัดจำนวนข่าว (Metered-Paywall) มีการกำหนดจำนวนของข่าวที่อ่านได้โดย
ไม่มีค่าใช้จ่าย หากเกินจำนวนที่กำหนดผู้อ่านจะต้องเสียค่าใช้จ่าย
6. การจ่ายแบบส่วนแบ่ง (Share-Payment Scheme) ผู้อ่านเหมาจ่ายเพียงครั้งเดียวสามารถอ่านข่าวจาก
หนังสือพิมพ์ดิจิทัลทุกฉบับที่เข้าร่วมรายการ
“การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือ
เนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล* [thesis]
การปรับตัวทางธุรกิจในเครือเนชั่นสามารถแบ่งออกเป็น
การปรับทิศทางธุรกิจ และการปรับตัวทางด้านงานข่าว
การปรับตัวทางธุรกิจของเครือเนชั่น
การปรับกลยุทธ์ธุรกิจ
การปรับโครงสร้างธุรกิจ
การปรับกระบวนการทำงานขององค์กรภายใน
“การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
การปรับตัวทางธุรกิจของหนังสือพิมพ์
คุณสุทธิชัย หยุ่น ประธานกรรมการเครือเนชั่น กล่าวว่า
ภาพรวมของธุรกิจเครือเนชั่นต้องไปสู่ธุรกิจดิจิทัล คอนเทนต์
(Digital Content) ในทุกรูปแบบไม่ว่าจะเป็นธุรกิจหนังสือพิมพ์
วิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต และแอพพลิเคชั่น (Application)
ทั้งหมดจะต้องเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนสู่ภูมิทัศน์สื่อใหม่
โดยมีการปรับวิธีการทำเนื้อหาข่าว(Content) และการบริหาร
ของเครือเนชั่นให้เป็นห้องข่าวแบบหลอมรวม (Convergence
Newsroom) เพื่อที่จะป้อนเนื้อหาข่าวของเครือเนชั่นเข้าไปใน
ทุกช่องทางของสื่อในเครือเนชั่น
“การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือ
เนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล* [thesis]
ทิศทางธุรกิจของเครือเนชั่นจากนี้ต่อไปจะเปลี่ยนจากการเป็น
องค์กรหนังสือพิมพ์ ไปสู่ องค์กรที่มีความหลากหลายมากขึ้น
และจะเปลี่ยนจากการเป็นองค์กรที่ผลิตเนื้อหาข่าวขยายไปสู่
การเป็นองค์กรผู้ผลิตเนื้อหาที่มีความหลากหลายมากขึ้น
การมุ่งผลิตเนื้อหาที่มีความหลากหลายของเครือเนชั่น จะยัง
คงเป็นเนื้อหาที่ยึดโยงอยู่กับสาระและเนื้อหาที่มีคุณภาพเป็น
หลัก การขยายสู่เนื้อหาสาระที่หลากหลายจะต้องสอดคล้อง
กับสถานะของความเป็นองค์กรสื่อที่มีความน่าเชื่อถือ ซึ่งเป็น
คุณค่าหลัก หรือ Core Value ขององค์กร
“การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือ
เนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล* [thesis]
เครือเนชั่นต้องปรับวิธีการทำข่าว กระบวนการทำงาน และการบริหาร
ห้องข่าวไปสู่การทำงานภายใต้แนวคิดห้องข่าวแบบหลอมรวม หรือ
Convergence Newsroom
ห้องข่าวแบบหลอมรวมขึ้นเพื่อหลอมรวมการทำงานของฝ่ายข่าวของทุก
สื่อในเครือเนชั่น ได้แก่หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต สื่อใหม่
รวมถึงฝ่ายสนับสนุน ได้แก่ ฝ่ายช่างภาพ และกราฟฟิก เพื่อให้เกิดการ
ทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ในการร่วมกันพัฒนาเนื้อหาข่าวสาร
และร่วมกันนำเสนอเนื้อหาข่าวสารไปยังผู้บริโภคข่าวในทุกช่องทาง ห้อง
ข่าวแบบหลอมรวม จะเป็นที่ที่บรรณาธิการของทุกสื่อในเครือเนชั่นจะ
รวมตัวกัน ทำงานร่วมกัน วางแผนข่าวและสารคดีข่าวต่างๆ ร่วมกัน
เนื้อหาที่ผลิตออกมาจะถูกนำไปใช้ในทุกสื่อในเครือเนชั่น
“การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
การปรับตัวขององค์กรสื่อหนังสือพิมพ์
นักข่าวและบก.ต้องทำงานหนักมากขึ้น ต้องทำ วีดีโอ
ถ่ายภาพ และเขียนบล็อก ต้องทำ social media/
forum เพื่อสร้างชุมชนคนข่าวออนไลน์ เพื่อสร้าง
ปฏิสัมพันธ์กับ user generated content และกับ
audience
บางที่มีการสร้างตำแนห่งงานใหม่ อาทิ community
editors, Flash developers และ ’Data Delivery
Editors’
@lekasina
การปรับตัวของหนังสือพิมพ์
การปรับตัวขององค์กรข่าว (News Organization)
การปรับตัวของเนื้อหาข่าว (News Content)
การปรับตัวของกองบรรณาธิการ (Editorial)
การปรับตัวของนักข่าว (Jounalist)
@lekasina
การปรับตัวขององค์กรข่าว
ปรับทิศทางมุ่งสู่ออนไลน์/ดิจิทัล (go online/go digotal)
กลยุทธ์ website + mobile + social media
ปรับโครงสร้างองค์กรเพื่อรองรับทิศทาง go online/ go digital (reorganization/
restructure)
ใช้ทีมงาน/กองบก.เดิมรับผิดชอบออนไลน์ด้วย (ทีมงานเดียวกันทำ 2 platforms) อาทิ
กองบก. The Nation คมชัดลึก เป็นต้น
แยกทีมกองบก.ออนไลน์จากกองบก.หนังสือพิมพ์ (รับคนใหม่หรือใช้คนเก่า) อาทิ ไทยรัฐ-
ไทยรัฐออนไลน์ Bangkokpost (มี online reporter) ผู้จัดการ 360 เป็นต้น
ตั้งทีม social media หรือ new media (ตั้งทีมใหม่/ใช้ทีมเก่า) รับผิดชอบการนำเสนอ
ข่าวบน social media เป็นอีกหนึ่ง platform หลักขององค์กรข่าว อาทิ PPTV ไทยรัฐทีวี
เป็นต้น
@lekasina
การปรับตัวเนื้อหาข่าว
เนื้อหาข่าว (News Content) ต้องมีการปรับ ทั้งในส่วนของตัว
“เนื้อหา” (Content) และ “วิธีการนำเสนอ” (Storytelling)ให้
สอดคล้อง/เหมาะสม กับช่องทางหรือ platform ที่นำเสนอ =>
หนังสือพิมพ์, ออนไลน์, mobile [mobile site/mobile app],
social media
ต้องสมดุลเนื้อหาระหว่าง “ข่าวที่คนควรต้องรู้” กับ “ข่าวที่คน
อยากรู้” ระหว่าง “ข่าวเจาะ” กับ “ข่าวกระแส”
ต้องสมดุลเนื้อหาระหว่าง “ข่าวที่ผลิตเอง” (original content)
และ “ข่าวที่ประชาคมข่าวผลิต” (user-generated content)
@lekasina
การปรับตัวของกองบรรณาธิการ
ปรับโครงสร้างกองบรรณาธิการ (structure) = การออกแบบห้องข่าว
เพื่อให้ตอบโจทย์ทิศทางข่าว
ห้องข่าวหลอมรวม (Convergence Newsroom)
หลอมรวมเนื้อหา/ หลอมรวมทีมงาน
ปรับกระบวนการทำงานของกองบรรณาธิการ (workflow)
online first/ mobile first, then newspaper [or TV]
มีตำแหน่งงานใหม่ๆ อาทิ social media editor, content curator,
content conductor, data mining editor, digital editor เป็นต้น
@lekasina
การปรับตัวของนักข่าว
เกาะแกนความสามารถหลักด้านวารสารศาสตร์ (journalism skill)
เพิ่มความสามารถในการทำงานแบบหลากทักษะ (multi-skill journalist)
=> คนเดียวเขียนได้หลากรูปแบบ ข่าวสั้น ข่าวยาว สรู๊ป ถ่ายภาพนิ่ง ถ่าย
วีดีโอคลิป ถ่ายวีดีโอยาว เป็นต้น
=> ความสามารถในการใช้ social media เพื่อประโยชน์ตลอด
กระบวนการทำงานข่าว ตั้งแต่ หาประเด็น รวบรวมข้อมูล เผยแพร่ข่าว
สร้างความสัมพันธ์กับผู้อ่าน/ผู้รับสาร
เพิ่มความสามารถในการทำงานเป็นทีม ท่ามกลางความสามารถในการ
ทำงานแบบหลากทักษะ => ทำงานกับบก.เว็บ บก.กราฟฟิก ช่างภาพ เป็นต้น
@lekasina
สรุป
องค์กรข่าวปรับจาก “single platform” สู่ “multi-platform”
องค์กรข่าวปรับจาก “หนังสือพิมพ์” สู่ “ออนไลน์/ดิจิทัล”
ปรับโครงสร้าง [ทีมเดียว/แยกทีม]
ปรับกระบวนการทำงาน นำแนวคิด digital first [online first,
mobile first] มาใช้
newspaper -> media and technology company/ media
content provider
@lekasina
สรุป
content [text/photo/video |news/ non-news] =>
journalism process => multi-platform [web/mobile/
social media] ด้วย storytelling ที่หลากหลาย [text only/ text
+photo/ multimedia | very short form, short form, long
form]
content [origital created content vs user-generated
content] โดยใช้ social media เป็นแพลตฟอร์มในการเชื่อมต่อ
news community/audience เพื่อกระบวนการทำข่าวทั้งขาเข้า
(pull) และขาออก (push) ทั้งยังสามารถใช้เพื่อสร้าง
engagement กับผู้อ่าน
@lekasina

More Related Content

Similar to newspaper to content provider

Similar to newspaper to content provider (10)

Reseachconvergence
ReseachconvergenceReseachconvergence
Reseachconvergence
 
Writing News Online Sep 2009
Writing  News Online Sep 2009Writing  News Online Sep 2009
Writing News Online Sep 2009
 
Crowdsourcing คืออะไร
Crowdsourcing คืออะไรCrowdsourcing คืออะไร
Crowdsourcing คืออะไร
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Role of Professional Media in New Media Landscape
Role of Professional Media in New Media LandscapeRole of Professional Media in New Media Landscape
Role of Professional Media in New Media Landscape
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 

More from Asina Pornwasin

บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมAsina Pornwasin
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAsina Pornwasin
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Asina Pornwasin
 
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนAsina Pornwasin
 
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...Asina Pornwasin
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อAsina Pornwasin
 
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" Asina Pornwasin
 
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"Asina Pornwasin
 
"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?
"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?
"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?Asina Pornwasin
 
Social media and Journalism
Social media and Journalism Social media and Journalism
Social media and Journalism Asina Pornwasin
 

More from Asina Pornwasin (20)

บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
 
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
 
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
 
Sm4 investigativereport
Sm4 investigativereportSm4 investigativereport
Sm4 investigativereport
 
Convergence Journalism
Convergence JournalismConvergence Journalism
Convergence Journalism
 
Sm4 jr nt
Sm4 jr ntSm4 jr nt
Sm4 jr nt
 
Convergent newsroom
Convergent newsroomConvergent newsroom
Convergent newsroom
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
 
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
บทนำ "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
 
Social media4ku
Social media4kuSocial media4ku
Social media4ku
 
"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?
"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?
"บล็อกเกอร์" เป็น "สื่อ" หรือไม่?
 
Social media and Journalism
Social media and Journalism Social media and Journalism
Social media and Journalism
 

newspaper to content provider

  • 4. Newsweek: Go Digital ในต่างประเทศมีตัวอย่างของการปรับตัวของธุรกิจ สื่ออยู่หลายกรณี โดยเฉพาะในปีพ.ศ. 2555 นิตยสาร Newsweek นิตยสารข่าวรายสัปดาห์ของ สหรัฐอเมริกาเป็นนิตยสารที่มียอดขายมากเป็น อันดับสองรองจากนิตยสาร Times ได้ยุติการพิมพ์ นิตยสาร Newsweek ฉบับกระดาษอย่างถาวรและ ปรับธุรกิจเข้าสู่รูปแบบดิจิทัล “การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 5. Christensen Clayton M. Christensen (2012) ผู้เชี่ยวชาญด้านนวัตกรรมแห่งมหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ด เจ้าของทฤษฎี Disruptive Innovation แนะนำว่า องค์กรธุรกิจควรมองหาหรือคิด รูปแบบธุรกิจใหม่ๆ ที่สามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรสำคัญ ที่มีอยู่ นั่นคือ ห้องข่าว หรือ กองบรรณาธิการ ด้วยการเปลี่ยนแนวคิดในการนำเสนอข่าวจากการนำเสนอข่าวสารในรูปแบบเดิมๆ ไปสู่ การนำเสนอข่าวสารภายใต้แนวคิดใหม่ที่เชื่อว่า การนำเสนอข่าวสารคือการนำเสนอข้อมูล ข่าวสารเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคข่าวสาร Christensen เรียกแนวคิดนี้ว่า แนวคิดการทำข่าวแบบ job-to-be-done หมายถึงการนำเสนอข่าวสารเพื่อการตัดสินใจหรือเพื่อการตอบสนองความต้องการของผู้ บริโภคข่าวสารในเรื่องต่างๆ การนำเสนอข่าวสารภายใต้แนวคิดความนี้ องค์กรธุรกิจข่าวต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการ ทำงานแบบเดิม ไปสู่กระบวนการทำงานในรูปแบบใหม่ “การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 6. Christensen เสนอว่า องค์กรธุรกิจข่าวจำเป็นต้องสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ ข่าว ด้วยการให้บริบทข่าว และให้การตรวจสอบข้อเท็จจริงของข้อมูล การให้บริบทข่าว คือ การนำข่าวพร้อมอธิบายความ แทนการนำเสนอ เพียงแค่ข้อมูลข่าวว่าเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น แต่จะต้องอธิบายให้ ประชาชนเข้าได้ได้ว่าทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นี้ขึ้น เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นได้ อย่างไร และเหตุการณ์นี้จะส่งผลกระทบอย่างไรต่อชีวิตความเป็นอยู่ของ ประชาชน หรือเหตุกาณ์นี้มีนัยสำคัญอย่างไร การตรวจสอบข้อเท็จจริงของข้อมูล คือ การใช้ทักษะของความเป็น สื่อสารมวลชนในการตรวจสอบว่าข้อมูลข่าวที่เกิดขึ้นเป็นจริงเป็นเท็จ อย่างไร “การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 7. Jim Moroney ซีอีโอของ The Dallas Morning News บอกว่า กระบวนการวารสารศาสตร์จะต้องเน้นการนำเสนอข่าวภายใต้แนวคิดที่ เรียกว่า PICA คือ การนำเสนอข่าวที่ต้อง ให้มุมมองข่าว (Perspective) ให้การตีความข่าว (Interpretation) ให้บริบทข่าว (Context) และให้การวิเคราะห์ข่าว (Analysis) การ ทำให้เกิด กระบวนการทำงานข่าวภายใต้แนวคิด PICA ได้ต้องสร้างให้การ ทำงานของกองบรรณาธิการ เกิดบรรยากาศในการรวบรวมข่าวสาร จากหลายแหล่งข้อมูล การจดจ่ออยู่กับการสืบเสาะหาข้อมูล การค้นหา ความจริง และการตรวจสอบข้อเท็จจริงของข้อมูล “การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 8. Christensen ยังอธิบายต่อว่า นวัตกรรมได้สร้างความปั่นป่วนให้กับอุตสาหกรรม สื่อ เหตุผลมาจากเทคโนโลยีทำให้ผู้บริโภคปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับข่าวสาร จากเดิมที่ผู้บริโภคติดตามข่าวสารจากการอ่านหนังสือพิมพ์ หรือดูรายการข่าว โทรทัศน์ ไปสู่การติดตามข่าวสารตามความชอบและความสนใจ ติดตามข่าวสาร จากหลากหลายช่องทาง และติดตามข่าวสาร ณ เวลาที่ตัวเองสะดวก การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ทำให้เกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่า news segments a la carte หมายถึง ประชาชนผู้บริโภคข่าวสารเกิดการกระจายตัว ไม่รวมเป็นกลุ่ม ก้อนใหญ่กลุ่มก้อนเดียวเหมือนเช่นในอดีต ดังนั้น กระบวนการนำเสนอข่าวสารขององค์กรธุรกิจสื่อจำเป็นต้องคิดค้นวิธีการ ใหม่ๆ ในการนำเสนอข่าวสาร เพื่อให้ข่าวสารเป็นที่ต้องการและเข้าถึงได้ทุกกลุ่ม ผู้บริโภคข่าวสารที่มีพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารที่แตกต่างกัน “การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 9. ธุรกิจสื่อจำเป็นต้องคิดค้นช่องทางการสร้างรายได้ ใหม่ๆ และมองหาโอกาสใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น ซึ่งธุรกิจ สื่ออาจจำเป็นต้องเปลี่ยนนิยามของคำว่า “ข่าว” ใหม่ ห้องข่าวหรือกองบรรณาธิการ จำเป็นต้องปรับเปลี่ยน วัฒนธรรมการทำงาน และปรับรูปแบบการทำงาน โดยพิจารณาจาก 3 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อองค์กร ได้แก่ ทรัพยากร กระบวนการทำงาน และการจัดลำดับ ความสำคัญ “การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 10. จากปี 2006 ถึง 2012 จำนวนนักหนังสือพิมพ์ใน สหรัฐอเมริกาลดลง 17,000 คน (ข้อมูลจาก Pew Research Center) ในปี 2013 รายได้รวมของอุตสาหกรรมหนังสือพิมพ์ลด ลง 2.6% percent คิดเป็นมูลค่าหลายพันล้านเหรียญ สหรัฐ ผลคือ The New York Times, The Wall Street Journal และ USA Today ต่างประสบปัญหาขาดทุน และแต่ละหนังสือพิมพ์เริ่มปลดคนในห้องข่าว http://harvardpolitics.com/covers/future-print-newspapers-struggle-survive-age-technology/
  • 11. มากกว่าครึ่งของหนังสือพิมพ์ในสหรัฐฯ ต่างมี เว็บไซต์ หรือ ออนไลน์เวอร์ชั่น (ข้อมูลจาก Fourth Annual Media in Cyberspace Study) 20% ของหนังสือพิมพ์ที่มีเวอร์ชั่นออนไลน์ (มี เว็บไซต์) บอกว่า อย่างน้อยครึ่งหนึ่งของเนื้อหาบน เว็บไซต์เป็นเนื้อหาเดิม(เนื้อหาเดียวกับเวอร์ชั่น กระดาษ) http://harvardpolitics.com/covers/future-print-newspapers-struggle-survive-age-technology/
  • 13. The Washington Post สิงหาคม ปี 2013 ผู้ก่อตั้ง Amazon Jeff Bezos เข้าซื้อ กิจการ The Washington Post นักวิเคราะห์เชื่อว่า Jeff Bezos จะพยายามทำให้ The Washington Post มีความ เป็นดิจิทัลมากขึ้นเพื่อที่จะสามารถเข้าถึงคนอ่านออนไลน์ และหลากหลายแพลตฟอร์มได้ การเปลี่ยนแปลที่น่าสนใจของ The Washington Post ภาย ใต้บังเหียนของ Jeff Bezos คือ การเน้นไปที่ “เว็บไซต์” ด้วย กลยุทธ์ให้สมาชิกของหนังสือพิมพ์กระดาษสามารถอ่าน The Washington Post ฟรีบนเว็บไซต์ http://harvardpolitics.com/covers/future-print-newspapers-struggle-survive-age-technology/
  • 14. The Washington Post ภายใต้การบริหารงานของ Jeff Bezos “The Washington Post ไม่ใช่หนังสือพิมพ์อีกต่อไป” แต่ เป็น “media and technology company” ปรับองค์กรด้วยการเพิ่มจำนวนนักข่าว เพิ่มการนำ เสนอเนื้อหาในรูปแบบวีดีโอ และเพิ่มเครื่องไม้เครื่อง มือ (digital tools) ในการทำให้รูปแบบการนำเสนอ เนื้อหา (Storytelling) มีความหลากลายและน่าสนใจ
  • 15. The Washington Post ผลคือ เมื่อปลายปีที่ผ่านมา The Washington Post เอาชนะ The New York Times ด้วยการมีจำนวน unique users 76 ล้านคนในเดือน ธันวาคมที่ผ่านมา [ข้อมูลจาก comScore] สิ่งที่ The Washington Post ทำ คือ ปรับปรุงเว็บไซต์ และ mobile app / และใช้ประโยชน์จาก Amazon Fire/Kindle ด้วยการนำเสนอ ข่าวแบบ pre-load ด้วยราคาแบบมีส่วนลด เพื่อขยายฐานคนอ่าน Jeff Bezos ใช้กลยุทธ์ที่ประสบความสำเร็จจาก Amazon มาใช้กับ The Washington Post ด้วยการนำ technology platform ที่เรียกว่า Arc ที่ เรียนรู้ผู้อ่านว่าชอบอ่านข่าวอะไร สนใจข่าวอะไร เพื่อนำข้อมูลมา วิเคราะห์ในการวางแผนการทำ/นำเสนอข่าว
  • 16. The New York Times http://www.niemanlab.org/2015/10/newsonomics-the-thinking-and-dollars-behind-the-new-york-times-new-digital-strategy/?relatedstory
  • 17. The New York Times ตุลาคม 2015 The New York Times มีสมาชิกที่สมัครฉบับดิจิทัล เกิน 1 ล้านคน ซึ่งเป็นจำนวนสมาชิกที่ต้องใช้เวลาทั้งศตวรรษในการ สร้างยอดสมาชิกได้เท่านี้ แต่เว็บไซต์และแอพลลิเคชั่นของ The New York Times สามารถสร้างยอดสมาชิกเกิน 1 ล้านคนได้ใน ระยะเวลาเพียงไม่ถึง 5 ปี การปรับตัวของ The New York Times คือ เน้นที่การสร้างรายได้ จากการขายข่าวออนไลน์ ที่ต้องแข่งขันกับข่าวฟรีต่างๆ โดยเน้น 2 อย่าง คือ เน้นคุณภาพข่าว กับเน้นการนำเสนอข่าวผ่าน mobile app เพราะเชื่อว่า mobile app จะทำให้ผู้ผ่านใช้เวลาอยู่กับข่าว และเชื่อ ว่าผู้ลงโฆษณาจะหันมาลงโฆษณาบนมือถือมากขึ้น http://www.niemanlab.org/
  • 18. The New York Times The New York Times ยังมีแผนให้บริการ Times Videos เพื่อดึงเม็ดเงินโฆษณาที่คาดว่า online video ads จะมีมูลค่า $12.82 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี 2018 ปัจจุบันวีดีโอที่นำเสอนบนเว็บไซต์ยังเป็นวีดีโอสารคดี นักวิเคราะห์มองว่า NYT ควรเปิดช่องทีวีบนออนไลน์ เหมือนที่ Huffington Post มี HuffPost Live เพื่อ สร้างให้บริการ (ข่าว) บนออนไลน์มีความแตกต่างและ หลากหลายเพื่อดึงดูดให้ผู้อ่านยินดีที่จะจ่ายค่าสมาชิก http://www.niemanlab.org/
  • 19. The NYT 2020 Digital strategy ใหม่ของ The New York Times 1. ทำระบบการสมัครสมาชิกง่ายและสะดวกเพื่อเข้าถึงคนอ่านกลุ่มที่เด็กลง 40% ของคนอ่านผ่านมือถือเป็นคนอายุต่ำกว่า 35 เคยพยายามราคาต่ำสำหรับเวอร์ชั่นมือถือ NYT Now แต่ไม่ประสบความสำเร็จ จึงยกเลือก และหันมาให้อ่านฟรี มาพึ่ง ads package หลายอุปกรณ์ อาทิ web-mobile, web-tablet, web-mobile-tablet 2. พัฒนารูปแบบโฆษณาและการสนับสนุน ใส่ innovation ให้โฆษณาบนเว็บมีความน่าสนใจ ดึงดูดผู้ลงโฆษณา อาทิ จับมือกับ google ใช้ google maps ตั้งบก.ที่ทำ sponsor content ประสานงานระหว่างฝ่ายการตลาดและฝ่ายบก. ทำ mobile format เรียกMobile Moments เพื่อ support โฆษณาบนมือถือ http://www.niemanlab.org/
  • 20. The NYT 2020 Digital strategy ใหม่ของ The New York Times 3. เน้นทุกสื่อ/แพลตฟอร์ม เลิกเน้นการทำข่าวเพื่อป้อน print เลิกประการชุมข่าวแบบเดิม (ประชุมข่าวสำหรับนสพ.) แต่คิดว่าจะทำข่าวยังไงเพื่อนำเสนอ ทุก platform มีการตั้ง centralized editorial สำหรับดูภาพรวมของข่าว ว่าจะลง platform ไหนอย่างไร มี mobile alert บอกผู้อ่านว่ามีข่าวอัพเดท 4. ขยายกลุ่มเป้าหมายสู่นานาชาติ ทั่วโลก ขยายตลาดนอกเหนือตลาดสหรัฐอเมริกา เริ่มเข้าตลาดเอเชีย เข้าตลาดจีน ร่วมมือกับ WeChat http://www.niemanlab.org/
  • 21. BBC BBC ต้องปรับตัวรับเทคโนโลยีดิจิทัล ด้วยการปรับ กระบวนการผลิตข่าวให้มีลักษณะของการใช้สื่อผสมระหว่าง สื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่ เป็นการปรับตัวจากการเป็นเพียงห้อง ข่าวที่รายงานข่าวผ่านช่องทางสื่อเก่า ได้แก่ วิทยุ และ โทรทัศน์ ไปสู่การรายงานข่าวผ่านสื่อหลากหลายช่องทาง การปรับตัวของ BBC ในครั้งนี้ส่งผลให้นักข่าวของ BBC ต้องปรับตัวให้มีความสามารถในการผลิตชิ้นข่าวและความ สามารถในการรายงานข่าวที่หลากหลาย “การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 22. The Wall Street Journal http://www.niemanlab.org/2015/04/newsonomics-the-wall-street-journal-is-playing-a-game-of-digital-catchup/
  • 23. The Wall Street Journal redesign multi-platform mobile ใช้ analytic วิเคราะห์ข้อมูล @lekasina
  • 24. องค์กรหนังสือพิมพ์ในประเทศไทย การศึกษา “องค์กรสื่อและการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ ทางธุรกิจสื่อ” พบว่า องค์กรหนังสือพิมพ์ใน ประเทศไทยอยู่ในจุดเริ่มต้นเชิญชวนผู้อ่านให้สมัคร สมาชิกเพื่ออ่านทางออนไลน์ ในขณะที่องค์กรธุรกิจ หนังสือพิมพ์ในต่างประเทศมีความพยายามทดลอง หลากหลายรูปแบบในการเก็บรายได้จากการ บริโภคข่าว “การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 25. รูปแบบในการเก็บรายได้จากการ การบริโภคข่าวของสื่อต่างประเทศ 1. การออกฉบับฟรี (Free Digital or Print) โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายในการอ่านเนื้อหาดิจิทัลทั้งหมด รูปแบบ นี้จะได้ปริมาณของผู้อ่านสูงและสามารถถึงดูดโฆษณาได้ดี 2. เสียค่าสมัครสมาชิกฉบับกระดาษ แต่ได้อ่านฉบับดิจิทัลฟรี (Buy Print, Get Digital Free) เน้นสิ่งพิมพ์ เป็นหลัก แต่ผลิตคู่ขนานกันไป โดยแบ่งรายได้จากการโฆษณากัน ในกรณีเชื่อว่าจะยังคงรักษาฐานลูกค้า หนังสือพิมพ์ฉบับกระดาษไว้ได้ 3. ขายพ่วง (Bundle Subscription) มีทั้งลักษณะที่ออกคู่ขนานกัน ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อแยกประเภท ฉบับกระดาษและฉบับดิจิทัล แต่หาซื้อควบจะมีส่วนลดพิเศษ 4. ตั้งกำแพงการเก็บเงิน (Paywall) มีการแบ่งเนื้อหาเป็นสองส่วนหลัก ได้แก่ เนื้อหาทั่วไป ไม่เสียค่าใช้ จ่าย และเนื้อหาพิเศษเฉพาะที่มีการเก็บค่าใช้จ่ายในการอ่าน 5. การเก็บเงินโดยใช้มาตรวัดจำนวนข่าว (Metered-Paywall) มีการกำหนดจำนวนของข่าวที่อ่านได้โดย ไม่มีค่าใช้จ่าย หากเกินจำนวนที่กำหนดผู้อ่านจะต้องเสียค่าใช้จ่าย 6. การจ่ายแบบส่วนแบ่ง (Share-Payment Scheme) ผู้อ่านเหมาจ่ายเพียงครั้งเดียวสามารถอ่านข่าวจาก หนังสือพิมพ์ดิจิทัลทุกฉบับที่เข้าร่วมรายการ “การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 26. การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือ เนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล* [thesis] การปรับตัวทางธุรกิจในเครือเนชั่นสามารถแบ่งออกเป็น การปรับทิศทางธุรกิจ และการปรับตัวทางด้านงานข่าว การปรับตัวทางธุรกิจของเครือเนชั่น การปรับกลยุทธ์ธุรกิจ การปรับโครงสร้างธุรกิจ การปรับกระบวนการทำงานขององค์กรภายใน “การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 27. การปรับตัวทางธุรกิจของหนังสือพิมพ์ คุณสุทธิชัย หยุ่น ประธานกรรมการเครือเนชั่น กล่าวว่า ภาพรวมของธุรกิจเครือเนชั่นต้องไปสู่ธุรกิจดิจิทัล คอนเทนต์ (Digital Content) ในทุกรูปแบบไม่ว่าจะเป็นธุรกิจหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต และแอพพลิเคชั่น (Application) ทั้งหมดจะต้องเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนสู่ภูมิทัศน์สื่อใหม่ โดยมีการปรับวิธีการทำเนื้อหาข่าว(Content) และการบริหาร ของเครือเนชั่นให้เป็นห้องข่าวแบบหลอมรวม (Convergence Newsroom) เพื่อที่จะป้อนเนื้อหาข่าวของเครือเนชั่นเข้าไปใน ทุกช่องทางของสื่อในเครือเนชั่น “การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 28. การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือ เนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล* [thesis] ทิศทางธุรกิจของเครือเนชั่นจากนี้ต่อไปจะเปลี่ยนจากการเป็น องค์กรหนังสือพิมพ์ ไปสู่ องค์กรที่มีความหลากหลายมากขึ้น และจะเปลี่ยนจากการเป็นองค์กรที่ผลิตเนื้อหาข่าวขยายไปสู่ การเป็นองค์กรผู้ผลิตเนื้อหาที่มีความหลากหลายมากขึ้น การมุ่งผลิตเนื้อหาที่มีความหลากหลายของเครือเนชั่น จะยัง คงเป็นเนื้อหาที่ยึดโยงอยู่กับสาระและเนื้อหาที่มีคุณภาพเป็น หลัก การขยายสู่เนื้อหาสาระที่หลากหลายจะต้องสอดคล้อง กับสถานะของความเป็นองค์กรสื่อที่มีความน่าเชื่อถือ ซึ่งเป็น คุณค่าหลัก หรือ Core Value ขององค์กร “การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 29. การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือ เนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล* [thesis] เครือเนชั่นต้องปรับวิธีการทำข่าว กระบวนการทำงาน และการบริหาร ห้องข่าวไปสู่การทำงานภายใต้แนวคิดห้องข่าวแบบหลอมรวม หรือ Convergence Newsroom ห้องข่าวแบบหลอมรวมขึ้นเพื่อหลอมรวมการทำงานของฝ่ายข่าวของทุก สื่อในเครือเนชั่น ได้แก่หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต สื่อใหม่ รวมถึงฝ่ายสนับสนุน ได้แก่ ฝ่ายช่างภาพ และกราฟฟิก เพื่อให้เกิดการ ทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ในการร่วมกันพัฒนาเนื้อหาข่าวสาร และร่วมกันนำเสนอเนื้อหาข่าวสารไปยังผู้บริโภคข่าวในทุกช่องทาง ห้อง ข่าวแบบหลอมรวม จะเป็นที่ที่บรรณาธิการของทุกสื่อในเครือเนชั่นจะ รวมตัวกัน ทำงานร่วมกัน วางแผนข่าวและสารคดีข่าวต่างๆ ร่วมกัน เนื้อหาที่ผลิตออกมาจะถูกนำไปใช้ในทุกสื่อในเครือเนชั่น “การปรับตัวทางธุรกิจขององค์กรสื่อเครือเนชั่นในยุคสื่อดิจิทัล” อศินา พรวศิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 30. การปรับตัวขององค์กรสื่อหนังสือพิมพ์ นักข่าวและบก.ต้องทำงานหนักมากขึ้น ต้องทำ วีดีโอ ถ่ายภาพ และเขียนบล็อก ต้องทำ social media/ forum เพื่อสร้างชุมชนคนข่าวออนไลน์ เพื่อสร้าง ปฏิสัมพันธ์กับ user generated content และกับ audience บางที่มีการสร้างตำแนห่งงานใหม่ อาทิ community editors, Flash developers และ ’Data Delivery Editors’ @lekasina
  • 31. การปรับตัวของหนังสือพิมพ์ การปรับตัวขององค์กรข่าว (News Organization) การปรับตัวของเนื้อหาข่าว (News Content) การปรับตัวของกองบรรณาธิการ (Editorial) การปรับตัวของนักข่าว (Jounalist) @lekasina
  • 32. การปรับตัวขององค์กรข่าว ปรับทิศทางมุ่งสู่ออนไลน์/ดิจิทัล (go online/go digotal) กลยุทธ์ website + mobile + social media ปรับโครงสร้างองค์กรเพื่อรองรับทิศทาง go online/ go digital (reorganization/ restructure) ใช้ทีมงาน/กองบก.เดิมรับผิดชอบออนไลน์ด้วย (ทีมงานเดียวกันทำ 2 platforms) อาทิ กองบก. The Nation คมชัดลึก เป็นต้น แยกทีมกองบก.ออนไลน์จากกองบก.หนังสือพิมพ์ (รับคนใหม่หรือใช้คนเก่า) อาทิ ไทยรัฐ- ไทยรัฐออนไลน์ Bangkokpost (มี online reporter) ผู้จัดการ 360 เป็นต้น ตั้งทีม social media หรือ new media (ตั้งทีมใหม่/ใช้ทีมเก่า) รับผิดชอบการนำเสนอ ข่าวบน social media เป็นอีกหนึ่ง platform หลักขององค์กรข่าว อาทิ PPTV ไทยรัฐทีวี เป็นต้น @lekasina
  • 33. การปรับตัวเนื้อหาข่าว เนื้อหาข่าว (News Content) ต้องมีการปรับ ทั้งในส่วนของตัว “เนื้อหา” (Content) และ “วิธีการนำเสนอ” (Storytelling)ให้ สอดคล้อง/เหมาะสม กับช่องทางหรือ platform ที่นำเสนอ => หนังสือพิมพ์, ออนไลน์, mobile [mobile site/mobile app], social media ต้องสมดุลเนื้อหาระหว่าง “ข่าวที่คนควรต้องรู้” กับ “ข่าวที่คน อยากรู้” ระหว่าง “ข่าวเจาะ” กับ “ข่าวกระแส” ต้องสมดุลเนื้อหาระหว่าง “ข่าวที่ผลิตเอง” (original content) และ “ข่าวที่ประชาคมข่าวผลิต” (user-generated content) @lekasina
  • 34. การปรับตัวของกองบรรณาธิการ ปรับโครงสร้างกองบรรณาธิการ (structure) = การออกแบบห้องข่าว เพื่อให้ตอบโจทย์ทิศทางข่าว ห้องข่าวหลอมรวม (Convergence Newsroom) หลอมรวมเนื้อหา/ หลอมรวมทีมงาน ปรับกระบวนการทำงานของกองบรรณาธิการ (workflow) online first/ mobile first, then newspaper [or TV] มีตำแหน่งงานใหม่ๆ อาทิ social media editor, content curator, content conductor, data mining editor, digital editor เป็นต้น @lekasina
  • 35. การปรับตัวของนักข่าว เกาะแกนความสามารถหลักด้านวารสารศาสตร์ (journalism skill) เพิ่มความสามารถในการทำงานแบบหลากทักษะ (multi-skill journalist) => คนเดียวเขียนได้หลากรูปแบบ ข่าวสั้น ข่าวยาว สรู๊ป ถ่ายภาพนิ่ง ถ่าย วีดีโอคลิป ถ่ายวีดีโอยาว เป็นต้น => ความสามารถในการใช้ social media เพื่อประโยชน์ตลอด กระบวนการทำงานข่าว ตั้งแต่ หาประเด็น รวบรวมข้อมูล เผยแพร่ข่าว สร้างความสัมพันธ์กับผู้อ่าน/ผู้รับสาร เพิ่มความสามารถในการทำงานเป็นทีม ท่ามกลางความสามารถในการ ทำงานแบบหลากทักษะ => ทำงานกับบก.เว็บ บก.กราฟฟิก ช่างภาพ เป็นต้น @lekasina
  • 36. สรุป องค์กรข่าวปรับจาก “single platform” สู่ “multi-platform” องค์กรข่าวปรับจาก “หนังสือพิมพ์” สู่ “ออนไลน์/ดิจิทัล” ปรับโครงสร้าง [ทีมเดียว/แยกทีม] ปรับกระบวนการทำงาน นำแนวคิด digital first [online first, mobile first] มาใช้ newspaper -> media and technology company/ media content provider @lekasina
  • 37. สรุป content [text/photo/video |news/ non-news] => journalism process => multi-platform [web/mobile/ social media] ด้วย storytelling ที่หลากหลาย [text only/ text +photo/ multimedia | very short form, short form, long form] content [origital created content vs user-generated content] โดยใช้ social media เป็นแพลตฟอร์มในการเชื่อมต่อ news community/audience เพื่อกระบวนการทำข่าวทั้งขาเข้า (pull) และขาออก (push) ทั้งยังสามารถใช้เพื่อสร้าง engagement กับผู้อ่าน @lekasina