Accueil
Explorer
Soumettre la recherche
Mettre en ligne
S’identifier
S’inscrire
Publicité
Prochain SlideShare
ใบงานเรื่องอุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
Chargement dans ... 3
1
sur
1
Top clipped slide
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
30 Jan 2017
•
0 j'aime
0 j'aime
×
Soyez le premier à aimer ceci
afficher plus
•
110 vues
vues
×
Nombre de vues
0
Sur Slideshare
0
À partir des intégrations
0
Nombre d'intégrations
0
Télécharger maintenant
Télécharger pour lire hors ligne
Signaler
Formation
กราฟฟิกแท็บแล็ต
Lorpiyanon Krittaya
Suivre
Studying à Assumption College Rayong
Publicité
Publicité
Publicité
Recommandé
ใบงานเรื่องอุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
Yanin Raksasap
32 vues
•
1 diapositive
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
Karn Ung-Anothai
93 vues
•
1 diapositive
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
BmBam Bm
128 vues
•
1 diapositive
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ - กราฟิกส์แท็บเล็ต
kao20082543
97 vues
•
1 diapositive
คีย์บรอดเลเซอร์
Pronnapat Norlaor
48 vues
•
1 diapositive
ใบงานเรื่อง ลักษณะข้อดีและข้อเสียของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
Thanakorn Luanglertpaiboon
66 vues
•
1 diapositive
Contenu connexe
Plus de Lorpiyanon Krittaya
(13)
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
Lorpiyanon Krittaya
•
192 vues
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
Lorpiyanon Krittaya
•
733 vues
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
Lorpiyanon Krittaya
•
87 vues
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
Lorpiyanon Krittaya
•
93 vues
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
Lorpiyanon Krittaya
•
126 vues
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
Lorpiyanon Krittaya
•
134 vues
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Lorpiyanon Krittaya
•
79 vues
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Lorpiyanon Krittaya
•
47 vues
Course outline
Lorpiyanon Krittaya
•
84 vues
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
Lorpiyanon Krittaya
•
69.7K vues
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
Lorpiyanon Krittaya
•
4.3K vues
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
Lorpiyanon Krittaya
•
6.3K vues
S2 work2m34no27
Lorpiyanon Krittaya
•
222 vues
Dernier
(20)
Brand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdf
Bangkok University
•
5 vues
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 6.pdf
PhanumatPH
•
11 vues
Math1 Calculus1 เซตSet (Basic) #1
TeerawutSavangboon
•
15 vues
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 3.pdf
PhanumatPH
•
14 vues
research 653.pdf
peter dontoom
•
17 vues
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 2.pdf
PhanumatPH
•
15 vues
if-clause.ppt
Nicole Robin
•
6 vues
Colorful STEM Poster.pdf
ssuser3873f6
•
7 vues
06.pdf
NewyearNatthapong1
•
2 vues
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 2.pdf
PhanumatPH
•
9 vues
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 4.pdf
PhanumatPH
•
6 vues
Luận văn thạc sĩ toán học.
ssuser499fca
•
7 vues
การให้บริการศูนย์สัตว์ทดลอง ม ขอนแก่น.pdf
PitakthaiChamtim3
•
1 vue
Work trial presentation July-Sep2022.pptx
PitakthaiChamtim3
•
1 vue
pdf2.pdf
Sanzero1
•
5 vues
คุณเป็นใคร 2.docx
SunnyStrong
•
23 vues
คู่มือmanual.pptx
rdbkk02
•
2 vues
Lat Lum Kaeo Mapping.pdf
Bangkok University
•
4 vues
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
Dr.Woravith Chansuvarn
•
42 vues
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 1.pdf
PhanumatPH
•
13 vues
Publicité
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
ชื่อ นางสาวกฤตยา หล่อปิยานนท์ม.5/4
เลขที่20 กราฟฟิกแท็บแล็ต กราฟิกส์แท็บเล็ต (graphics tablet) หรือดิจิไทเซอร์ (digitizer) หรือมักเรียกกันว่า เมาส์ปากกา (penmouse) เป็นอุปกรณ์รับเข้าสาหรับคอมพิวเตอร์ซึ่งช่วยให้บุคคลใช้มือวาดภาพและกราฟิกส์ทานองเดียวกับใช้ปากกาวาดลงบนกระดาษ ทั้งยังสามารถใช้ยึดเก็บข้อมูล ลงลายมือชื่อ และร่างภาพจากกระดาษซึ่งวางหรืดติดไว้บนเครื่องได้ด้วยอุปกรณ์นี้ประกอบด้วยกระดานที่สามารถใช้แท่ง (stylus) ซึ่งเป็นอุปกรณ์คล้ายปากกาและแนบมาพร้อมกัน วาดหรือร่างภาพลงบนนั้นได้ แต่ภาพจะมิได้ปรากฏบนตัวแท็บเล็ต หากปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกันอยู่ แท็บเล็ตอิเล็กทรอนิกส์สาหรับขีดเขียนด้วยมือเครื่องแรกนั้น คือ เครื่องเท็ลออโตกราฟ (Telautograph) ซึ่งเอลิชา เกรย์ (Elisha Gray)จดสิทธิบัตรไปใน ค.ศ. 1888 เอลิชา เกรย์ผู้นี้เป็นที่รู้จักกันในฐานะที่ประดิษฐ์โทรศัพท์และอยู่ร่วมสมัยกับอะเล็กซานเดอร์ เกรย์แฮม เบล(AlexanderGrahamBell) ส่วนกราฟิกส์แท็บเล็ตเครื่องแรกซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับแท็บเล็ตปัจจุบันและใช้ผ่านจอคอมพิวเตอร์นั้น คือ สไตเลเตอร์ (Stylator) ผลิตขึ้นเมื่อค.ศ. 1957 และนาออกเผยแพร่เมื่อค.ศ. 1964 แรนด์แท็บแล็ตนี้อาศัยสายไฟฟ้าซึ่งอยู่ใต้ผิวกระดานในการแปลงพิกัดแนวนอนแนวดิ่งเป็นสัญญาณแม่เหล็กขนาดเล็ก แล้วปากกาจะรับสัญญาณแม่เหล็กนี้ก่อนถอดรหัสกลับเป็นข้อมูลเชิงพิกัดอีกทอดหนึ่งกราฟิกส์แท็บเล็ตได้รับความนิยมเป็นอันมากในช่วง กลางคริสต์ทศวรรษที่ 1970 จนถึงต้นคริสต์ทศวรรษที่ 1980 เมื่อสินค้าแท็บเล็ตที่เรียก"ไอดี" (ID)ย่อมากจาก "อินเทลลิเจนต์ดิจิไทเซอร์" (Intelligent Digitizer) กับ "บิตแพด" (BitPad) ของบริษัทซัมมากราฟิกส์ (Summagraphics) ประสบความสาเร็จทางการค้า บริษัทซัมมากราฟิกส์ยังผลิตบิตแพดรุ่นโออีเอ็ม (OEM) ให้บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ (Apple Computer) จาหน่ายเป็นอุปกรณ์ประกอบคอมพิวเตอร์แอปเปิล 2 (Apple II)ในยี่ห้อแอปเปิลกราฟิกส์แท็บเล็ต (Apple Graphics Tablet) แท็บเล็ตเหล่านี้ทางานด้วยเทคโนโลยีแมกเนโตสตริกชัน (magnetostriction) ซึ่งใช้สายไฟฟ้าทาจากลวดอัลลอยชนิดพิเศษแผ่ไปทั่วซับสเตรต (substrate) เพื่อให้วางตาแหน่งปากกาบนผิวกระดานได้ถูกต้องแม่นยา ทั้งยังช่วยให้มีการคานวณแกน "แซด" (Z)ด้วยส่วนกราฟิกส์แท็บเล็ตสาหรับคอมพิวเตอร์ประจาบ้านนั้น คือ โคอาลาแพด (KoalaPad) ซึ่งตั้งใจออกแบบมาเพื่อคอมพิวเตอร์แอปเปิล 2 แต่ภายหลังปรับปรุงให้ใช้สาหรับคอมพิวเตอร์ประจาบ้านทั่วไปที่มีสิ่งสนับสนุนทางกราฟิกส์ได้ด้วย แท็บลิตที่บริษัทอาตาริผลิตนั้นถือกันว่ามีคุณภาพสูง ต่อมาใน ค.ศ. 1981 นักดนตรีทอด รันด์เกรน (ToddRundgren) สร้างซอฟต์แวร์กราฟิกส์แท็บเล็ตแบบมีสีสาหรับใช้กับคอมพิวเตอร์ส่วนตัวเป็นครั้งแรกของโลก แอปเปิลได้จดสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์นี้โดยเรียกชื่อว่า "ระบบยูโทเปียกราฟิกส์แท็บเล็ต" (Utopia Graphics TabletSystem) ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1980ผู้จาหน่ายกราฟิส์แท็บเล็ตหลายเจ้าได้เพิ่มระบบทางานหลายประการให้แก่แท็บเล็ต เช่นการรับรองลายมือ และผังรายการบนแท็บเล็ต
Publicité