ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ

M

ใบงานที่1 ระดับชั้น ม.5 ปี 2555

การเขียนเรียงความ


       เรียงความ คือการใช้ศิลปะทางการเขียนร้อยแก้วแสดงความรู้สึกนึกคิด
จินตนาการและความเข้าใจของผู้เขียนอย่างสละสลวย      เรียงความจะต้อง
ประกอบด้วยส่วนที่เป็นคานา เนื้อเรื่อง และสรุป

เรียงความที่ดีควรมีลักษณะดังต่อไปนี้

              มีเอกภาพ คือ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หมายความว่าไม่ให้เขียนนอกเรื่อง

         มีสัมพันธภาพ คือ ความสัมพันธ์กัน หมายถึง ข้อความแต่ละข้อความหรือแต่ละ
ย่อหน้าจะต้องมีสัมพันธ์เกี่ยวเนืองกัน
                                ่

         มีสารัตถภาพ คือ การเน้นสาระสาคัญของย่อหน้าแต่ละย่อหน้า และของเรื่อง
ทั้งหมด โดยใช้ประโยคสั้น ๆ สรุปกินความทั้งหมด



ขอเพิ่มเติมเป็นการส่วนตัวค่ะ

           ก่อนเขียนเรียงความนั้นจะต้องตีโจทย์ให้แตกว่า ชื่อเรื่องที่เขาให้มานั้น
หมายถึงอะไร เกี่ยวโยงกับอะไร ข้อมูลที่จะเขียนลงไปนั้นต้องถูกต้องชัดเจน ดังนั้น
ผู้เขียนจะต้องรู้ชัดรู้จริง


การเขียนคานา

       เป็นการเกริ่นเรื่อง ขอย้าว่าแค่เกริ่นนะคะอย่าลึก ใช้คาโอบความหมายกว้างๆ เช่น

เรียงความเรื่องแม่ของฉัน     ควรกล่าวถึงแม่โดยทั่วไปก่อน เขียนให้กินใจ น่าอ่าน น่า
ติดตาม แต่ยังไม่ควรเล่าว่า " แม่ของฉัน "เป็นอย่างไร



เนื้อเรื่อง


      เนื้อเรื่องเป็นส่วนที่มีใจความสาคัญ ประเด็นสาคัญตามห้วข้อ ดังนั้นจะต้องเขียนให้
ละเอียด ครอบคลุม ชัดเจน เช่น เรื่องแม่ของฉัน ในย่อหน้าเนื้อเรื่องให้พรรณนาถึง
พระคุณแม่ ( เขียนในด้านบวก )
สรุป


     กลับไปอ่านคานาและเนื้อเรื่องและสรุปจบให้ไปในทิศทางเดียวกัน ขอแนะนาว่า
ควรให้ข้อแนะนา หรือแนวคิดดีๆ แล้วลงท้ายด้วยประโยคที่น่าสนใจ


       การเขียนเรียงความนั้นอาจจะขึ้นต้นย่อหน้าคานา หรือปิดท้ายในหัวข้อสรุป ด้วย
กลอน คติพจน์ วาทะ หรือคาขวัญ เพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้นาติดตาม ( ถ้ายืมคาใคร
                                                           ่
เขามาอย่าลืมอ้างอิงนะคะ ) ภายในเรียงความควรประกอบด้วยโวหารหลายๆชนิด
เพื่อให้ได้อรรถรสในการอ่าน ขั้นตอน

ในการเตรียมตัวเขียน นอกจากจะต้องเตรียมข้อมูลจัดทาโครงเรื่องแล้ว ควรเลือกใช้
สานวนโวหารให้เหมาะกับเนื้อความที่ จะเขียน สานวนโวหารในภาษาไทย แบ่งออกเป็น
๕ คือ

๑) บรรยายโวหาร

๒) พรรณนาโวหาร

๓) เทศนาโวหาร

๔) สาธกโวหาร

๕) อุปมาโวหาร

        ๑. บรรยายโวหาร คือ โวหารที่ใช้เล่าเรื่อง หรืออธิบายเรื่องราวต่าง ๆ
ตามลาดับเหตุการณ์ การเขียนบรรยายโวหารจะมุ่งความชัดเจน เขียน ตรงไปตรงมา
รวบรัด กล่าวถึงแต่สาระสาคัญ

ไม่จาเป็นต้องมีพลความ หรือความปลีกย่อยเสริม ในการเขียนทั่ว ๆ ไปมักใช้บรรยาย
โวหาร เพราะเหมาะในการติดต่อสื่อสารเนื่องจากสานวนประเภทนี้มุ่งสาระเขียนอย่างสั้น
ๆ ได้ความชัดเจน


         ๒. พรรณนาโวหาร มีจุดมุ่งหมายในการเขียนต่างจากบรรยายโวหาร คือมุ่งให้
ความแจ่มแจ้งละเอียดลออ เพื่อให้ผอ่านเกิดอารมณ์ซาบซึ้งเพลิดเพลินไปกับข้อความ
                                 ู้
นั้นการเขียนพรรณาโวหารจึงยาวกว่าบรรยายโวหารมาก แต่มิใช่การเขียนอย่างเยิ่นเย้อ
เพราะพรรณนา-โวหารต้องมุ่งให้ภาพ และอารมณ์ ดังนั้น จึงมักใช้การเล่นคา เล่นเสียง
ใช้ภาพพจน์แม้เนือความที่เขียนจะน้อยแต่เต็มไปด้วยสานวนโวหารที่ไพเราะ อ่านได้
                ้
รสชาติ


           ๓. เทศนาโวหาร หมายถึง โวหารที่มจุดหมายแสดงความแจ่มแจ้งเพื่อให้
                                             ี
ผู้อ่านคล้อยตามหรืออาจกล่าวได้ว่ามุ่งชักจูงให้ผู้อ่านคิดเห็นหรือคล้อยตามความคิดเห็น
ของผู้เขียนเทศนาโวหาร จึงยากกว่าโวหารที่กล่าว
๔.สาธกโวหาร คือ โวหารที่มุ่งให้ความชัดเจน โดยการยกตัวอย่างเพื่ออธิบาย
ให้แจ่มแจ้งหรือสนับสนุนความคิดเห็นที่เสนอให้หนักแน่น น่าเชือถือ สาธกโวหารเป็น
                                                           ่
โวหารเสริม บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร

          ๕.อุปมาโวหาร หมายถึง โวหารเปรียบเทียบ โดยกตัวอย่าง สิ่งที่คล้ายคลึงกัน
มาเปรียบเพื่อให้เกิดความชัดเจนด้านความหมาย ด้านภาพ และเกิดอารมณ์ ความรู้สึก
มากยิ่งขึ้น กล่าวได้ว่า

อุปมาโวหาร คือ ภาพพจน์ประเภทอุปมานั่นเอง อุปมาโวหารใช้เป็นโวหารเสริม บรรยาย
โวหาร พรรณนาโวหาร และเทศนาโวหาร เพื่อให้ชัดเจนน่าอ่าน โดยอาจเปรียบเทียบ
อย่างสั้น ๆ หรือเปรียบเทียบอย่างละเอียดก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอุปมา โวหารนั้นจะนาไป
เสริมโวหารประเภทใด

         การเขียนเรียงความที่ดีนั้นควรตีกรอบความคิดของผู้เขียนเอาไว้อย่าง
ชัดเจน เพราะจะทาให้งานเขียนไม่วกวน จนผูอ่านเกิดความสับสนทางความคิด และที่
                                           ้
สาคัญเรียงความจะต้องใช้ภาษาอย่างเป็นทางการ อย่าใช้ภาษาพูดเป็นอันขาดเพราะจะ
ทาให้งานเขียนขาดความน่าเชื่อถือ

Recommandé

สารพันเลือกสรรตีความ par
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
17.5K vues62 diapositives
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง... par
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
14.4K vues27 diapositives
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ par
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความThanit Lawyer
27K vues20 diapositives
นิราศนรินทร์คำโคลง par
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
24.4K vues43 diapositives
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก par
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกKruBowbaro
24.6K vues54 diapositives
การวางโครงเรื่อง (Plotting) par
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
3.2K vues39 diapositives

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ par
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
35.6K vues37 diapositives
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี par
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
91K vues2 diapositives
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ... par
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
21.5K vues27 diapositives
โวหารในการเขียน par
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
136.2K vues14 diapositives
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ par
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
52.1K vues15 diapositives
โคลงสี่สุภาพ par
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
6.1K vues37 diapositives

Tendances(20)

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ par sripayom
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
sripayom35.6K vues
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี par Sivagon Soontong
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong91K vues
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ... par คำเมย มุ่งเงินทอง
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
โวหารในการเขียน par krubuatoom
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom136.2K vues
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ par Surapong Klamboot
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
Surapong Klamboot52.1K vues
ร่ายสุภาพ par khorntee
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee44.5K vues
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖ par baicha1006
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
baicha10067.7K vues
แบบทดสอบมัทนะพาธา par krudow14
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
krudow1494.1K vues
แบบทดสอบเสียงในภาษา par Piyarerk Bunkoson
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
Piyarerk Bunkoson83.8K vues
ประวัติที่มาของเรื่อง1 par Tae'cub Rachen
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
Tae'cub Rachen36.3K vues
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด par Thiranan Suphiphongsakorn
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1 par พัน พัน
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
พัน พัน65.9K vues
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ par Piyarerk Bunkoson
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
Piyarerk Bunkoson83.2K vues
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร par Santichon Islamic School
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร

Similaire à ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ

โครงงาน par
โครงงานโครงงาน
โครงงานเมรี รัตนกุล
5.7K vues12 diapositives
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237) par
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
7.7K vues29 diapositives
การเขียนเรียงความ ย่อความ par
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความพัน พัน
12.7K vues23 diapositives
โวหารการเขียน par
โวหารการเขียนโวหารการเขียน
โวหารการเขียนสมศรี หมั่นประโคน
10.5K vues34 diapositives
เรียงความ par
เรียงความเรียงความ
เรียงความkroonoi06
8.3K vues32 diapositives

Similaire à ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ(20)

การเขียนเรียงความ ย่อความ par พัน พัน
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
พัน พัน12.7K vues
เรียงความ par kroonoi06
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
kroonoi068.3K vues
9789740332725 par CUPress
97897403327259789740332725
9789740332725
CUPress571 vues
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1 par Yota Bhikkhu
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
Yota Bhikkhu82 vues
นวัฒกรรมช่วยสอน par kuneena
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
kuneena224 vues
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน par kuneena
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
kuneena507 vues
นวัตกรรมช่วยสอน par kuneena
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
kuneena2.1K vues
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย par Lhin Za
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
Lhin Za25.9K vues

ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ

  • 1. การเขียนเรียงความ เรียงความ คือการใช้ศิลปะทางการเขียนร้อยแก้วแสดงความรู้สึกนึกคิด จินตนาการและความเข้าใจของผู้เขียนอย่างสละสลวย เรียงความจะต้อง ประกอบด้วยส่วนที่เป็นคานา เนื้อเรื่อง และสรุป เรียงความที่ดีควรมีลักษณะดังต่อไปนี้ มีเอกภาพ คือ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หมายความว่าไม่ให้เขียนนอกเรื่อง มีสัมพันธภาพ คือ ความสัมพันธ์กัน หมายถึง ข้อความแต่ละข้อความหรือแต่ละ ย่อหน้าจะต้องมีสัมพันธ์เกี่ยวเนืองกัน ่ มีสารัตถภาพ คือ การเน้นสาระสาคัญของย่อหน้าแต่ละย่อหน้า และของเรื่อง ทั้งหมด โดยใช้ประโยคสั้น ๆ สรุปกินความทั้งหมด ขอเพิ่มเติมเป็นการส่วนตัวค่ะ ก่อนเขียนเรียงความนั้นจะต้องตีโจทย์ให้แตกว่า ชื่อเรื่องที่เขาให้มานั้น หมายถึงอะไร เกี่ยวโยงกับอะไร ข้อมูลที่จะเขียนลงไปนั้นต้องถูกต้องชัดเจน ดังนั้น ผู้เขียนจะต้องรู้ชัดรู้จริง การเขียนคานา เป็นการเกริ่นเรื่อง ขอย้าว่าแค่เกริ่นนะคะอย่าลึก ใช้คาโอบความหมายกว้างๆ เช่น เรียงความเรื่องแม่ของฉัน ควรกล่าวถึงแม่โดยทั่วไปก่อน เขียนให้กินใจ น่าอ่าน น่า ติดตาม แต่ยังไม่ควรเล่าว่า " แม่ของฉัน "เป็นอย่างไร เนื้อเรื่อง เนื้อเรื่องเป็นส่วนที่มีใจความสาคัญ ประเด็นสาคัญตามห้วข้อ ดังนั้นจะต้องเขียนให้ ละเอียด ครอบคลุม ชัดเจน เช่น เรื่องแม่ของฉัน ในย่อหน้าเนื้อเรื่องให้พรรณนาถึง พระคุณแม่ ( เขียนในด้านบวก )
  • 2. สรุป กลับไปอ่านคานาและเนื้อเรื่องและสรุปจบให้ไปในทิศทางเดียวกัน ขอแนะนาว่า ควรให้ข้อแนะนา หรือแนวคิดดีๆ แล้วลงท้ายด้วยประโยคที่น่าสนใจ การเขียนเรียงความนั้นอาจจะขึ้นต้นย่อหน้าคานา หรือปิดท้ายในหัวข้อสรุป ด้วย กลอน คติพจน์ วาทะ หรือคาขวัญ เพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้นาติดตาม ( ถ้ายืมคาใคร ่ เขามาอย่าลืมอ้างอิงนะคะ ) ภายในเรียงความควรประกอบด้วยโวหารหลายๆชนิด เพื่อให้ได้อรรถรสในการอ่าน ขั้นตอน ในการเตรียมตัวเขียน นอกจากจะต้องเตรียมข้อมูลจัดทาโครงเรื่องแล้ว ควรเลือกใช้ สานวนโวหารให้เหมาะกับเนื้อความที่ จะเขียน สานวนโวหารในภาษาไทย แบ่งออกเป็น ๕ คือ ๑) บรรยายโวหาร ๒) พรรณนาโวหาร ๓) เทศนาโวหาร ๔) สาธกโวหาร ๕) อุปมาโวหาร ๑. บรรยายโวหาร คือ โวหารที่ใช้เล่าเรื่อง หรืออธิบายเรื่องราวต่าง ๆ ตามลาดับเหตุการณ์ การเขียนบรรยายโวหารจะมุ่งความชัดเจน เขียน ตรงไปตรงมา รวบรัด กล่าวถึงแต่สาระสาคัญ ไม่จาเป็นต้องมีพลความ หรือความปลีกย่อยเสริม ในการเขียนทั่ว ๆ ไปมักใช้บรรยาย โวหาร เพราะเหมาะในการติดต่อสื่อสารเนื่องจากสานวนประเภทนี้มุ่งสาระเขียนอย่างสั้น ๆ ได้ความชัดเจน ๒. พรรณนาโวหาร มีจุดมุ่งหมายในการเขียนต่างจากบรรยายโวหาร คือมุ่งให้ ความแจ่มแจ้งละเอียดลออ เพื่อให้ผอ่านเกิดอารมณ์ซาบซึ้งเพลิดเพลินไปกับข้อความ ู้ นั้นการเขียนพรรณาโวหารจึงยาวกว่าบรรยายโวหารมาก แต่มิใช่การเขียนอย่างเยิ่นเย้อ เพราะพรรณนา-โวหารต้องมุ่งให้ภาพ และอารมณ์ ดังนั้น จึงมักใช้การเล่นคา เล่นเสียง ใช้ภาพพจน์แม้เนือความที่เขียนจะน้อยแต่เต็มไปด้วยสานวนโวหารที่ไพเราะ อ่านได้ ้ รสชาติ ๓. เทศนาโวหาร หมายถึง โวหารที่มจุดหมายแสดงความแจ่มแจ้งเพื่อให้ ี ผู้อ่านคล้อยตามหรืออาจกล่าวได้ว่ามุ่งชักจูงให้ผู้อ่านคิดเห็นหรือคล้อยตามความคิดเห็น ของผู้เขียนเทศนาโวหาร จึงยากกว่าโวหารที่กล่าว
  • 3. ๔.สาธกโวหาร คือ โวหารที่มุ่งให้ความชัดเจน โดยการยกตัวอย่างเพื่ออธิบาย ให้แจ่มแจ้งหรือสนับสนุนความคิดเห็นที่เสนอให้หนักแน่น น่าเชือถือ สาธกโวหารเป็น ่ โวหารเสริม บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร ๕.อุปมาโวหาร หมายถึง โวหารเปรียบเทียบ โดยกตัวอย่าง สิ่งที่คล้ายคลึงกัน มาเปรียบเพื่อให้เกิดความชัดเจนด้านความหมาย ด้านภาพ และเกิดอารมณ์ ความรู้สึก มากยิ่งขึ้น กล่าวได้ว่า อุปมาโวหาร คือ ภาพพจน์ประเภทอุปมานั่นเอง อุปมาโวหารใช้เป็นโวหารเสริม บรรยาย โวหาร พรรณนาโวหาร และเทศนาโวหาร เพื่อให้ชัดเจนน่าอ่าน โดยอาจเปรียบเทียบ อย่างสั้น ๆ หรือเปรียบเทียบอย่างละเอียดก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอุปมา โวหารนั้นจะนาไป เสริมโวหารประเภทใด การเขียนเรียงความที่ดีนั้นควรตีกรอบความคิดของผู้เขียนเอาไว้อย่าง ชัดเจน เพราะจะทาให้งานเขียนไม่วกวน จนผูอ่านเกิดความสับสนทางความคิด และที่ ้ สาคัญเรียงความจะต้องใช้ภาษาอย่างเป็นทางการ อย่าใช้ภาษาพูดเป็นอันขาดเพราะจะ ทาให้งานเขียนขาดความน่าเชื่อถือ