Publicité
Publicité

Contenu connexe

Publicité

Plus de maruay songtanin(20)

Publicité

Diversity

  1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 25 มิถุนายน 2559
  2. Why Diversity Programs Fail By Frank Dobbin and Alexandra Kalev From Harvard Business Review July-August, 2016
  3. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร  ธุรกิจต่าง ๆ มีความจริงจังในการเพิ่มความหลากหลายของบุคลากร แต่น่าเสียดายที่ดูเหมือนจะไม่ได้ผล เพราะสตรีและชนกลุ่มน้อย ยัง ไม่ได้รับโอกาสมากนักในการบริหารงาน ในช่วงเวลาที่ผ่านมา 20 ปี  ปัญหาคือ องค์กรพยายามที่จะลดอคติของพวกเขา ด้วยเครื่องมือที่ พวกเขาได้ใช้มาตั้งแต่ทศวรรษ 1960 และยังมีแนวโน้มที่จะทาให้ เกิดสิ่งที่เลวร้ายมากกว่าผลดี  ผู้ประพันธ์นาเสนอกลยุทธ์บางอย่างเช่น ความคิดริเริ่มในการสรรหา บุคลากร การเป็นพี่เลี้ยงให้คาปรึกษา และคณะกรรมการความ หลากหลาย เพื่อเพิ่มการติดต่อกับสตรีและชนกลุ่มน้อย และส่งเสริม ความรับผิดชอบทางสังคม
  4. เกริ่นนา  ธุรกิจให้ความสนใจเกี่ยวกับความหลากหลายมากขึ้น หลังจากมีคดี ฟ้ องร้องที่มีมูลค่าสูงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ  ในช่วงปลายปีทศวรรษ 1990 และต้นยุคทศวรรษ 2000 Morgan Stanley ต้องจ่ายค่าชดเชยเป็นจานวนเงิน 54 ล้านดอลลาร์ Smith Barney and Merrill Lynch สูญเสียมากกว่า 100 ล้านดอลลาร์ จากการ ฟ้ องร้องเรื่องการกีดกันทางเพศ  ในปี ค.ศ. 2013 Bank of America Merrill Lynch ต้องชดเชยเป็นเงิน 160 ล้านดอลลาร์  ในกรณีของ Merrill ต้องจ่ายเงินช่วงระยะเวลา 15 ปี ไปเกือบ 500 ล้านดอลลาร์
  5. โปรแกรมความหลากหลาย (Diversity Programs)  บริษัทต่าง ๆ อาศัยการฝึกอบรมผู้จัดการเรื่องความหลากหลาย เพื่อลดอคติ ในการจ้างงาน การประเมินประสิทธิภาพการทางาน และระบบการร้องเรียนของบุคลากร  เครื่องมือเหล่านี้ ถูกออกแบบมา เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดคดี ที่เกิด จากความคิดและการกระทาของผู้จัดการ  แต่จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่า การบังคับนี้ ทาให้เกิดอคติมาก กว่าเดิม
  6.  โปรแกรมที่ไม่ได้ผล
  7. โปรแกรมความหลากหลายที่ดีกว่าเดิม  บริษัทต่าง ๆ ได้รับผลดี เมื่อพวกเขาไม่ใช้กลยุทธ์การควบคุม  ประสิทธิภาพมากขึ้น เกิดจากการมีส่วนร่วมของผู้จัดการในการ แก้ปัญหา การติดต่อเพิ่มขึ้นของพวกเขากับสตรีและชนกลุ่มน้อย และส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม โดยมีความปรารถนาที่จะ สร้างความเป็นธรรมให้เกิดขึ้น  วิธีการเช่น การรับสมัครบุคลากรโดยตรงจากวิทยาลัย การเป็ นพี่ เลี้ยงให้คาปรึกษา ทีมงานสหสาขา และคณะกรรมการความ หลากหลาย ช่วยสร้างผลลัพธ์ที่ดีขึ้น
  8.  โปรแกรมที่ได้ผล
  9.  โปรแกรมที่ได้ผล (ต่อ)
  10. การฝึกอบรมเรื่องความหลากหลาย (Diversity Training)  ผลเชิงบวกของการฝึกอบรมความหลากหลาย อยู่ไม่เกินวันหรือ สองวัน และจากการศึกษาแสดงให้เห็นว่า การอบรมอาจทาให้ เกิดอคติ หรือเป็นการจุดประกายไฟแห่งความขัดแย้ง  ผลกระทบที่เป็นลบเกิดขึ้น เพราะในการฝึกอบรมมักมองความ หลากหลายเป็นภัยคุกคามคือ "ถ้าเลือกปฏิบัติ บริษัทต้องจ่ายเงิน ค่าชดเชย"  แต่หากการเข้าฝึกอบรมเกิดจากความสมัครใจ การตอบสนองจะ เป็นตรงข้าม "ผมเลือกที่จะเข้าอบรม ดังนั้นผมจะต้องสร้างความ หลากหลายให้เกิดขึ้นให้ได้" ซึ่งจะนาไปสู่ผลลัพธ์ที่ดีกว่า
  11. การทดสอบก่อนจ้างงาน (Hiring Tests)  กว่า 40% ของบริษัท พยายามจะต่อสู้กับอคติ ด้วยการทดสอบ ก่อนการจ้างงาน ที่มีการประเมินทักษะของผู้สมัคร  แต่ผู้จัดการไม่ชอบการถูกบังคับว่า พวกเขาไม่สามารถเลือกคน ใดคนหนึ่งตามใจที่พวกเขาต้องการ และการวิจัยแสดงให้เห็นว่า พวกเขามักจะใช้การทดสอบแบบเลือกใช้เป็นราย ๆ  Lauren Rivera ศาสตราจารย์จาก Kellogg พบว่า ทีมให้ความสนใจ เล็กน้อยกับคนผิวขาว แต่ความสนใจมากกับสตรีและคนผิวดา ที่ ไม่ผ่านการทดสอบวิชาคณิตศาสตร์  เพราะผู้มีอานาจ มักตัดสินใจเลือกโดยอคติ
  12. การประเมินผลการดาเนินงาน (Performance Ratings)  มากกว่า 90% ของบริษัทต่าง ๆ ใช้คะแนนผลการดาเนินงาน ประจาปี เพื่อให้มั่นใจว่า ผู้จัดการได้ให้ความเป็นธรรม ในเรื่อง ค่าจ้างและการเลื่อนขั้น  การระบุและการให้รางวัลบุคลากรที่ดีที่สุด ไม่ได้เป็นเพียง เป้ าประสงค์ ยังใช้เป็นเกราะเมื่อเกิดคดีความ แต่จากการศึกษา แสดงให้เห็นว่า ผู้ประเมินมีแนวโน้มที่จะให้คะแนนสตรีและชน กลุ่มน้อย ในเรื่องประสิทธิภาพการทางานที่น้อยกว่าปกติ  ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม ระบบการประเมินผลงาน ไม่ส่งเสริมความ หลากหลาย
  13. กระบวนการรับเรื่องร้องเรียน (Grievance Procedures)  กลยุทธ์นี้ ใช้เพื่อระบุและแก้ไขผู้จัดการที่ลาเอียง ซึ่งบุคลากร สามารถท้าทายเรื่องค่าแรง การเลื่อนขั้น และการเลิกจ้าง แต่ ผู้จัดการมักไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตัวเอง และพยายามที่ จะแก้แค้น หรือพูดดูถูกพนักงานที่ร้องเรียน  มากไปกว่านั้น จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่า มาตรการเรื่อง ร้องเรียน ส่งผลให้เกิดอคติ เพราะพวกเขาคิดว่า นโยบายของ บริษัท รับประกันเรื่องความเป็นธรรมอยู่แล้ว
  14. ความผูกพัน (Engagement)  เมื่อผู้จัดการมีความแข็งขันที่จะช่วยเพิ่มความหลากหลายใน บริษัท บางสิ่งบางอย่างที่คล้ายกันเกิดขึ้นคือ พวกเขาคิดว่าตัวเอง เป็นแชมป์ เปียนเรื่องความหลากหลาย ดังนั้น จึงสมควรให้พวก เขาได้มีส่วนร่วมในเรื่องเหล่านี้ คือ:  การสรรหาบุคลากรโดยตรงจากวิทยาลัย (College Recruitment Programs)  การเป็นพี่เลี้ยงให้คาปรึกษา (Mentoring)  ความรับผิดชอบทางสังคม (Social Accountability)
  15. โปรแกรมการสรรหาบุคลากรโดยตรงจากวิทยาลัย (College Recruitment Programs)  ผู้จัดการที่เต็มใจและสมัครใจเข้าร่วมในโปรแกรมการรับสมัคร จากวิทยาลัยโดยตรง ที่มุ่งเน้นสตรีและชนกลุ่มน้อย เป็นเพราะ การใช้มาตรการเชิงบวกคือ "ร่วมด้วยช่วยกัน ค้นหาความ หลากหลายของบุคลากร"  ผู้จัดการที่เข้าชมวิทยาลัยกล่าวว่า พวกเขาตั้งใจอย่างจริงจัง และ มีความมุ่งมั่นที่จะกลับมา พร้อมกับผู้สมัครที่ต้องการ เช่นวิศวกร สตรี หรือ ชาวอเมริกันผิวดาที่ผ่านการฝึกอบรมเรื่องการจัดการ
  16. การเป็นพี่เลี้ยงให้คาปรึกษา (Mentoring)  การเป็นพี่เลี้ยงให้คาปรึกษา เป็นวิธีการมีส่วนร่วมของผู้จัดการ และลดอคติของพวกเขา  ในการสอนเด็กใหม่ (protégés) ด้วยความผูกพันและการให้การ สนับสนุนของพวกเขาในการฝึกอบรม รวมถึงการได้รับ มอบหมายให้เป็นพี่เลี้ยง ช่วยให้พวกเขาต้องการพัฒนาและเห็น ความก้าวหน้าของเด็กใหม่  พี่เลี้ยงเชื่อว่า เด็กใหม่ของพวกเขาสมควรได้รับโอกาส ไม่ว่าเป็น คนผิวขาว สตรี หรือชนกลุ่มน้อย
  17. การติดต่อ (Contact)  แนวทางการดาเนินธุรกิจ ที่มีการสร้างทีมแบบสหสาขา ช่วยให้ ผู้คนที่มีบทบาทที่แตกต่างกัน มาทางานร่วมกัน ในโครงการเป็น หนึ่งเดียวกัน  เป็นการเพิ่มการติดต่อที่มีความหลากหลายของผู้คน เพราะ ภายในบริษัท ยังคงแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ที่มีความแตกต่างใน ด้านเชื้อชาติ จริยธรรม และเพศ  การจัดการฝึกอบรมแบบหมุนเวียนผ่านหน่วยงานต่าง ๆ ก็เป็ น อีกวิธีหนึ่งที่จะเพิ่มการติดต่อ
  18. ความรับผิดชอบทางสังคม (Social Accountability)  ความรับผิดชอบทางสังคม คือความต้องการของคนเรา ที่จะให้ดู ดีในสายตาของคนรอบข้าง  คณะกรรมการความหลากหลายขององค์กร ที่มีการเชิญหัวหน้า แผนกที่อาสาสมัคร รวมทั้งสมาชิกของกลุ่มด้อยโอกาส เพื่อช่วย ส่งเสริมความรับผิดชอบทางสังคม  ทุกไตรมาสหรือทุกครึ่งปี กรรมการชุดนี้ จะศึกษาตัวเลขความ หลากหลายของบริษัท หน่วยธุรกิจ และแผนกต่าง ๆ เพื่อระบุถึง ความจาเป็นที่ต้องให้ความสนใจ พร้อมกับวิธีการแก้ปัญหา
  19. ผู้จัดการความหลากหลาย (Diversity Managers)  ผู้จัดการความหลากหลาย ช่วยเพิ่มความรับผิดชอบทางสังคมได้  เมื่อผู้คนรู้ว่า พวกเขาจะต้องอธิบายถึงการตัดสินใจของพวกเขา ต่อผู้จัดการความหลากหลาย จึงมีโอกาสน้อย ที่พวกเขาจะ กระทาด้วยอคติ  ดังนั้น การมีผู้จัดการความหลากหลายที่ช่วยตั้งคาถาม จะทาให้ ผู้จัดการย้อนกลับไป และพิจารณาทุก ๆ คนที่มีคุณสมบัติครบ แทนที่จะจ้างงาน หรือส่งเสริมคนแรกที่มีอยู่ในใจ
  20. สรุป  กลยุทธ์ในการควบคุมอคติ เพื่อสร้างความหลากหลายล้มเหลว เนื่องจากว่า เราไม่สามารถกระตุ้นผู้จัดการ โดยการบังคับให้พวก เขาทาตามโปรแกรมที่วางไว้ และลงโทษถ้าพวกเขาทาไม่ได้  องค์กรจะมีความหลากหลายน้อย ถ้าบังคับให้ผู้จัดการเข้า ฝึกอบรมเรื่องความหลากหลาย ควบคุมการตัดสินใจของพวกเขา ในเรื่องการจ้างงานและการเลื่อนขั้น รวมถึงระบบการร้องเรียน  แต่ยังมีข่าวดีคือ การที่เรารู้ว่ามีสิ่งใดที่ทาแล้วได้ผล ที่เราต้องทา ให้มากขึ้น
  21. - Winston Churchill
Publicité