SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  26
Télécharger pour lire hors ligne
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
25 มกราคม 2559
อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ (Internet of Things: IoT)
 คือเครือข่ายของวัตถุทางกายภาพ (อุปกรณ์ ยานพาหนะ อาคาร
และอื่น ๆ) ที่มีการฝังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซอฟแวร์ เซ็นเซอร์
และมีการเชื่อมต่อกับเครือข่าย ทาให้วัตถุเหล่านี้ สามารถเก็บ
รวบรวม และแลกเปลี่ยนข้อมูลได้
อุปกรณ์ที่มีการเชื่อมต่อ
 IoT เป็นการเชื่อมต่อขั้นสูงของ อุปกรณ์ ระบบ และบริการ ที่
นอกเหนือไปจากการสื่อสารระหว่างเครื่อง (machine-to-
machine: M2M) และครอบคลุมความหลากหลายของ protocols,
domains, และ applications
 ผู้เชี่ยวชาญคาดว่า IoT จะมีในวัตถุเกือบ 50,000 ล้านชิ้น (50
billion objects) ในปี ค.ศ. 2020
ระบบไซเบอร์และกายภาพ
 IoT มีเซ็นเซอร์และตัวกระตุ้น ทาให้เทคโนโลยีของระบบไซเบอร์
และกายภาพ (cyber-physical systems) ใช้ได้กว้างขวางขึ้น
ครอบคลุมเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น สมาร์ทกริด (smart grids) บ้าน
สมาร์ท (smart homes) ขนส่งอัจฉริยะ (intelligent
transportation) และเมืองสมาร์ท (smart cities)
 เพราะแต่ละสิ่ง มีเอกลักษณ์ที่สามารถใช้ระบุตัวตน ผ่านระบบ
คอมพิวเตอร์ที่ฝังอยู่ และมีโครงสร้างพื้นฐานภายใน ที่ติดต่อผ่าน
อินเทอร์เน็ตได้
สิ่งต่าง ๆ (Things)
 "สิ่งต่าง ๆ" ในความหมายของ IoT อ้างถึงความหลากหลายของ
อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์การตรวจสอบคลื่นหัวใจ Biochip ใน
สัตว์เลี้ยง รถยนต์ที่มีอุปกรณ์เซ็นเซอร์ในตัว เครื่องมือวิเคราะห์
DNA ของสิ่งแวดล้อม/อาหาร/เชื้ อโรค อุปกรณ์ช่วยนักดับเพลิง
ในการค้นหาและการช่วยเหลือ เป็นต้น
 อุปกรณ์เหล่านี้ สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ด้วย
ความช่วยเหลือของเทคโนโลยีที่มีอยู่ แล้วมีส่งผ่านข้อมูลกับ
อุปกรณ์อื่น ๆ
ประวัติศาสตร์ยุคต้น
 แนวคิดของอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ เริ่มเป็นที่นิยมในปี ค.ศ.
1999 โดย Auto-ID Center ที่ MIT และในสิ่งพิมพ์การวิเคราะห์
ตลาด
 คลื่นความถี่วิทยุในการระบุ (Radio-frequency identification: RFID)
เป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ในยุคนั้น
 ปัจจุบันนี้ นอกเหนือจากการใช้ RFID แล้ว การ tagging ยังสามารถ
ทาได้โดยผ่านเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น near field communication,
barcodes, QR codes และ digital watermarking
การสนับสนุนของ IPv6
 การจะบูรณาการกับอินเทอร์เน็ตได้นั้น อุปกรณ์ที่ใช้ ต้องมีที่อยู่
IP ซึ่งเป็นตัวระบุที่ไม่ซ้ากัน
 เนื่องจากพื้นที่ที่จากัดของ IPv4 (4.3 พันล้านสิ่ง มีที่อยู่ไม่ซ้ากัน)
ทาให้วัตถุใน IoT จาเป็นต้องใช้ IPv6 เพื่อรองรับพื้นที่ที่มีขนาด
ใหญ่มาก
 อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ จะเป็นไปได้โดยการสนับสนุนของ
IPv6 และการทาให้ทั่วโลกมีการยอมรับมาตรฐาน IPv6 เพื่อ
ความสาเร็จของ IoT ในอนาคต
การใช้ประโยชน์ IoT
 1. อุตสาหกรรมสื่อ (The Media Industries)
 2. การตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Monitoring)
 3. การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure Management)
 4. การผลิต (Manufacturing)
 5. การจัดการพลังงาน (Energy Management)
 6. การแพทย์และระบบการดูแลสุขภาพ (Medical and Healthcare
Systems)
 7. อาคารและบ้านระบบอัตโนมัติ (Building and Home Automation)
 8. การขนส่ง (Transportation)
 9. การใช้งานกับสิ่งที่มีขนาดใหญ่ (Large Scale Deployments)
1. อุตสาหกรรมสื่อ
 อุตสาหกรรมสื่อ ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ในสองลักษณะที่เชื่อมโยงกัน:
 กาหนดเป้ าหมายผู้บริโภค (สาหรับการโฆษณาโดยนักการตลาด)
 การดักจับข้อมูล
 ดังนั้น อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ สร้างโอกาสในการวัด การเก็บ
รวบรวม และการวิเคราะห์สถิติความหลากหลายของพฤติกรรม
 ความสัมพันธ์ของข้อมูลนี้ สามารถปฏิวัติตลาดเป้ าหมาย ของ
ผลิตภัณฑ์และบริการได้
1. อุตสาหกรรมสื่อ (ต่อ)
 จากมุมมองของสื่อ ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) และ IoT ทางาน
ร่วมกันได้ เพราะข้อมูลเป็นอนุพันธ์ที่สาคัญของการเชื่อมต่อ
ระหว่างอุปกรณ์ และทาให้เกิดความชัดเจนในการกาหนด
เป้ าหมาย
 อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรม
สื่อ บริษัทต่าง ๆ หรือรัฐบาล ซึ่งเป็นการเปิดยุคใหม่ของการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการแข่งขัน
2. การตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม
 โปรแกรมตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อมของ IoT มักจะใช้เซ็นเซอร์
ในการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม เช่นการตรวจสอบอากาศ คุณภาพ
น้า ชั้นบรรยากาศ สภาพดิน รวมถึงการตรวจสอบการ
เคลื่อนไหวของสัตว์ป่ า และที่อยู่อาศัยของพวกมัน
 การพัฒนาอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต รวมถึงโปรแกรม
อื่น ๆ เช่นระบบเตือนภัยแผ่นดินไหว หรือสึนามิ สามารถ
นามาใช้กับบริการฉุกเฉิน เพื่อให้การช่วยเหลือมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น
3. การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน
 การตรวจสอบและการควบคุมการปฏิบัติงาน เป็นโปรแกรมที่
สาคัญของ IoT เกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานในเมืองและชนบท เช่น
สะพาน รางรถไฟ และ กังหันลม
 IoT สามารถนามาใช้สาหรับการตรวจสอบเหตุการณ์ใด ๆ หรือ
การเปลี่ยนแปลงสภาพของโครงสร้าง ที่ช่วยเพิ่มความปลอดภัย
และลดความเสี่ยง
 แม้การจัดการของเสีย (waste management) ก็ได้รับประโยชน์
จากระบบอัตโนมัติ และเพิ่มประสิทธิภาพโดย IoT
4. การผลิต
 ระบบอัจฉริยะของ IoT ทาให้การผลิตของผลิตภัณฑ์ใหม่ทาได้
อย่างรวดเร็ว เพื่อตอบสนองความต้องการสินค้า การเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิต และเครือข่ายห่วงโซ่อุปทาน โดยใช้
เครือข่ายเซ็นเซอร์ และระบบการควบคุมร่วมกัน
 การวัด การควบคุมอัตโนมัติ การเพิ่มประสิทธิภาพของโรงงาน
การจัดการด้านความปลอดภัย และการทางานอื่น ๆ เกิดได้จาก
มีเครือข่ายเซ็นเซอร์จานวนมาก
5. การจัดการพลังงาน
 เป็นที่คาดการณ์ว่า อุปกรณ์ IoT จะรวมอยู่ในทุกรูปแบบของ
อุปกรณ์การบริโภคพลังงาน (สวิทช์, ปลั๊กไฟ, หลอดไฟ,
โทรทัศน์ ฯลฯ ) และสามารถสื่อสารกับบริษัทจัดหาไฟฟ้ า
เพื่อให้การผลิตกระแสไฟฟ้ าและการใช้พลังงาน มีประสิทธิภาพ
ที่สมดุล
 อุปกรณ์ดังกล่าว ยังทาให้ผู้ใช้ควบคุมอุปกรณ์ได้จากระยะไกล
หรือจัดการจากส่วนกลางผ่านทางอินเตอร์เฟซที่ใช้ cloud
6. การแพทย์และระบบการดูแลสุขภาพ
 อุปกรณ์ IoT สามารถใช้ในการตรวจสอบสุขภาพระยะไกล และ
เป็นระบบแจ้งเหตุฉุกเฉิน
 อุปกรณ์ตรวจสอบสุขภาพเหล่านี้ จะวัดความดันโลหิตและอัตรา
การเต้นหัวใจ แล้วส่งการตรวจสอบไปยังอุปกรณ์ที่มี
ความสามารถขั้นสูง เช่นเครื่องกระตุ้นหัวใจ หรือไปยัง
เครื่องช่วยฟังที่ทันสมัย
 แพทย์ยังสามารถตรวจสอบสุขภาพของผู้ป่ วย จาก smartphones
ของพวกเขา หลังจากที่ผู้ป่ วยออกจากโรงพยาบาลไปแล้ว
7. อาคารและบ้านระบบอัตโนมัติ
 อุปกรณ์ IoT สามารถใช้ในการตรวจสอบและควบคุม
เครื่องจักรกล ระบบไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้ในอาคาร
ประเภทต่างๆ (เช่น ในภาครัฐ เอกชน อุตสาหกรรม สถาบัน
หรือที่อยู่อาศัย)
 บ้านระบบอัตโนมัติ เช่นเดียวกับอาคารระบบอัตโนมัติอื่น ๆ มี
การควบคุมแสง ความร้อน การระบายอากาศ เครื่องปรับอากาศ
เครื่องใช้ไฟฟ้ า ระบบการสื่อสาร ความบันเทิง และอุปกรณ์รักษา
ความปลอดภัย เพื่อความสะดวกสบาย ใช้พลังงานอย่างมี
ประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัย
8. การขนส่ง
 การใช้งานของ IoT ขยายไปทุกด้านของระบบการขนส่ง เช่น
ยานพาหนะ โครงสร้างพื้นฐาน คนขับรถ หรือผู้ใช้งาน
 การทางานร่วมกันแบบพลวัตระหว่างองค์ประกอบเหล่านี้ ช่วย
ในการสื่อสาร ภายในและระหว่างยานพาหนะ การควบคุม
การจราจรแบบสมาร์ท ที่จอดรถสมาร์ท ระบบเก็บค่าผ่านทาง
อิเล็กทรอนิกส์ การขนส่งและการจัดการยานพาหนะ การควบคุม
รถ ความปลอดภัย รวมถึงการให้ความช่วยเหลือบนท้องถนน
9. การใช้กับสิ่งที่มีขนาดใหญ่
 มีการวางแผน หรือมีการใช้งานของ IoT ต่อสิ่งที่มีขนาดใหญ่
อย่างต่อเนื่อง เพื่อการจัดการที่ดีของเมืองและระบบ
 ยกตัวอย่างเช่น เมือง Songdo ในเกาหลีใต้ เป็นเมืองแรกที่เป็น
เมืองสมาร์ทและมีอุปกรณ์ครบครัน เกือบทุกอย่างในเมืองนี้ มี
การวางสายเชื่อมต่อ มีกระแสของข้อมูลที่ได้รับการตรวจสอบ
และวิเคราะห์โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีการแทรกแซงจาก
มนุษย์น้อยมากหรือแทบจะไม่มีเลย
คาวิจารณ์และข้อถกเถียง
 ในขณะที่เทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ เป็นขั้นตอนเพื่อ
โลกที่ดีกว่า นักวิชาการและผู้สังเกตการณ์ทางสังคมหลายคน มี
ข้อสงสัยเกี่ยวกับการปฏิวัติคอมพิวเตอร์นี้ คือ
 ความเป็นส่วนตัว ความเป็นอิสระ และการควบคุม (Privacy, autonomy
and control)
 การรักษาความปลอดภัย (Security)
 การออกแบบ (Design)
 ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental impact)
ความเป็นส่วนตัว ความเป็นอิสระ และการควบคุม
 The American Civil Liberties Union (ACLU) แสดงความกังวล
เกี่ยวกับความสามารถของ IoT ที่กัดกร่อนการควบคุมชีวิตของ
ประชาชน โดยสหภาพเขียนว่า "ไม่มีทางที่จะคาดการณ์ได้ว่า
อานาจอันยิ่งใหญ่ (ที่สะสมอยู่ในมือของบริษัท ที่มองหา
ประโยชน์ทางการเงิน และรัฐบาลที่อยากควบคุมเรามากกว่าที่
เคยเป็น) จะใช้โอกาสของข้อมูลขนาดใหญ่และอินเทอร์เน็ตของ
สิ่งต่าง ๆ ในการควบคุมชีวิตของพวกเรา ให้โปร่งใสมากขึ้น
ในขณะที่บริษัทและองค์กรของรัฐบาล เป็นที่ทึบแสงสาหรับพวก
เรามากกว่าเดิม "
การรักษาความปลอดภัย
 ความกังวลที่อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ได้รับการพัฒนาอย่าง
รวดเร็ว โดยไม่ได้พิจารณาความเหมาะสม ในเรื่องการรักษา
ความปลอดภัยอย่างลึกซึ้ ง อาจมีความจาเป็นในการเปลี่ยนแปลง
กฎระเบียบขึ้นมาใหม่
 ตามที่ BI (Business Insider) ทาการสารวจในช่วงไตรมาสสุดท้าย
ของปี ค.ศ. 2014 มี 39% ของผู้ตอบแบบสอบถามกล่าวว่า การ
รักษาความปลอดภัย เป็นความกังวลที่ใหญ่ที่สุด ในการใช้
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ
การออกแบบ
 ธรรมชาติของการพัฒนาการออกแบบ และการจัดการของ
อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ เพื่อการใช้งานอย่างยั่งยืนและความ
ปลอดภัย ต้องออกแบบโดยใช้ "การขยายขีดความสามารถแบบ
อนาธิปไตย (anarchic scalability)"
 การประยุกต์ใช้แนวคิดของการขยายขีดความสามารถแบบ
อนาธิปไตย ทาให้ขยายตัวไปใช้กับระบบทางกายภาพ (การ
ควบคุมวัตถุที่แท้จริงของโลก) โดยอาศัยระบบที่ออกแบบ เพื่อ
การจัดการความไม่แน่นอนในอนาคต
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัยต่างๆ ประกอบไปด้วยความ
หลากหลายของโลหะหนัก โลหะหายาก และสารเคมีสังเคราะห์ที่
เป็นพิษสูง ทาให้เป็นการยากมาก ที่จะนากลับมาใช้ใหม่
 มีสาเหตุมาจากแนวคิดของ IoT ในการเพิ่มอิเล็กโทรนิคไปยัง
อุปกรณ์พื้นฐาน (เช่น สวิตช์ไฟธรรมดา ๆ) รวมถึงการเปลี่ยน
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมักจะเกิดจากเทคโนโลยีที่ล้าสมัย
มากกว่าความล้มเหลวที่เกิดขึ้นจริงจากการใช้งาน
สรุป
 อินเตอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ (Internet of Things: IoT) กลายเป็น
หัวข้อของการสนทนา ทั้งในและนอกสถานที่ทางาน
 แนวคิดนี้ จะส่งผลกระทบต่อวิธีการที่เรามีชีวิตอยู่ และวิธีการที่
เราทางาน ในอนาคตอันใกล้นี้
 สาหรับตอนนี้ สิ่งที่ดีที่สุดที่เราสามารถทาได้คือ การมีความรู้
เกี่ยวกับ IoT และศึกษาผลกระทบที่สามารถมองเห็นได้ ทั้งใน
วิธีการที่เราทางาน และการดารงชีวิต
The Internet of Things:
Mapping the Value Beyond the Hype
Chinese Proverb

Contenu connexe

Tendances

ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordpeter dontoom
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาSani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)Donnapha Bor-sap
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศPowerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศNawaponch
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกรมณ รมณ
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
ลูกเสือ-เนตรนารี
ลูกเสือ-เนตรนารีลูกเสือ-เนตรนารี
ลูกเสือ-เนตรนารีJirapat Chomvilai
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3พัน พัน
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.PR OBEC
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้นแบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้นKusuma Niwakao
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)DuangdenSandee
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57สมใจ จันสุกสี
 

Tendances (20)

ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
โครงการหมาน้อยร้อยฝัน(บทที่1-3)
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศPowerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ลูกเสือ-เนตรนารี
ลูกเสือ-เนตรนารีลูกเสือ-เนตรนารี
ลูกเสือ-เนตรนารี
 
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัยตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้นแบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
 

En vedette

En vedette (20)

Value chain analysis
Value chain analysisValue chain analysis
Value chain analysis
 
Item integration & expected results
Item integration & expected resultsItem integration & expected results
Item integration & expected results
 
Building a workforce for the future
Building a workforce for the futureBuilding a workforce for the future
Building a workforce for the future
 
New rules of competition
New rules of competitionNew rules of competition
New rules of competition
 
Site visit questions
Site visit questionsSite visit questions
Site visit questions
 
Km 2.0
Km 2.0Km 2.0
Km 2.0
 
What does your customer really want
What does your customer really wantWhat does your customer really want
What does your customer really want
 
The softer side of negotiation
The softer side of negotiationThe softer side of negotiation
The softer side of negotiation
 
Scoring system
Scoring systemScoring system
Scoring system
 
2015 baldrige award winners
2015 baldrige award winners2015 baldrige award winners
2015 baldrige award winners
 
Diversity
DiversityDiversity
Diversity
 
Ha & army hospitals
Ha & army hospitalsHa & army hospitals
Ha & army hospitals
 
Why organizations don’t learn
Why organizations don’t learnWhy organizations don’t learn
Why organizations don’t learn
 
Knowledge, learning, and innovation
Knowledge, learning, and innovationKnowledge, learning, and innovation
Knowledge, learning, and innovation
 
Evolution of design thinking
Evolution of design thinkingEvolution of design thinking
Evolution of design thinking
 
The truth about blockchain
The truth about blockchainThe truth about blockchain
The truth about blockchain
 
Criteria by diagrams
Criteria by diagramsCriteria by diagrams
Criteria by diagrams
 
New core values and concepts
New core values and conceptsNew core values and concepts
New core values and concepts
 
2016 criteria category and item commentary
2016 criteria category and item commentary2016 criteria category and item commentary
2016 criteria category and item commentary
 
Thailand 4.0
Thailand 4.0Thailand 4.0
Thailand 4.0
 

Similaire à Internet of things part i

Similaire à Internet of things part i (20)

Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT)Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT)
 
Internet of things (io t)
Internet of things (io t)Internet of things (io t)
Internet of things (io t)
 
Iot
IotIot
Iot
 
Internet of Things
Internet of Things Internet of Things
Internet of Things
 
Internet of things
Internet of things Internet of things
Internet of things
 
Intemet of things
Intemet of thingsIntemet of things
Intemet of things
 
Internet of Things
Internet of ThingsInternet of Things
Internet of Things
 
Internet of things
Internet of thingsInternet of things
Internet of things
 
Internet of things
Internet of things Internet of things
Internet of things
 
Internet of things (io t)
Internet of things (io t)Internet of things (io t)
Internet of things (io t)
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Internet of things (io t)
Internet of things (io t)Internet of things (io t)
Internet of things (io t)
 
Internet of things (io t)
Internet of things (io t)Internet of things (io t)
Internet of things (io t)
 
Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT)Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT)
 
internet of things
internet of thingsinternet of things
internet of things
 
internet of things
internet of thingsinternet of things
internet of things
 
Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT)Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT)
 
Internet of things (io t)
Internet of things (io t)Internet of things (io t)
Internet of things (io t)
 
Internet of things (io t)
Internet of things (io t)Internet of things (io t)
Internet of things (io t)
 
Internet of things
Internet of things Internet of things
Internet of things
 

Plus de maruay songtanin

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

Plus de maruay songtanin (20)

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

Internet of things part i

  • 2. อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ (Internet of Things: IoT)  คือเครือข่ายของวัตถุทางกายภาพ (อุปกรณ์ ยานพาหนะ อาคาร และอื่น ๆ) ที่มีการฝังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซอฟแวร์ เซ็นเซอร์ และมีการเชื่อมต่อกับเครือข่าย ทาให้วัตถุเหล่านี้ สามารถเก็บ รวบรวม และแลกเปลี่ยนข้อมูลได้
  • 3. อุปกรณ์ที่มีการเชื่อมต่อ  IoT เป็นการเชื่อมต่อขั้นสูงของ อุปกรณ์ ระบบ และบริการ ที่ นอกเหนือไปจากการสื่อสารระหว่างเครื่อง (machine-to- machine: M2M) และครอบคลุมความหลากหลายของ protocols, domains, และ applications  ผู้เชี่ยวชาญคาดว่า IoT จะมีในวัตถุเกือบ 50,000 ล้านชิ้น (50 billion objects) ในปี ค.ศ. 2020
  • 4. ระบบไซเบอร์และกายภาพ  IoT มีเซ็นเซอร์และตัวกระตุ้น ทาให้เทคโนโลยีของระบบไซเบอร์ และกายภาพ (cyber-physical systems) ใช้ได้กว้างขวางขึ้น ครอบคลุมเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น สมาร์ทกริด (smart grids) บ้าน สมาร์ท (smart homes) ขนส่งอัจฉริยะ (intelligent transportation) และเมืองสมาร์ท (smart cities)  เพราะแต่ละสิ่ง มีเอกลักษณ์ที่สามารถใช้ระบุตัวตน ผ่านระบบ คอมพิวเตอร์ที่ฝังอยู่ และมีโครงสร้างพื้นฐานภายใน ที่ติดต่อผ่าน อินเทอร์เน็ตได้
  • 5. สิ่งต่าง ๆ (Things)  "สิ่งต่าง ๆ" ในความหมายของ IoT อ้างถึงความหลากหลายของ อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์การตรวจสอบคลื่นหัวใจ Biochip ใน สัตว์เลี้ยง รถยนต์ที่มีอุปกรณ์เซ็นเซอร์ในตัว เครื่องมือวิเคราะห์ DNA ของสิ่งแวดล้อม/อาหาร/เชื้ อโรค อุปกรณ์ช่วยนักดับเพลิง ในการค้นหาและการช่วยเหลือ เป็นต้น  อุปกรณ์เหล่านี้ สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ด้วย ความช่วยเหลือของเทคโนโลยีที่มีอยู่ แล้วมีส่งผ่านข้อมูลกับ อุปกรณ์อื่น ๆ
  • 6. ประวัติศาสตร์ยุคต้น  แนวคิดของอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ เริ่มเป็นที่นิยมในปี ค.ศ. 1999 โดย Auto-ID Center ที่ MIT และในสิ่งพิมพ์การวิเคราะห์ ตลาด  คลื่นความถี่วิทยุในการระบุ (Radio-frequency identification: RFID) เป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ในยุคนั้น  ปัจจุบันนี้ นอกเหนือจากการใช้ RFID แล้ว การ tagging ยังสามารถ ทาได้โดยผ่านเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น near field communication, barcodes, QR codes และ digital watermarking
  • 7. การสนับสนุนของ IPv6  การจะบูรณาการกับอินเทอร์เน็ตได้นั้น อุปกรณ์ที่ใช้ ต้องมีที่อยู่ IP ซึ่งเป็นตัวระบุที่ไม่ซ้ากัน  เนื่องจากพื้นที่ที่จากัดของ IPv4 (4.3 พันล้านสิ่ง มีที่อยู่ไม่ซ้ากัน) ทาให้วัตถุใน IoT จาเป็นต้องใช้ IPv6 เพื่อรองรับพื้นที่ที่มีขนาด ใหญ่มาก  อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ จะเป็นไปได้โดยการสนับสนุนของ IPv6 และการทาให้ทั่วโลกมีการยอมรับมาตรฐาน IPv6 เพื่อ ความสาเร็จของ IoT ในอนาคต
  • 8. การใช้ประโยชน์ IoT  1. อุตสาหกรรมสื่อ (The Media Industries)  2. การตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Monitoring)  3. การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure Management)  4. การผลิต (Manufacturing)  5. การจัดการพลังงาน (Energy Management)  6. การแพทย์และระบบการดูแลสุขภาพ (Medical and Healthcare Systems)  7. อาคารและบ้านระบบอัตโนมัติ (Building and Home Automation)  8. การขนส่ง (Transportation)  9. การใช้งานกับสิ่งที่มีขนาดใหญ่ (Large Scale Deployments)
  • 9. 1. อุตสาหกรรมสื่อ  อุตสาหกรรมสื่อ ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ในสองลักษณะที่เชื่อมโยงกัน:  กาหนดเป้ าหมายผู้บริโภค (สาหรับการโฆษณาโดยนักการตลาด)  การดักจับข้อมูล  ดังนั้น อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ สร้างโอกาสในการวัด การเก็บ รวบรวม และการวิเคราะห์สถิติความหลากหลายของพฤติกรรม  ความสัมพันธ์ของข้อมูลนี้ สามารถปฏิวัติตลาดเป้ าหมาย ของ ผลิตภัณฑ์และบริการได้
  • 10. 1. อุตสาหกรรมสื่อ (ต่อ)  จากมุมมองของสื่อ ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) และ IoT ทางาน ร่วมกันได้ เพราะข้อมูลเป็นอนุพันธ์ที่สาคัญของการเชื่อมต่อ ระหว่างอุปกรณ์ และทาให้เกิดความชัดเจนในการกาหนด เป้ าหมาย  อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรม สื่อ บริษัทต่าง ๆ หรือรัฐบาล ซึ่งเป็นการเปิดยุคใหม่ของการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการแข่งขัน
  • 11. 2. การตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม  โปรแกรมตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อมของ IoT มักจะใช้เซ็นเซอร์ ในการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม เช่นการตรวจสอบอากาศ คุณภาพ น้า ชั้นบรรยากาศ สภาพดิน รวมถึงการตรวจสอบการ เคลื่อนไหวของสัตว์ป่ า และที่อยู่อาศัยของพวกมัน  การพัฒนาอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต รวมถึงโปรแกรม อื่น ๆ เช่นระบบเตือนภัยแผ่นดินไหว หรือสึนามิ สามารถ นามาใช้กับบริการฉุกเฉิน เพื่อให้การช่วยเหลือมีประสิทธิภาพ มากขึ้น
  • 12. 3. การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน  การตรวจสอบและการควบคุมการปฏิบัติงาน เป็นโปรแกรมที่ สาคัญของ IoT เกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานในเมืองและชนบท เช่น สะพาน รางรถไฟ และ กังหันลม  IoT สามารถนามาใช้สาหรับการตรวจสอบเหตุการณ์ใด ๆ หรือ การเปลี่ยนแปลงสภาพของโครงสร้าง ที่ช่วยเพิ่มความปลอดภัย และลดความเสี่ยง  แม้การจัดการของเสีย (waste management) ก็ได้รับประโยชน์ จากระบบอัตโนมัติ และเพิ่มประสิทธิภาพโดย IoT
  • 13. 4. การผลิต  ระบบอัจฉริยะของ IoT ทาให้การผลิตของผลิตภัณฑ์ใหม่ทาได้ อย่างรวดเร็ว เพื่อตอบสนองความต้องการสินค้า การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต และเครือข่ายห่วงโซ่อุปทาน โดยใช้ เครือข่ายเซ็นเซอร์ และระบบการควบคุมร่วมกัน  การวัด การควบคุมอัตโนมัติ การเพิ่มประสิทธิภาพของโรงงาน การจัดการด้านความปลอดภัย และการทางานอื่น ๆ เกิดได้จาก มีเครือข่ายเซ็นเซอร์จานวนมาก
  • 14. 5. การจัดการพลังงาน  เป็นที่คาดการณ์ว่า อุปกรณ์ IoT จะรวมอยู่ในทุกรูปแบบของ อุปกรณ์การบริโภคพลังงาน (สวิทช์, ปลั๊กไฟ, หลอดไฟ, โทรทัศน์ ฯลฯ ) และสามารถสื่อสารกับบริษัทจัดหาไฟฟ้ า เพื่อให้การผลิตกระแสไฟฟ้ าและการใช้พลังงาน มีประสิทธิภาพ ที่สมดุล  อุปกรณ์ดังกล่าว ยังทาให้ผู้ใช้ควบคุมอุปกรณ์ได้จากระยะไกล หรือจัดการจากส่วนกลางผ่านทางอินเตอร์เฟซที่ใช้ cloud
  • 15. 6. การแพทย์และระบบการดูแลสุขภาพ  อุปกรณ์ IoT สามารถใช้ในการตรวจสอบสุขภาพระยะไกล และ เป็นระบบแจ้งเหตุฉุกเฉิน  อุปกรณ์ตรวจสอบสุขภาพเหล่านี้ จะวัดความดันโลหิตและอัตรา การเต้นหัวใจ แล้วส่งการตรวจสอบไปยังอุปกรณ์ที่มี ความสามารถขั้นสูง เช่นเครื่องกระตุ้นหัวใจ หรือไปยัง เครื่องช่วยฟังที่ทันสมัย  แพทย์ยังสามารถตรวจสอบสุขภาพของผู้ป่ วย จาก smartphones ของพวกเขา หลังจากที่ผู้ป่ วยออกจากโรงพยาบาลไปแล้ว
  • 16. 7. อาคารและบ้านระบบอัตโนมัติ  อุปกรณ์ IoT สามารถใช้ในการตรวจสอบและควบคุม เครื่องจักรกล ระบบไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้ในอาคาร ประเภทต่างๆ (เช่น ในภาครัฐ เอกชน อุตสาหกรรม สถาบัน หรือที่อยู่อาศัย)  บ้านระบบอัตโนมัติ เช่นเดียวกับอาคารระบบอัตโนมัติอื่น ๆ มี การควบคุมแสง ความร้อน การระบายอากาศ เครื่องปรับอากาศ เครื่องใช้ไฟฟ้ า ระบบการสื่อสาร ความบันเทิง และอุปกรณ์รักษา ความปลอดภัย เพื่อความสะดวกสบาย ใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัย
  • 17. 8. การขนส่ง  การใช้งานของ IoT ขยายไปทุกด้านของระบบการขนส่ง เช่น ยานพาหนะ โครงสร้างพื้นฐาน คนขับรถ หรือผู้ใช้งาน  การทางานร่วมกันแบบพลวัตระหว่างองค์ประกอบเหล่านี้ ช่วย ในการสื่อสาร ภายในและระหว่างยานพาหนะ การควบคุม การจราจรแบบสมาร์ท ที่จอดรถสมาร์ท ระบบเก็บค่าผ่านทาง อิเล็กทรอนิกส์ การขนส่งและการจัดการยานพาหนะ การควบคุม รถ ความปลอดภัย รวมถึงการให้ความช่วยเหลือบนท้องถนน
  • 18. 9. การใช้กับสิ่งที่มีขนาดใหญ่  มีการวางแผน หรือมีการใช้งานของ IoT ต่อสิ่งที่มีขนาดใหญ่ อย่างต่อเนื่อง เพื่อการจัดการที่ดีของเมืองและระบบ  ยกตัวอย่างเช่น เมือง Songdo ในเกาหลีใต้ เป็นเมืองแรกที่เป็น เมืองสมาร์ทและมีอุปกรณ์ครบครัน เกือบทุกอย่างในเมืองนี้ มี การวางสายเชื่อมต่อ มีกระแสของข้อมูลที่ได้รับการตรวจสอบ และวิเคราะห์โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีการแทรกแซงจาก มนุษย์น้อยมากหรือแทบจะไม่มีเลย
  • 19. คาวิจารณ์และข้อถกเถียง  ในขณะที่เทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ เป็นขั้นตอนเพื่อ โลกที่ดีกว่า นักวิชาการและผู้สังเกตการณ์ทางสังคมหลายคน มี ข้อสงสัยเกี่ยวกับการปฏิวัติคอมพิวเตอร์นี้ คือ  ความเป็นส่วนตัว ความเป็นอิสระ และการควบคุม (Privacy, autonomy and control)  การรักษาความปลอดภัย (Security)  การออกแบบ (Design)  ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental impact)
  • 20. ความเป็นส่วนตัว ความเป็นอิสระ และการควบคุม  The American Civil Liberties Union (ACLU) แสดงความกังวล เกี่ยวกับความสามารถของ IoT ที่กัดกร่อนการควบคุมชีวิตของ ประชาชน โดยสหภาพเขียนว่า "ไม่มีทางที่จะคาดการณ์ได้ว่า อานาจอันยิ่งใหญ่ (ที่สะสมอยู่ในมือของบริษัท ที่มองหา ประโยชน์ทางการเงิน และรัฐบาลที่อยากควบคุมเรามากกว่าที่ เคยเป็น) จะใช้โอกาสของข้อมูลขนาดใหญ่และอินเทอร์เน็ตของ สิ่งต่าง ๆ ในการควบคุมชีวิตของพวกเรา ให้โปร่งใสมากขึ้น ในขณะที่บริษัทและองค์กรของรัฐบาล เป็นที่ทึบแสงสาหรับพวก เรามากกว่าเดิม "
  • 21. การรักษาความปลอดภัย  ความกังวลที่อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ได้รับการพัฒนาอย่าง รวดเร็ว โดยไม่ได้พิจารณาความเหมาะสม ในเรื่องการรักษา ความปลอดภัยอย่างลึกซึ้ ง อาจมีความจาเป็นในการเปลี่ยนแปลง กฎระเบียบขึ้นมาใหม่  ตามที่ BI (Business Insider) ทาการสารวจในช่วงไตรมาสสุดท้าย ของปี ค.ศ. 2014 มี 39% ของผู้ตอบแบบสอบถามกล่าวว่า การ รักษาความปลอดภัย เป็นความกังวลที่ใหญ่ที่สุด ในการใช้ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ
  • 22. การออกแบบ  ธรรมชาติของการพัฒนาการออกแบบ และการจัดการของ อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ เพื่อการใช้งานอย่างยั่งยืนและความ ปลอดภัย ต้องออกแบบโดยใช้ "การขยายขีดความสามารถแบบ อนาธิปไตย (anarchic scalability)"  การประยุกต์ใช้แนวคิดของการขยายขีดความสามารถแบบ อนาธิปไตย ทาให้ขยายตัวไปใช้กับระบบทางกายภาพ (การ ควบคุมวัตถุที่แท้จริงของโลก) โดยอาศัยระบบที่ออกแบบ เพื่อ การจัดการความไม่แน่นอนในอนาคต
  • 23. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัยต่างๆ ประกอบไปด้วยความ หลากหลายของโลหะหนัก โลหะหายาก และสารเคมีสังเคราะห์ที่ เป็นพิษสูง ทาให้เป็นการยากมาก ที่จะนากลับมาใช้ใหม่  มีสาเหตุมาจากแนวคิดของ IoT ในการเพิ่มอิเล็กโทรนิคไปยัง อุปกรณ์พื้นฐาน (เช่น สวิตช์ไฟธรรมดา ๆ) รวมถึงการเปลี่ยน ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมักจะเกิดจากเทคโนโลยีที่ล้าสมัย มากกว่าความล้มเหลวที่เกิดขึ้นจริงจากการใช้งาน
  • 24. สรุป  อินเตอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ (Internet of Things: IoT) กลายเป็น หัวข้อของการสนทนา ทั้งในและนอกสถานที่ทางาน  แนวคิดนี้ จะส่งผลกระทบต่อวิธีการที่เรามีชีวิตอยู่ และวิธีการที่ เราทางาน ในอนาคตอันใกล้นี้  สาหรับตอนนี้ สิ่งที่ดีที่สุดที่เราสามารถทาได้คือ การมีความรู้ เกี่ยวกับ IoT และศึกษาผลกระทบที่สามารถมองเห็นได้ ทั้งใน วิธีการที่เราทางาน และการดารงชีวิต
  • 25. The Internet of Things: Mapping the Value Beyond the Hype