SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
14 กุมภาพันธ์ 2561
Irma Becerra-Fernandez
and Rajiv Sabherwal.
M.E. Sharpe, Inc., 2010
Knowledge Management is defined as doing what is needed to get the most
out of knowledge resources.
เกริ่นนา
 การจัดการความรู้ (Knowledge management - KM) หมายถึง
การทาในสิ่งที่จาเป็น เพื่อให้ได้ประโยชน์มากที่สุดจากทรัพยากร
ทางความรู้ที่มีอยู่ (doing what is needed to get the most out of
knowledge resources)
 แม้ว่า KM โดยมากจะนาไปใช้ในระดับบุคคล แต่มีหลายองค์กรที่
ให้ความสนใจเช่นเดียวกัน
 KM ถูกมองว่าเป็นวินัยที่สาคัญยิ่ง ซึ่งส่งเสริม สร้าง แบ่งปัน และ
ใช้ในการยกระดับความรู้ขององค์กร
ความรู้คืออะไร?
 ความรู้ เป็นความเชื่อที่มีเหตุผล เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้น ๆ (justified beliefs about relationships
among concepts relevant to that particular area)
 สินทรัพย์ทางความรู้ (Knowledge Assets: Baldrige Criteria 2017-
2018) คือ แหล่งข้อมูลทางปัญญาที่สะสมขององค์กร เป็นความรู้ที่
องค์กรและพนักงานมีอยู่ในรูปของสารสนเทศ ความคิด การเรียนรู้
ความเข้าใจ ความจา ความเข้าใจลึกซึ้ ง ความรู้และทักษะด้านเทคนิค
และสมรรถนะ (Your organization’s accumulated intellectual
resources; the knowledge possessed by your organization and its
workforce in the form of information, ideas, learning, understanding,
memory, insights, cognitive and technical skills, and capabilities)
การจัดการความรู้
 การจัดการความรู้ ประกอบด้วยกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การสร้าง
การแสดง การจัดเก็บ และการเผยแพร่ความรู้ รวมถึงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งใช้เป็นเครื่องมือเพื่อให้กิจกรรม
เหล่านี้ สามารถทาได้อย่างมีประสิทธิผล
 องค์ประกอบสาคัญในการเรียนรู้ขององค์กรคือ การแบ่งปัน
ความรู้ ความรู้ที่แบ่งปันกันสามารถให้เกิดความร่วมมือ และเป็น
ตัวกระตุ้นสาหรับการพัฒนาความรู้ใหม่
การไขปัญหา KM
 การไขปัญหา KM (KM solutions) หมายถึง วิธีการทาให้มุมมอง
เฉพาะด้านของ KM (1. การค้นพบ 2. การดักจับ 3. การแบ่งปัน
4. การใช้ความรู้) ประสบความสาเร็จ
 การไขปัญหา KM ประกอบด้วย กระบวนการ KM และระบบ KM
(KM processes and KM systems)
1. การค้นพบความรู้
 การค้นพบความรู้ (Knowledge discovery) หมายถึง การพัฒนา
ความรู้ในคน (tacit) หรือ ความรู้ที่ชัดเจน (explicit) จากข้อมูล
และสารสนเทศ หรือจากการสังเคราะห์ความรู้เดิมที่มีอยู่
 การค้นพบความรู้ใหม่ที่ชัดเจน อาศัยกลไก การรวมกัน
(combination) ในขณะที่การค้นพบความรู้ใหม่ในคน อาศัยกลไก
การสังคม (socialization) เป็นส่วนมาก
2. การดักจับความรู้
 การดักจับความรู้ (Knowledge capture) หมายถึงกระบวนการ
ของการดึงออกมาของ ความรู้ที่ชัดเจน (explicit) หรือ ความรู้ที่
อยู่ในผู้คน (tacit) ที่มีอยู่ภายในองค์กร
 กระบวนการดักจับความรู้ ได้รับประโยชน์โดยตรงจาก
กระบวนการย่อยสองส่วนของ KM คือ การนาออก
(externalization) และ การนาเข้า (internalization)
 จากผลงานของ Nonaka การนาออก และการนาเข้า เป็นการดัก
จับความรู้ในคน และความรู้ที่ชัดเจน ตามลาดับ
3. การแบ่งปันความรู้
 การแบ่งปันความรู้ (Knowledge sharing) เป็นกระบวนการสื่อสาร
ความรู้ (ความรู้ในคนและความรู้ที่ชัดเจน) กับบุคคลอื่น
 การแบ่งปันความรู้ มี 3 ข้อที่ควรคานึงคือ ประการแรก การ
แบ่งปันความรู้ หมายถึงการถ่ายโอนความรู้ที่มีประสิทธิผล ผู้รับ
ทาความเข้าใจได้ และดาเนินการได้ ประการที่สอง สิ่งที่แบ่งปัน
คือความรู้ มากกว่าให้คาแนะนาตามความรู้ ประการที่สาม การ
แบ่งปันความรู้ อาจเกิดขึ้นทั้งบุคคล กลุ่ม หน่วยงาน หรือ
ระหว่างองค์กร
4. การใช้ความรู้
 การใช้ความรู้ (Knowledge application) มีผลโดยตรงต่อ ผลงาน
ขององค์กร (Organizational performance) ในการตัดสินใจและ
การดาเนินการ
 กระบวนการค้นพบ ดักจับ และแบ่งปันความรู้ที่ดียิ่งขึ้ น จะส่งผล
ให้ความรู้ที่นามาประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจและการปฏิบัติงาน
มีประสิทธิผลมากขึ้น
ระบบการจัดการความรู้
 ระบบการจัดการความรู้ (Knowledge management systems) คือ
การบูรณาการเทคโนโลยีและกลไกต่างๆ ที่พัฒนาขึ้นมา เพื่อ
สนับสนุนกระบวนการ 4 ประการของ KM
 ระบบ KM สามารถจาแนกได้เป็น 4 ประเภทคือ
 1. ระบบการค้นพบความรู้ (Knowledge discovery systems)
 2. ระบบการดักจับความรู้ (Knowledge capture systems)
 3. ระบบการแบ่งปันความรู้ (Knowledge sharing systems)
 4. ระบบการใช้ความรู้ (Knowledge application systems)
1. ระบบการค้นพบความรู้
 ระบบการค้นพบความรู้ (Knowledge discovery systems) สนับสนุน
กระบวนการการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ของ ความรู้ในคนหรือความรู้
ที่ชัดเจน จากข้อมูลและสารสนเทศ หรือจากการสังเคราะห์ความรู้
เดิมที่มีอยู่
 ระบบนี้ สนับสนุนสองกระบวนการย่อยของ KM ที่เกี่ยวข้องกับการ
ค้นพบความรู้คือ การรวมกัน (combination) ที่ทาให้สามารถค้นพบ
ความรู้ใหม่ที่ชัดเจน และ ทางสังคม (socialization) ที่ทาให้สามารถ
ค้นพบ ความรู้ใหม่ในคน
 ดังนั้น กลไกและเทคโนโลยี สนับสนุนระบบการค้นพบความรู้ โดย
การอานวยความสะดวกในเรื่อง การรวมกันและหรือทางสังคม
2. ระบบการดักจับความรู้
 ระบบการดักจับความรู้ (Knowledge capture systems) สนับสนุน
กระบวนการในการดึงข้อมูลความรู้ที่ชัดเจนหรือความรู้ที่อยู่
ภายในผู้คน สิ่งประดิษฐ์ หรือในหน่วยงานขององค์กร
 ระบบนี้ ช่วยในการจับความรู้ที่อยู่ภายในหรือภายนอกขอบเขต
ขององค์กร รวมถึงที่ปรึกษา คู่แข่ง ผู้ส่งมอบ และบุคลากรที่
ลาออกขององค์กร
 ระบบการดักจับความรู้อาศัยกลไกและเทคโนโลยี ที่สนับสนุน
การนาออก (externalization) และ การนาเข้า (internalization)
3. ระบบการแบ่งปันความรู้
 ระบบการแบ่งปันความรู้ (Knowledge sharing systems)
สนับสนุนกระบวนการที่ความรู้ที่ชัดเจนหรือความรู้ในคน สื่อสาร
กับบุคคลอื่น
 โดยการสนับสนุน การแลกเปลี่ยน (เช่น แบ่งปันความรู้ที่
ชัดเจน) และทางสังคม (ส่งเสริมการแบ่งปันความรู้ในคน)
 กลไกและเทคโนโลยีที่ถูกกล่าวถึง เป็นการสนับสนุน ทางสังคม
(socialization) ที่มีบทบาทสาคัญในระบบการแบ่งปันความรู้
4. ระบบการใช้ความรู้
 ระบบการใช้ความรู้ (Knowledge application systems) สนับสนุน
กระบวนการที่บุคคลใช้ความรู้ที่ได้รับจากบุคคลอื่น โดยไม่ได้แสวงหา
ความรู้หรือเรียนรู้จากความรู้นั้นมาอย่างแท้จริง
 กลไกและเทคโนโลยี สนับสนุนระบบการใช้ความรู้ โดยการอานวย
ความสะดวกในด้าน กิจวัตรประจาวัน (routines) และ วิธีการใช้งาน
(direction)
 กลไกการอานวยความสะดวก วิธีการใช้งาน รวมถึงความสัมพันธ์แบบ
ลาดับชั้นแบบดั้งเดิมในองค์กร โต๊ะช่วยเหลือ และศูนย์สนับสนุน
 ในทางกลับกัน กลไกการสนับสนุน กิจวัตรประจาวัน รวมถึงนโยบาย
องค์กร การปฏิบัติงาน ขั้นตอน กระบวนการขององค์กร และมาตรฐาน
คาแนะนาเรื่องกระบวนการและระบบ KM
 ประการแรก องค์กรต่างๆ ควรใช้กระบวนการและระบบ KM
แบบต่างๆ 4 ประเภท ผสมผสานกันไป
 แม้ว่ากระบวนการของ KM ที่แตกต่างกัน อาจเหมาะสมที่สุดใน
แง่ของกลยุทธ์ทางธุรกิจขององค์กรโดยเฉพาะ การเน้น KM แบบ
เดียว (และระบบ KM ที่เกี่ยวข้อง) อาจจะไม่เหมาะสม เนื่องจาก
KM ทุกแบบ ต่างส่งเสริมวัตถุประสงค์กันและกัน
คาแนะนาเรื่องกระบวนการและระบบ KM (ต่อ)
 ประการที่สอง กระบวนการ KM แต่ละรายการ จะได้รับ
ประโยชน์จากกระบวนการย่อยสองอย่าง
 กระบวนการย่อยมีการเสริมกันและกัน การใช้ขึ้ นอยู่กับ
สถานการณ์ ตัวอย่างเช่น การแบ่งปันความรู้อาจเกิดขึ้นได้ผ่าน
ทางสังคม หรือการแลกเปลี่ยน
 ถ้าการแบ่งปัน ความรู้ในคน ทางสังคมจะเป็นไปอย่างเหมาะสม
ในขณะที่การแบ่งปัน ความรู้ที่ชัดเจน การแลกเปลี่ยนจะ
เหมาะสม
 โดยรวม ต้องมีการพัฒนากระบวนการย่อยทั้ง 7 ในกลุ่ม KM
เพื่อให้สามารถทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คาแนะนาเรื่องกระบวนการและระบบ KM (ต่อ)
 ประการที่สาม กระบวนการย่อยของ KM แต่ละกระบวนการ จะ
ขึ้นอยู่กับกลไกและเทคโนโลยีต่าง ๆ
 นอกจากนี้ กลไกเดียวกัน สามารถใช้เพื่อสนับสนุนกระบวนการ
ย่อยต่างๆ กันได้
 การพัฒนาและการได้มาของกลไกและเทคโนโลยีเหล่านี้ ควรทา
ตามขั้นตอนของ KM ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ขององค์กร
คาแนะนาเรื่องกระบวนการและระบบ KM (ต่อ)
 ประการสุดท้าย กระบวนการและระบบ KM ควรได้รับการ
พิจารณาร่วมกันในองค์กร เพื่อให้องค์กรสร้างกระบวนการและ
ระบบ KM ที่เสริมซึ่งกันและกัน
 ซึ่งต้องการการมีส่วนร่วมจากผู้บริหารระดับสูง ในการส่งเสริม
กลยุทธ์ KM ในระยะยาวสาหรับองค์กร ความเข้าใจเกี่ยวกับ
พื้นฐานการทางานร่วมกัน (กลไกและเทคโนโลยี ที่สนับสนุน
ระบบและกระบวนการ KM) และความสัมพันธ์ระหว่างระบบ
และกระบวนการต่างๆ ของ KM ที่มีในองค์กร
ผลกระทบจากการจัดการความรู้
 ผลกระทบโดยตรง จากการจัดการความรู้ เกิดขึ้นเมื่อมีการใช้
ความรู้ในการสร้างผลิตภัณฑ์ที่สร้างนวัตกรรม ซึ่งสร้างรายได้
และผลกาไร หรือเมื่อกลยุทธ์การจัดการความรู้ ที่มีความ
สอดคล้องกับกลยุทธ์ทางธุรกิจ
 ผลกระทบทางอ้อม ของการจัดการความรู้ เกี่ยวกับความ
ได้เปรียบในการแข่งขัน อาจทาให้องค์กรรู้มากกว่าคู่แข่งเกี่ยวกับ
บางสิ่งบางอย่าง ในขณะที่คู่แข่งอาจจะต้องใช้เวลามาก ในการมี
ความรู้แบบเดียวกัน
Brian Tracy
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes

More Related Content

What's hot

องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation
ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation  ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation
ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation maruay songtanin
 
Km 4.0 beyond knowledge
Km 4.0  beyond knowledgeKm 4.0  beyond knowledge
Km 4.0 beyond knowledgePattie Pattie
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...นิพ พิทา
 
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum  ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum maruay songtanin
 
ผู้นำเชิงบวก Positive leader
 ผู้นำเชิงบวก Positive leader ผู้นำเชิงบวก Positive leader
ผู้นำเชิงบวก Positive leadermaruay songtanin
 
มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
 มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้  มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้ Pattie Pattie
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้DrDanai Thienphut
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organizationwiraja
 
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
 คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentarymaruay songtanin
 
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder maruay songtanin
 

What's hot (20)

Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation
ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation  ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation
ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation
 
Km 4.0 beyond knowledge
Km 4.0  beyond knowledgeKm 4.0  beyond knowledge
Km 4.0 beyond knowledge
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum  ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
 
ผู้นำเชิงบวก Positive leader
 ผู้นำเชิงบวก Positive leader ผู้นำเชิงบวก Positive leader
ผู้นำเชิงบวก Positive leader
 
Present n
Present nPresent n
Present n
 
มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
 มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้  มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 
Km cream
Km creamKm cream
Km cream
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
(Organization)
(Organization)(Organization)
(Organization)
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
 คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
 
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
 
Mis
MisMis
Mis
 

Similar to กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes

การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
Tim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilityTim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilitypantapong
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้Utai Sukviwatsirikul
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาSani Satjachaliao
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824pantapong
 
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Somsiri Rattanarat
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 

Similar to กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes (20)

การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Tim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilityTim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capability
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
K M Model
K M  ModelK M  Model
K M Model
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
 
Basic km
Basic kmBasic km
Basic km
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
แนะแนว
แนะแนวแนะแนว
แนะแนว
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
Handout1
Handout1Handout1
Handout1
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
 
Pattana sil
Pattana silPattana sil
Pattana sil
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824
 
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
1
11
1
 

More from maruay songtanin

200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 14 กุมภาพันธ์ 2561
  • 2. Irma Becerra-Fernandez and Rajiv Sabherwal. M.E. Sharpe, Inc., 2010 Knowledge Management is defined as doing what is needed to get the most out of knowledge resources.
  • 3. เกริ่นนา  การจัดการความรู้ (Knowledge management - KM) หมายถึง การทาในสิ่งที่จาเป็น เพื่อให้ได้ประโยชน์มากที่สุดจากทรัพยากร ทางความรู้ที่มีอยู่ (doing what is needed to get the most out of knowledge resources)  แม้ว่า KM โดยมากจะนาไปใช้ในระดับบุคคล แต่มีหลายองค์กรที่ ให้ความสนใจเช่นเดียวกัน  KM ถูกมองว่าเป็นวินัยที่สาคัญยิ่ง ซึ่งส่งเสริม สร้าง แบ่งปัน และ ใช้ในการยกระดับความรู้ขององค์กร
  • 4. ความรู้คืออะไร?  ความรู้ เป็นความเชื่อที่มีเหตุผล เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้น ๆ (justified beliefs about relationships among concepts relevant to that particular area)  สินทรัพย์ทางความรู้ (Knowledge Assets: Baldrige Criteria 2017- 2018) คือ แหล่งข้อมูลทางปัญญาที่สะสมขององค์กร เป็นความรู้ที่ องค์กรและพนักงานมีอยู่ในรูปของสารสนเทศ ความคิด การเรียนรู้ ความเข้าใจ ความจา ความเข้าใจลึกซึ้ ง ความรู้และทักษะด้านเทคนิค และสมรรถนะ (Your organization’s accumulated intellectual resources; the knowledge possessed by your organization and its workforce in the form of information, ideas, learning, understanding, memory, insights, cognitive and technical skills, and capabilities)
  • 5. การจัดการความรู้  การจัดการความรู้ ประกอบด้วยกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การสร้าง การแสดง การจัดเก็บ และการเผยแพร่ความรู้ รวมถึงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งใช้เป็นเครื่องมือเพื่อให้กิจกรรม เหล่านี้ สามารถทาได้อย่างมีประสิทธิผล  องค์ประกอบสาคัญในการเรียนรู้ขององค์กรคือ การแบ่งปัน ความรู้ ความรู้ที่แบ่งปันกันสามารถให้เกิดความร่วมมือ และเป็น ตัวกระตุ้นสาหรับการพัฒนาความรู้ใหม่
  • 6. การไขปัญหา KM  การไขปัญหา KM (KM solutions) หมายถึง วิธีการทาให้มุมมอง เฉพาะด้านของ KM (1. การค้นพบ 2. การดักจับ 3. การแบ่งปัน 4. การใช้ความรู้) ประสบความสาเร็จ  การไขปัญหา KM ประกอบด้วย กระบวนการ KM และระบบ KM (KM processes and KM systems)
  • 7.
  • 8. 1. การค้นพบความรู้  การค้นพบความรู้ (Knowledge discovery) หมายถึง การพัฒนา ความรู้ในคน (tacit) หรือ ความรู้ที่ชัดเจน (explicit) จากข้อมูล และสารสนเทศ หรือจากการสังเคราะห์ความรู้เดิมที่มีอยู่  การค้นพบความรู้ใหม่ที่ชัดเจน อาศัยกลไก การรวมกัน (combination) ในขณะที่การค้นพบความรู้ใหม่ในคน อาศัยกลไก การสังคม (socialization) เป็นส่วนมาก
  • 9. 2. การดักจับความรู้  การดักจับความรู้ (Knowledge capture) หมายถึงกระบวนการ ของการดึงออกมาของ ความรู้ที่ชัดเจน (explicit) หรือ ความรู้ที่ อยู่ในผู้คน (tacit) ที่มีอยู่ภายในองค์กร  กระบวนการดักจับความรู้ ได้รับประโยชน์โดยตรงจาก กระบวนการย่อยสองส่วนของ KM คือ การนาออก (externalization) และ การนาเข้า (internalization)  จากผลงานของ Nonaka การนาออก และการนาเข้า เป็นการดัก จับความรู้ในคน และความรู้ที่ชัดเจน ตามลาดับ
  • 10.
  • 11. 3. การแบ่งปันความรู้  การแบ่งปันความรู้ (Knowledge sharing) เป็นกระบวนการสื่อสาร ความรู้ (ความรู้ในคนและความรู้ที่ชัดเจน) กับบุคคลอื่น  การแบ่งปันความรู้ มี 3 ข้อที่ควรคานึงคือ ประการแรก การ แบ่งปันความรู้ หมายถึงการถ่ายโอนความรู้ที่มีประสิทธิผล ผู้รับ ทาความเข้าใจได้ และดาเนินการได้ ประการที่สอง สิ่งที่แบ่งปัน คือความรู้ มากกว่าให้คาแนะนาตามความรู้ ประการที่สาม การ แบ่งปันความรู้ อาจเกิดขึ้นทั้งบุคคล กลุ่ม หน่วยงาน หรือ ระหว่างองค์กร
  • 12. 4. การใช้ความรู้  การใช้ความรู้ (Knowledge application) มีผลโดยตรงต่อ ผลงาน ขององค์กร (Organizational performance) ในการตัดสินใจและ การดาเนินการ  กระบวนการค้นพบ ดักจับ และแบ่งปันความรู้ที่ดียิ่งขึ้ น จะส่งผล ให้ความรู้ที่นามาประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจและการปฏิบัติงาน มีประสิทธิผลมากขึ้น
  • 13. ระบบการจัดการความรู้  ระบบการจัดการความรู้ (Knowledge management systems) คือ การบูรณาการเทคโนโลยีและกลไกต่างๆ ที่พัฒนาขึ้นมา เพื่อ สนับสนุนกระบวนการ 4 ประการของ KM  ระบบ KM สามารถจาแนกได้เป็น 4 ประเภทคือ  1. ระบบการค้นพบความรู้ (Knowledge discovery systems)  2. ระบบการดักจับความรู้ (Knowledge capture systems)  3. ระบบการแบ่งปันความรู้ (Knowledge sharing systems)  4. ระบบการใช้ความรู้ (Knowledge application systems)
  • 14.
  • 15. 1. ระบบการค้นพบความรู้  ระบบการค้นพบความรู้ (Knowledge discovery systems) สนับสนุน กระบวนการการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ของ ความรู้ในคนหรือความรู้ ที่ชัดเจน จากข้อมูลและสารสนเทศ หรือจากการสังเคราะห์ความรู้ เดิมที่มีอยู่  ระบบนี้ สนับสนุนสองกระบวนการย่อยของ KM ที่เกี่ยวข้องกับการ ค้นพบความรู้คือ การรวมกัน (combination) ที่ทาให้สามารถค้นพบ ความรู้ใหม่ที่ชัดเจน และ ทางสังคม (socialization) ที่ทาให้สามารถ ค้นพบ ความรู้ใหม่ในคน  ดังนั้น กลไกและเทคโนโลยี สนับสนุนระบบการค้นพบความรู้ โดย การอานวยความสะดวกในเรื่อง การรวมกันและหรือทางสังคม
  • 16. 2. ระบบการดักจับความรู้  ระบบการดักจับความรู้ (Knowledge capture systems) สนับสนุน กระบวนการในการดึงข้อมูลความรู้ที่ชัดเจนหรือความรู้ที่อยู่ ภายในผู้คน สิ่งประดิษฐ์ หรือในหน่วยงานขององค์กร  ระบบนี้ ช่วยในการจับความรู้ที่อยู่ภายในหรือภายนอกขอบเขต ขององค์กร รวมถึงที่ปรึกษา คู่แข่ง ผู้ส่งมอบ และบุคลากรที่ ลาออกขององค์กร  ระบบการดักจับความรู้อาศัยกลไกและเทคโนโลยี ที่สนับสนุน การนาออก (externalization) และ การนาเข้า (internalization)
  • 17. 3. ระบบการแบ่งปันความรู้  ระบบการแบ่งปันความรู้ (Knowledge sharing systems) สนับสนุนกระบวนการที่ความรู้ที่ชัดเจนหรือความรู้ในคน สื่อสาร กับบุคคลอื่น  โดยการสนับสนุน การแลกเปลี่ยน (เช่น แบ่งปันความรู้ที่ ชัดเจน) และทางสังคม (ส่งเสริมการแบ่งปันความรู้ในคน)  กลไกและเทคโนโลยีที่ถูกกล่าวถึง เป็นการสนับสนุน ทางสังคม (socialization) ที่มีบทบาทสาคัญในระบบการแบ่งปันความรู้
  • 18. 4. ระบบการใช้ความรู้  ระบบการใช้ความรู้ (Knowledge application systems) สนับสนุน กระบวนการที่บุคคลใช้ความรู้ที่ได้รับจากบุคคลอื่น โดยไม่ได้แสวงหา ความรู้หรือเรียนรู้จากความรู้นั้นมาอย่างแท้จริง  กลไกและเทคโนโลยี สนับสนุนระบบการใช้ความรู้ โดยการอานวย ความสะดวกในด้าน กิจวัตรประจาวัน (routines) และ วิธีการใช้งาน (direction)  กลไกการอานวยความสะดวก วิธีการใช้งาน รวมถึงความสัมพันธ์แบบ ลาดับชั้นแบบดั้งเดิมในองค์กร โต๊ะช่วยเหลือ และศูนย์สนับสนุน  ในทางกลับกัน กลไกการสนับสนุน กิจวัตรประจาวัน รวมถึงนโยบาย องค์กร การปฏิบัติงาน ขั้นตอน กระบวนการขององค์กร และมาตรฐาน
  • 19.
  • 20. คาแนะนาเรื่องกระบวนการและระบบ KM  ประการแรก องค์กรต่างๆ ควรใช้กระบวนการและระบบ KM แบบต่างๆ 4 ประเภท ผสมผสานกันไป  แม้ว่ากระบวนการของ KM ที่แตกต่างกัน อาจเหมาะสมที่สุดใน แง่ของกลยุทธ์ทางธุรกิจขององค์กรโดยเฉพาะ การเน้น KM แบบ เดียว (และระบบ KM ที่เกี่ยวข้อง) อาจจะไม่เหมาะสม เนื่องจาก KM ทุกแบบ ต่างส่งเสริมวัตถุประสงค์กันและกัน
  • 21. คาแนะนาเรื่องกระบวนการและระบบ KM (ต่อ)  ประการที่สอง กระบวนการ KM แต่ละรายการ จะได้รับ ประโยชน์จากกระบวนการย่อยสองอย่าง  กระบวนการย่อยมีการเสริมกันและกัน การใช้ขึ้ นอยู่กับ สถานการณ์ ตัวอย่างเช่น การแบ่งปันความรู้อาจเกิดขึ้นได้ผ่าน ทางสังคม หรือการแลกเปลี่ยน  ถ้าการแบ่งปัน ความรู้ในคน ทางสังคมจะเป็นไปอย่างเหมาะสม ในขณะที่การแบ่งปัน ความรู้ที่ชัดเจน การแลกเปลี่ยนจะ เหมาะสม  โดยรวม ต้องมีการพัฒนากระบวนการย่อยทั้ง 7 ในกลุ่ม KM เพื่อให้สามารถทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 22. คาแนะนาเรื่องกระบวนการและระบบ KM (ต่อ)  ประการที่สาม กระบวนการย่อยของ KM แต่ละกระบวนการ จะ ขึ้นอยู่กับกลไกและเทคโนโลยีต่าง ๆ  นอกจากนี้ กลไกเดียวกัน สามารถใช้เพื่อสนับสนุนกระบวนการ ย่อยต่างๆ กันได้  การพัฒนาและการได้มาของกลไกและเทคโนโลยีเหล่านี้ ควรทา ตามขั้นตอนของ KM ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ขององค์กร
  • 23. คาแนะนาเรื่องกระบวนการและระบบ KM (ต่อ)  ประการสุดท้าย กระบวนการและระบบ KM ควรได้รับการ พิจารณาร่วมกันในองค์กร เพื่อให้องค์กรสร้างกระบวนการและ ระบบ KM ที่เสริมซึ่งกันและกัน  ซึ่งต้องการการมีส่วนร่วมจากผู้บริหารระดับสูง ในการส่งเสริม กลยุทธ์ KM ในระยะยาวสาหรับองค์กร ความเข้าใจเกี่ยวกับ พื้นฐานการทางานร่วมกัน (กลไกและเทคโนโลยี ที่สนับสนุน ระบบและกระบวนการ KM) และความสัมพันธ์ระหว่างระบบ และกระบวนการต่างๆ ของ KM ที่มีในองค์กร
  • 24. ผลกระทบจากการจัดการความรู้  ผลกระทบโดยตรง จากการจัดการความรู้ เกิดขึ้นเมื่อมีการใช้ ความรู้ในการสร้างผลิตภัณฑ์ที่สร้างนวัตกรรม ซึ่งสร้างรายได้ และผลกาไร หรือเมื่อกลยุทธ์การจัดการความรู้ ที่มีความ สอดคล้องกับกลยุทธ์ทางธุรกิจ  ผลกระทบทางอ้อม ของการจัดการความรู้ เกี่ยวกับความ ได้เปรียบในการแข่งขัน อาจทาให้องค์กรรู้มากกว่าคู่แข่งเกี่ยวกับ บางสิ่งบางอย่าง ในขณะที่คู่แข่งอาจจะต้องใช้เวลามาก ในการมี ความรู้แบบเดียวกัน