Ce diaporama a bien été signalé.
Le téléchargement de votre SlideShare est en cours. ×

Maruay 17th ha forum

Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Prochain SlideShare
Km 2.0
Km 2.0
Chargement dans…3
×

Consultez-les par la suite

1 sur 59 Publicité

Plus De Contenu Connexe

Diaporamas pour vous (20)

Les utilisateurs ont également aimé (20)

Publicité

Similaire à Maruay 17th ha forum (20)

Plus par maruay songtanin (20)

Publicité

Maruay 17th ha forum

  1. 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@yahoo.com 9 มีนาคม 2559
  2. 2. Know Think Do Share Go To 1 2 3 4 Sensory: eyes, ears, nose, tongue, body (mind?) Deeply, broadly, furtherly Actions, trial & errors, AAR Audiences, places, timely
  3. 3. เกณฑ์ TQA 2559-2560 ถามว่า  4.2ก(1) การจัดการความรู้ (Knowledge Management) องค์กรมี วิธีการอย่างไรในการจัดการความรู้ขององค์กร  รวบรวมและถ่ายทอดความรู้ของบุคลากร  ผสาน/หาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ (Big Data) เพื่อสร้างความรู้ใหม่  ถ่ายทอดความรู้ระหว่างองค์กรกับลูกค้า ผู้ส่งมอบ พันธมิตร และผู้ให้ความร่วมมือ  รวบรวมและถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการสร้างนวัตกรรมและกระบวนการ วางแผนเชิงกลยุทธ์  4.2ก(2) การเรียนรู้ระดับองค์กร (Organizational Learning) องค์กรมี วิธีการอย่างไรในการใช้องค์ความรู้และทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้การ เรียนรู้ฝังลึกลงไปในวิถีการปฏิบัติงานขององค์กร
  4. 4. ข้อสังเกต การจัดการความรู้  ต้องมุ่งเน้นที่ความรู้ที่บุคลากรต้องใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อการ ปรับปรุง กระบวนการ ผลิตภัณฑ์ และบริการ (processes, products, and services)  และใช้ นวัตกรรม (innovation) เพื่อเพิ่ม คุณค่า (value) ให้แก่ ลูกค้าและองค์กร
  5. 5. การเรียนรู้  หมายถึง ความรู้หรือทักษะใหม่ ที่ได้รับจากการประเมิน การศึกษา ประสบการณ์ และนวัตกรรม  1.การเรียนรู้ระดับบุคคล ได้มาจากการศึกษา การฝึกอบรม และ โอกาสในการพัฒนาเพื่อความเจริญก้าวหน้าของแต่ละบุคคล  2.การเรียนรู้ระดับองค์กร ได้มาจากการวิจัย วงจรการประเมิน และการปรับปรุง (PDCA) ความคิดและมุมมองจากบุคลากรและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best practice) และ การจัดระดับเทียบเคียง (benchmarking)
  6. 6. ข้อสังเกต การเรียนรู้ระดับองค์กร  จากการทา KM ทาให้องค์กรได้ประโยชน์จากสินทรัพย์ทาง ความรู้ของ บุคลากร ลูกค้า ผู้ส่งมอบ ผู้ให้ความร่วมมือ และ พันธมิตร ซึ่งร่วมกันขับเคลื่อนให้เกิด การเรียนรู้ระดับองค์กร (Organizational Learning) และ การสร้างนวัตกรรม (innovation)  การจัดการความรู้ เป็นตัวผลักดันให้เกิด การเรียนรู้ขององค์กร
  7. 7. การสร้างนวัตกรรม  หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญเพื่อปรับปรุงผลิตภัณฑ์ บริการ แผนงาน กระบวนการ การปฏิบัติการ และรูปแบบทาง ธุรกิจขององค์กร เพื่อสร้างคุณค่าใหม่ให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  จาเป็นต้องมีสภาพแวดล้อมที่เกื้ อหนุน ในการระบุ โอกาสเชิงกล ยุทธ์ (strategic opportunities) และ ความกล้าเสี่ยงอย่างฉลาด (intelligent risks) ที่เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการเรียนรู้ของ องค์กร รวมทั้งบูรณาการนวัตกรรมเข้าไว้ในการปฏิบัติงาน ประจาวัน
  8. 8. Learn how to learn (Personal Learning) Learn how to share (Knowledge Management: KM) Learn how to connect (Community of Practice: CoP) Learn how to innovate (Innovation) Organizational Learning (Learning Organization)
  9. 9. Goals Advanced economic country Societal well-being Societal contributions (environment, social, and economy) Competitive advantages Improved processes, capabilities, and results Workforce capability Knowledge, skills, abilities, and competencies Country level Societal level Organizational Level Personal Level
  10. 10. - Henry Ford
  11. 11.  การเรียนรู้ หมายถึง ความรู้หรือทักษะใหม่ ที่ได้รับจากการ ประเมิน การศึกษา ประสบการณ์ และนวัตกรรม  การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการของการดักจับ การ พัฒนา การแบ่งปัน และการใช้ความรู้ขององค์กรได้อย่างมี ประสิทธิผล  การสร้างนวัตกรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญเพื่อ ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ บริการ แผนงาน กระบวนการ การปฏิบัติการ และรูปแบบทางธุรกิจขององค์กร เพื่อสร้างคุณค่าใหม่ให้แก่ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย
  12. 12. การจัดการความรู้แบบเก่า ไม่สนใจอะไร ขอเพียง 1. เขียนความรู้ของคุณ ลงในฐานข้อมูล 2. มีรายละเอียดที่เพียงพอ 3. อาจจะมีใครบางคนใช้ความรู้ของคุณสักวัน หรืออาจจะไม่มี ... 4. และ ไม่ควรใช้เวลามากเกินไป เกี่ยวกับเรื่องนี้ !
  13. 13. การจัดการความรู้แบบเก่า ไม่ได้ผลเพราะ  ... กาหนดความรู้เหมือนเป็นสินค้า ที่ถ่ายโอนมาจากศูนย์กลาง  ... เรียกร้องการแบ่งปันความรู้ โดยไม่มีผู้ชม  ... ต้องการเพียงที่จะจัดการความรู้
  14. 14. การแบ่งปันความรู้ เราทุกคนชอบที่จะแบ่งปันความรู้ ... แต่  ฉันไม่ทราบว่ามีใครสักกี่คน ที่ต้องการความรู้ของฉัน  ฉันไม่ทราบว่ามีใครสักกี่คน ที่จะใช้ความรู้ของฉัน  และฉันอยากจะแบ่งปัน สิ่งที่สาคัญจริงๆ
  15. 15. การจัดการความรู้ (KM)  การจัดการความรู้ (KM) เป็นกระบวนการของการดักจับ การ พัฒนา การแบ่งปัน และการใช้ความรู้ขององค์กรอย่างมี ประสิทธิผล (the process of capturing, developing, sharing, and effectively using organizational knowledge)
  16. 16. มิติของการจัดการความรู้ (KM Dimensions)  มีกรอบหนึ่ง เสนอให้จัดหมวดหมู่ของความรู้เป็น ความรู้ในตน (tacit knowledge) และ ความรู้ที่ชัดเจน (explicit knowledge)  ความรู้ในตน (tacit knowledge) แสดงให้เห็นถึงความรู้ที่บุคคลมี แต่อาจจะไม่ตระหนักถึง เช่น วิธีการเฉพาะที่ทาให้เขาหรือเธอ ทางานสาเร็จ  ความรู้ที่ชัดเจน (explicit knowledge) เป็นความรู้ที่เห็นได้ชัดเจน แสดงให้เห็นถึงความรู้ที่แต่ละคนมี ในรูปแบบที่สามารถสื่อสาร กับคนอื่น ๆ ได้
  17. 17. Codified. Merely Information? Information in Context. Only Personal?
  18. 18. รูปแบบของ SECI (SECI Model)  Ikujiro Nonaka เสนอรูปแบบ SECI คือ Socialization, Externalization, Combination, Internalization ที่พิจารณาจาก ปฏิสัมพันธ์ของกระบวนการ ความรู้ในตน (tacit knowledge) และ ความรู้ที่ชัดเจน (explicit knowledge)  ในรูปแบบนี้ ความรู้ในตน (tacit knowledge) จะถูก สกัด (extracted) กลายเป็น ความรู้ที่ชัดเจน (explicit knowledge) และจะ ถูกฝังกลับ (re-internalized) ให้กลายเป็น ความรู้ในตน (tacit knowledge) ของผู้อื่นต่อไปอีก ตามวงจรรูปก้นหอย
  19. 19. การแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing)  การแบ่งปันความรู้ ยังคงเป็นประเด็นที่ท้าทายสาหรับการจัดการ ความรู้  อุปสรรคอาจรวมถึงปัญหาเรื่องเวลา สาหรับการทางานความรู้ ระดับของความไว้วางใจ ขาดการสนับสนุนของเทคโนโลยีที่มี ประสิทธิผล และวัฒนธรรม
  20. 20. แนวโน้มของการจัดการความรู้ (KM Trends)  หนึ่งในแนวโน้มที่สาคัญที่สุด ในเทคโนโลยีการจัดการความรู้ คือ การนามาตรฐานอินเทอร์เน็ตมาใช้ เช่น HTML, HTTP, และ XML  นอกจากนี้ ระบบเปิดและเครื่องมือฟรีสาหรับการสร้างบล็อก และวิกิในขณะนี้ ช่วยให้การใช้ในเชิงพาณิชย์มีค่าใช้จ่ายน้อย หรือไม่มีเลย
  21. 21. องค์กร 2.0 (Enterprise 2.0)  หลังจากการแนะนาของ Web 2.0 มีบางคนจึงมีการพูดคุย เกี่ยวกับ "องค์กร 2.0" (Enterprise 2.0) ที่ดาเนินการบน "แพลตฟอร์มซอฟต์แวร์สังคม" (social software platforms)  เมื่อมี "องค์กร 2.0" เริ่มมีผู้คนถามว่า ทาไมไม่มี KM 2.0 บ้าง  KM 2.0 จึงเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 2005 และค่อยๆแพร่กระจาย นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
  22. 22. KM และ E2.0 มีอะไรที่เหมือนกัน  เกี่ยวกับการสื่อสาร (They’re about communication)  ได้ประโยชน์จากการทางานร่วมกัน (They benefit from collaboration)  สามารถสืบค้นได้ (They depend upon findability)  พยายามนาความรู้ไปสู่การปฏิบัติได้ (They seek to make knowledge actionable)  ล้มเหลวถ้าไม่เปลี่ยนวัฒนธรรม! (They fail without a dramatic Cultural Change!)
  23. 23. เครื่องมือสื่อสังคม  มีคนกล่าวว่า KM 2.0 เป็นการ นาเครื่องมือสื่อสังคม (E 2.0) เพื่อปรับปรุงการเชื่อมต่อ สร้าง ความสัมพันธ์และความไว้วางใจ ที่มีผลในการสื่อสารและในการ ถ่ายทอดความรู้ที่ดีขึ้น
  24. 24. อะไรคือ KM 3.0 (What is Knowledge Management 3.0?)  การรวบรวมและการแบ่งปันความรู้กับคนอื่น ๆ ยังคงเป็นสิ่ง สาคัญ  แต่สิ่งที่คุณแบ่งปันกับทีมงานของคุณ ไม่จาเป็นเช่นเดียวกับที่ แบ่งปันในแผนก หรือในองค์กรของคุณ และ  ไม่จาเป็นต้องเก็บรวบรวมความรู้ ถ้าไม่ได้ใช้ร่วมกัน  ไม่จาเป็นต้องแบ่งปันความรู้ ถ้าไม่ได้ใช้ประโยชน์
  25. 25. Evolution and Development of Knowledge Management: KM 1.0 KM 2.0 KM 3.0 techno-centric people-centric productivity-centric command and control “KM is extra work” Social “KM is part of my work” Practical & Individual “KM is helping me do my work” KM 1: Collecting KM 2: Sharing KM 3: Using KM 2.0 focused on sharing knowledge using web- enabled and social media tools. KM 1.0 focused on collecting knowledge "before it walked out the door". KM 3.0 focus on using existing knowledge to help people get their job done.
  26. 26. นิยามที่ใช้อ้างอิงบ่อย  "ข้อมูลขนาดใหญ่" หมายถึงชุดข้อมูลที่มีขนาดเกินกว่า ความสามารถของซอฟต์แวร์ฐานข้อมูลทั่วไปที่จะ บันทึก จัดเก็บ จัดการ และวิเคราะห์ (McKinsey Global Institute)  ข้อมูลขนาดใหญ่ คือสินทรัพย์ทางสารสนเทศที่มีปริมาณสูง ความเร็วสูง และความหลากหลายสูง ต้องอาศัยค่าใช้จ่ายที่มี ประสิทธิภาพและนวัตกรรมรูปแบบใหม่ของการประมวลผล ข้อมูล เพื่อความเข้าใจที่ดีขึ้น และใช้ในการตัดสินใจ (Gartner. IT Glossary. 2013)
  27. 27. ลักษณะของข้อมูลขนาดใหญ่  ในการอภิปรายของ ข้อมูลขนาดใหญ่ มักมีการอ้างอิงถึง "3 Vs" คือ ปริมาณ (Volume) ความเร็ว (Velocity) และลักษณะความ หลากหลาย (Variety) ของข้อมูลขนาดใหญ่  พูดง่ายๆ คือ ปริมาณ ความเร็ว และ ความหลากหลาย เป็น ลักษณะที่โดดเด่นที่สุดของข้อมูลขนาดใหญ่ ต่างกับวิธีการแบบ ดั้งเดิมที่ใช้ในการบันทึก จัดเก็บ จัดการ และวิเคราะห์ข้อมูล
  28. 28. ความหลากหลาย  ข้อมูลขนาดใหญ่ เป็นการรวมของข้อมูลที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล ของ ข้อมูลที่มีโครงสร้างแบบดั้งเดิม (structured databases) และข้อมูลใหม่ที่ทีที่มาจากแหล่ง ข้อมูลแบบที่ไม่มีโครงสร้าง (unstructured data)  ทุกวันนี้ กว่า 95% ของข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่ทั่วโลก คาดว่าจะเป็น ข้อมูลแบบที่ไม่มีโครงสร้าง (เช่น Facebook, Twitter, Instagram และ web log files)
  29. 29. ความเร็ว  จานวนที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วของข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้าง มา จากตัวเลขของกระแสการเติบโตแบบก้าวกระโดด ผ่านทาง อินเทอร์เน็ตอย่างต่อเนื่อง  ความเร็วของข้อมูลเหล่านี้ จะต้องได้รับการจัดเก็บและวิเคราะห์ ด้วยลักษณะที่ถือว่า เป็นความเร็วของข้อมูลขนาดใหญ่
  30. 30. อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ (Internet of Things: IoT)  คือเครือข่ายของวัตถุทางกายภาพ (อุปกรณ์ ยานพาหนะ อาคาร และอื่น ๆ) ที่มีการฝังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซอฟแวร์ เซ็นเซอร์ และมีการเชื่อมต่อกับเครือข่าย ทาให้วัตถุเหล่านี้ สามารถเก็บ รวบรวม และแลกเปลี่ยนข้อมูลได้
  31. 31. การใช้งาน IoT ในการสร้างคุณค่าที่แตกต่างกัน  มูลค่ารวมที่อาจเกิดขึ้น สาหรับการใช้งาน ในเก้าประเภทเป็น $3.9 ล้านล้าน ถึง $11.1 ล้านล้าน ต่อปี ($3.9 trillion to $11.1 trillion per year)
  32. 32. การใช้งาน IoT ในการสร้างคุณค่า 1. มนุษย์ (Human) 2. บ้านเรือน (Home) 3. การค้าปลีก (Retail environments) 4. สานักงาน (Offices) 5. โรงงาน (Factories) 6. พื้นที่ปฏิบัติงาน (Worksites) 7. ยานพาหนะ (Vehicles) 8. เมือง (Cities) 9. นอกเหนือจากที่กล่าวมา (Outside)
  33. 33. 1. การใช้งานกับมนุษย์:  ประเภทแรกคือ ด้านสุขภาพและ การออกกาลังกาย การใช้อุปกรณ์ ที่เชื่อมต่อในการตรวจสอบผู้ป่ วย อย่างต่อเนื่อง  โปรแกรมที่สอง ในการทางาน เช่น แว่นตาที่สามารถแสดงข้อมูล แนวทางในการปฏิบัติงาน
  34. 34. การยอมรับของการใช้ IoT ในด้าน สุขภาพและออกกาลังกาย  แหล่งใหญ่ที่สุดของคุณค่า อยู่ที่การ ใช้อุปกรณ์ IoT ตรวจสอบและรักษา โรค  แหล่งที่ใหญ่เป็นอันดับสองของ คุณค่าสาหรับมนุษย์ เกี่ยวกับการ ออกกาลังกายหรืออุปกรณ์สวมใส่ (wearables)
  35. 35. 2. การใช้งานกับบ้านเรือน  มีอุปกรณ์ IoT สาหรับการใช้งานใน บ้าน เช่น การตั้งอุณหภูมิ เครื่องใช้ ในเรือนแบบอัจฉริยะ และ เครื่องดูดฝุ่นทางานได้ด้วยตัวเอง  สามารถประหยัดได้ประมาณ 100 ชั่วโมงของการใช้แรงงานต่อปี สาหรับการใช้แรงงานในครัวเรือน ทั่วไป
  36. 36. 3. การใช้งานกับการค้าปลีก  IoT ใช้ได้กับห้างสรรพสินค้า โชว์ รูมแสดงสินค้า สาขาธนาคาร โรง ละคร และสนามกีฬา  เทคโนโลยี IoT ยังสามารถให้ ข้อมูลในการวางรูปแบบของสินค้า การชาระเงินอัตโนมัติ โปรโมชั่น ส่วนบุคคลในห้าง และปรับปรุง การจัดการสินค้าคงคลัง
  37. 37. 4. การใช้งานกับสานักงาน  ประโยชน์สาคัญของ IoT ที่ใช้ใน สานักงาน คือ การรักษาความ ปลอดภัย และการจัดการพลังงาน  โดยการใช้กล้องรักษาความ ปลอดภัยแบบดิจิตอล โดยไม่ต้องมี ยามลาดตระเวนอย่างต่อเนื่อง  การบริหารจัดการพลังงาน สามารถ ลดการใช้พลังงานได้ร้อยละ 20
  38. 38. 5. การใช้งานกับโรงงาน  เป็นแหล่งใหญ่ที่สุดในการสร้าง คุณค่า  ประหยัดพลังงานร้อยละ 10 - 20 ปรับปรุงประสิทธิภาพแรงงานร้อยละ 10-25  เพิ่มประสิทธิภาพสินค้าคงคลัง และ สุขภาพและความปลอดภัยของ ผู้ปฏิบัติงาน
  39. 39. อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ และยุค อุตสาหกรรม 4.0  อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) เป็น การเปลี่ยนแปลงแบบเต็มรูปแบบของ กระบวนการผลิต ที่ผสมผสานโลก ดิจิตอลและทางกายภาพเข้าด้วยกัน  อุตสาหกรรม 4.0 มีความสามารถใน การตรวจสอบและควบคุมเครื่องมือ ทั้งหมดในการผลิต และใช้ข้อมูลที่ รวบรวมได้เพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ
  40. 40. 6. การใช้งานกับหน่วยปฏิบัติงาน  ใช้ในสภาพแวดล้อมที่ใช้ในการ ผลิต เช่น การทาเหมืองแร่ โรง กลั่นน้ามันและโรงแยกก๊าซ และ สถานที่ก่อสร้างต่าง ๆ  เปลี่ยนรูปแบบการบารุงรักษา สภาพ เมื่อมีความจาเป็นที่เกิดขึ้น จริง ผ่านการวิเคราะห์เชิง พยากรณ์
  41. 41. 7. การใช้งานกับยานพาหนะ  ศักยภาพของ IoT คือ การตรวจสอบ และปรับปรุงประสิทธิภาพการ ทางานของ เครื่องบิน รถไฟ และ ยานพาหนะอื่น ๆ ในขณะที่ใช้งาน  ช่วยผู้ผลิตรถยนต์ ออกแบบ ผลิตภัณฑ์ที่น่าเชื่อถือมากขึ้น  IoT สามารถลดการโจรกรรมรถยนต์ และทาให้เบี้ยประกันถูกลง
  42. 42. 8. การใช้งานกับเมือง  เรียกว่า เมืองอัจฉริยะ (smart city)  ประโยชน์สี่ประการคือ การขนส่ง ความปลอดภัยและสุขภาพของ ประชาชน การจัดการทรัพยากร และการให้บริการ  การขนส่ง เป็นโปรแกรมที่ใหญ่ที่สุด ในการจัดการการจราจร และ ยานพาหนะแบบอัตโนมัติ
  43. 43. 9. นอกเหนือจากที่กล่าวมา  คือการใช้นอกสถานที่ของ สภาพแวดล้อมในเมือง  เช่น การปรับปรุง การกาหนด เส้นทางของเรือ เครื่องบิน และ ยานพาหนะอื่น ๆ ระหว่างเมือง ที่ได้รับแจ้งจากเซ็นเซอร์ต่างๆ  รวมถึงการติดตามในภาชนะที่ใช้ บรรจุ และแพคเกจในการขนส่ง
  44. 44. สรุป  อินเตอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ (Internet of Things: IoT) กลายเป็น หัวข้อของการสนทนา ทั้งในและนอกสถานที่ทางาน  แนวคิดนี้ จะส่งผลกระทบต่อวิธีการที่เรามีชีวิตอยู่ และวิธีการที่ เราทางาน ในอนาคตอันใกล้นี้  สาหรับตอนนี้ สิ่งที่ดีที่สุดที่เราสามารถทาได้คือ การมีความรู้ เกี่ยวกับ IoT และศึกษาผลกระทบที่สามารถมองเห็นได้ ทั้งใน วิธีการที่เราทางาน และการดารงชีวิต
  45. 45. Goethe
  46. 46.  KM 2.0 หมายถึง การจัดการความรู้ที่นาเครื่องมือสื่อสังคมมาใช้ (E 2.0) เพื่อปรับปรุงการเชื่อมต่อ สร้างความสัมพันธ์ และความ ไว้วางใจ มีผลทาให้การสื่อสารและการถ่ายทอดความรู้ดีขึ้น  Big Data หมายถึง สินทรัพย์ทางสารสนเทศที่มีปริมาณสูง ความเร็วสูง และความหลากหลายสูง ต้องอาศัยประสิทธิภาพและ นวัตกรรมรูปแบบใหม่ของการประมวลผลข้อมูล เพื่อความเข้าใจ ที่ดีขึ้น และใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ  Internet of Things (IoT) หมายถึง เครือข่ายของวัตถุทางกายภาพ ที่มีการฝังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซอฟแวร์ เซ็นเซอร์ และมีการ เชื่อมต่อกับเครือข่าย ทาให้วัตถุเหล่านี้ สามารถเก็บรวบรวม และ แลกเปลี่ยนข้อมูลได้
  47. 47.  “It’s not the strongest species that survive, or the most intelligent, but the most responsive to change”  Charles Darwin

×