Publicité

Organization diagnosis

Dentist à Pramongkutklao Hospital
23 Oct 2017
Publicité

Contenu connexe

Présentations pour vous(20)

Publicité

Plus de maruay songtanin(20)

Publicité

Organization diagnosis

  1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 24 ตุลาคม 2560 From: Organization Diagnosis, Design, and Transformation Baldrige Users Guide (BUG), Seventh Edition 2015 – 2016, John Vinyard
  2. เส้นทางสู่ความเป็นเลิศ  เป็นหนึ่งในการเรียนรู้สาหรับองค์กร และบุคลากรทุกคนใน องค์กร รวมทั้งผู้นา  สาหรับองค์กรใด ๆ ก็ตาม ไม่มี "กระสุนเงิน (silver bullets)" หรือการแก้ไขอย่างรวดเร็ว เพื่อให้บรรลุความเป็นเลิศ  การวินิจฉัย เป็นกระบวนการในการพัฒนาการประเมินตนเองที่ เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อขอรับรางวัล หรือเพื่อรับการตรวจ ประเมินภายในหรือภายนอก
  3. เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ  การอ่านเกณฑ์อาจเป็นเรื่องที่ท้าทาย หลายคนมีปัญหาในการทา ความเข้าใจว่า องค์ประกอบต่าง ๆ ในเกณฑ์ มีความหมาย อย่างไรในการอ่านครั้งแรก (หรือครั้งที่ 10?)  สาหรับผู้ตรวจประเมิน เกณฑ์มักจะ "มีชีวิตชีวา (come alive)" ในปีที่สาม เพราะในปีที่สามนั้น ความเข้าใจจะชัดเจนขึ้น การ เชื่อมโยงจะมีความสมเหตุสมผลมากขึ้น และจะเห็นกระบวนการ โดยรวมได้ชัดเจนยิ่งขึ้น  อย่างไรก็ตามองค์กรต่าง ๆ ไม่มีเวลาศึกษาและรอคอยได้ 3 ปี
  4. แนวความคิดในการออกแบบ  ได้รับการบูรณาการผ่านแต่ละสมรรถนะ ของการดาเนินการที่ เป็นเลิศคือ:  1. การนาองค์กรเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership)  2. ความเป็นเลิศในการดาเนินการ (Execution Excellence)  3. การเรียนรู้ในองค์กร (Organizational Learning)
  5. กระบวนการวินิจฉัยองค์กร  1. ประการแรกคือ การพัฒนาคาอธิบายที่ชัดเจนของบริบทของ องค์กรหรือเรียกว่า โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)  2. ประการที่สองคือ การประเมินองค์กร หมวด 1–6 (Categories 1–6)  3. ประการสุดท้ายคือ การรายงาน ผลลัพธ์ (Results) และ พัฒนา จุดแข็ง และโอกาสพัฒนา (Strengths and Opportunities For Improvement)
  6. การประเมินมีหลายระดับ  1. การประเมินโดยใช้เอกสารเป็นลายลักษณ์อักษร  2. การประเมินตามคาถามของการประเมิน  3. การประเมินภายใน  4. การประเมินจากภายนอก
  7. กระบวนการวินิจฉัย  1. การมีส่วนร่วมของผู้นาในทุกระดับ (Leaders engaged at all levels)- เข้าใจรูปแบบ ความเป็นเลิศ และวางแผนการเดินทาง  2. ทีมเขียน (Writing team) – เลือกและพัฒนาทีมเขียนที่มีความสามารถ และมีแรงจูงใจ  3. จัดรูปแบบและวิเคราะห์ข้อมูล (Organized and analyzed data) – การประยุกต์ใช้ กระดานเรื่องราว (storyboard)  4. ทบทวน (Review) กระดานเรื่องราว กับผู้นาอาวุโส  5. บันทึกกระบวนการและผลลัพธ์ (Documented processes and results)- อธิบายปัจจัย สาคัญ ระบบการจัดการและกระบวนการต่างๆ และผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้อง  6. การส่งขอรับรางวัล (Award application) – จัดทาเอกสารการสมัครขอรับรางวัลคุณภาพ แห่งชาติหรืออื่น ๆ แบบเป็นทางการ  7. ประเมิน (Evaluate) กระบวนการและผลลัพธ์ – ระบุจุดแข็ง โอกาสในการปรับปรุง  8. ระบุ (Identify) ระดับวุฒิภาวะของกระบวนการและผลลัพธ์ (การให้คะแนน)
  8. 1. ผู้นามีส่วนร่วมในทุกระดับ  ประการแรกคือ การพัฒนาผู้นาในทุกระดับ ให้มีส่วนร่วมใน กระบวนการสู่ความเป็นเลิศ  พวกเขาไม่จาเป็นต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเกณฑ์ แต่เป็นผู้นาที่ เข้าใจถึงรูปแบบความเป็นเลิศ ระดับวุฒิภาวะ และบทบาทของ ตนในกระบวนการนี้  พวกเขาไม่กลัวที่จะอ่านเกณฑ์ และถามคาถามเกี่ยวกับประเด็นที่ พวกเขาไม่เข้าใจ
  9. 2. การประชุมเชิงปฏิบัติการทีมผู้บริหารระดับสูง  เพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง ผู้นาในทุกระดับจาเป็นต้องมีส่วน ร่วม เพราะผู้นาไม่สามารถสนับสนุนในสิ่งที่พวกเขาไม่เข้าใจ  ถ้าผู้นาและผู้คนไม่เข้าใจการเปลี่ยนแปลง พวกเขาจะต่อต้าน ความพยายามในการเคลื่อนย้ายไปในทิศทางใหม่  ดังนั้นการประเมินครั้งแรก ควรเป็นทีมผู้บริหารระดับสูง
  10. 3. เปรียบเทียบผู้นากับระดับวุฒิภาวะ (คะแนนที่ได้)  อภิปรายเกี่ยวกับการให้คะแนนกับผู้นา และเปรียบเทียบเพื่อให้ เข้าใจถึงระดับที่บริษัทส่วนใหญ่บรรลุ ที่มีคะแนนเต็มคือ 1,000 คะแนน  ก. หน่วยงานราชการเฉลี่ย = 80 - 150 คะแนน  ข. บริษัทเฉลี่ย = 150 - 200 คะแนน  ค. ผู้ชนะระดับมลรัฐ = 400 คะแนน +  ง. Baldrige Winners = 600 คะแนน +
  11. 4. ให้แน่ใจว่าผู้นาเข้าใจถึงบทบาทของพวกเขาในกระบวนการ  ต้องมีการนาวงจรการเรียนรู้มาใช้ โดยผู้นาต้องเป็นแบบอย่าง – ถ้าผู้นาไม่เรียนรู้ จะไม่มีใครใคร่จะเรียนรู้เช่นกัน  พวกเขาต้องพูดคุยเกี่ยวกับโอกาสพัฒนา (Opportunities for Improvement - OFIs) จากการประเมิน โดยไม่เน้นอดีต แต่ มุ่งเน้นที่อนาคต (การแก้ไข OFI ไม่ใช่เพียงแค่โต้แย้งว่า ใครเป็น ผู้ผิด - ‘who’s fault it is.’)
  12. 5. การวางแผนการประเมินผล  เส้นทางสู่ความเป็นเลิศ ประกอบด้วยการพัฒนาสมรรถนะทั้ง สามด้านขององค์กร:  1. การนาองค์กรอย่างมีกลยุทธ์ (หัวข้อ 1.1, 1.2, 2.1 และ 2.2)  2. ความเป็นเลิศในการดาเนินการ (หัวข้อ 3.1, 3.2, 6.1 และ 6.2)  3. การเรียนรู้ และการสนับสนุน (หัวข้อ 5.1, 5.2, 4.1 และ 4.2)
  13. 6. พัฒนาแผนโดยรวม
  14. 7. สร้างความมั่นใจว่าทีมงานเขียนมีความสามารถและมีแรงจูงใจ  การวิจัยและประสบการณ์ชี้ให้เห็นว่า ระดับความสามารถและ แรงจูงใจของสมาชิกในทีมเขียน เป็นปัจจัยสองประการที่มี อิทธิพลมากที่สุด ต่อคุณภาพของแบบการประเมินตนเอง หรือ คุณภาพของรายงานเพื่อสมัครขอรับรางวัล
  15. 8. เลือกทีมเขียน  ขั้นตอนแรกในการจัดตั้งทีมเขียน ที่มีความสามารถและมี แรงจูงใจคือ การเลือกทีมที่ดีที่สุดและฉลาดที่สุดในองค์กร  หากผู้ที่เก่งที่สุดและฉลาดที่สุดไม่ได้เขียนเอกสาร คุณภาพของ เอกสารที่ผลิต จะลดความน่าเชื่อถือในสายตาของผู้นาระดับสูง  หากผู้นาระดับสูงเห็นว่าเอกสารไม่มีความน่าเชื่อถือ แรงจูงใจที่ จะใช้มันเพื่อการปรับปรุง ก็จะถูกละเลย
  16. ทีมงานเขียนควรประกอบด้วย: 1. หัวหน้าทีมโดยรวม เพียงคนเดียว และมีหัวหน้าทีมสารอง ในกรณี หัวหน้าทีมไม่อยู่ 2. แชมเปี้ ยน 1 คนในแต่ละสมรรถนะ คือ การนาเชิงกลยุทธ์ ความเป็นเลิศ ในการดาเนินการ และการเรียนรู้ในองค์กร 3. นักเขียนสาหรับแต่ละกระบวนการและผลลัพธ์ จานวนอาจแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับประเภทและขนาดขององค์กร บ่อยครั้งที่มีนักเขียน 3 ถึง 4 คน สาหรับแต่ละสมรรถนะ โดยรวมมี 9-12 คน 4. บรรณาธิการ ควรมีบรรณาธิการสองคน บรรณาธิการก็ต้องฝึกอบรม เช่นเดียวกับนักเขียน 5. งานกราฟิ กและสิ่งพิมพ์ เป็นส่วนสาคัญของเอกสาร กราฟิ กเป็นทั้งศิลปะ และวิทยาศาสตร์ ในการเขียนบางส่วนมักต้องขอความช่วยเหลือจาก ผู้เชี่ยวชาญในสาขานี้ และเอกสารมีรูปแบบชัดเจนและมีการจัดรูปแบบที่ดี ต้องการใช้ผู้เชี่ยวชาญในสาขานี้ โดยเฉพาะ
  17. 9. ประเมินความสามารถของทีมงานเขียน  ใช้เครื่องมืออย่างง่ายๆ เช่น แผนภาพของก้างปลา ประเมิน ความสามารถของทีมเขียนและพัฒนาแผน เพื่อแก้ไขช่องว่าง ความรู้ ทักษะ และความสามารถของพวกเขา  ไม่ใช่สมาชิกในทีมทุกคนต้องมีคุณสมบัติทั้งหมด แต่ทีมงาน โดยรวมควรมีคุณสมบัติเหล่านี้ ร่วมกัน
  18. 10. ตรวจสอบให้แน่ใจว่า สมาชิกในทีมเขียนและผู้มีส่วนได้เสียอื่น ๆ เข้าใจถึงระดับความมุ่งมั่นที่ต้องมี  หนึ่งในความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ที่สมาชิกในทีมแต่ละรายต้อง เผชิญคือ ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกจากการมีสองงาน (หรือ มากกว่า) และจากผู้บังคับบัญชาที่ทาหน้าที่ประเมินผลงาน  โดยปกติ แผนกในองค์กรที่ให้แต่ละบุคคลกับทีม คาดหวังว่า บุคคลจะปฏิบัติหน้าที่ตามปกติต่อไป ถ้าไม่ได้รับการจัดการอย่าง ถูกต้อง ความขัดแย้งนี้ อาจส่งผลต่อประสิทธิภาพในงานทั้งสอง อย่าง และพนักงานจะไม่พอใจที่ต้องทางานหนักมากเกินไป
  19. 11. แต่งตั้งทีมงานเขียน  จากการวิจัยและประสบการณ์ มีสี่ประการที่จะเป็นตัวกาหนด คุณภาพเอกสาร:  1. เวลาที่ใช้ในการเขียนรายงานให้เสร็จสมบูรณ์  2. ประสบการณ์และความสามารถของทีม  3. ผลผลิตของทีม (การผลิตเป็นผลมาจากบุคคลมีคุณสมบัติ และมีแรงจูงใจ)  4. การสนับสนุนที่ให้แก่ทีม (การสนับสนุนจากเสมียน การ สนับสนุนจากเจ้านาย การเข้าถึงกระบวนการ และข้อมูลจาก องค์กร เป็นต้น)
  20. 12. การฝึกอบรมทีมเขียน  องค์กรไม่สามารถเขียนรายงานได้ เว้นแต่จะมีผู้ที่ได้รับการ ฝึกอบรมเกี่ยวกับรูปแบบของเกณฑ์ และรูปแบบของการเขียน (เช่น การเขียน ADLI สาหรับหมวด 1-6: วิธีการเชื่อมโยงของ แนวทาง การปฏิบัติ และผลลัพธ์)  ประสบการณ์แสดงให้เห็นว่า การฝึกอบรมนักเขียน จาเป็นต้อง เน้นด้านต่างๆ ของขั้นตอน มากกว่าการฝึกอบรมผู้ตรวจประเมิน  "มันง่ายกว่าที่จะเป็นนักวิจารณ์ มากกว่านักเขียนบทละคร"
  21. 13. ฝึกอบรมคนสาคัญอื่น ๆ  1. ผู้นา (ทุกระดับ) จาเป็นต้องมีความเข้าใจพื้นฐานของเกณฑ์ (ในระดับ หมวด หัวข้อ และกระบวนการที่ต้องใช้) ความรับผิดชอบระหว่างขั้นตอน การเขียน (และการปรับปรุงผลงาน)  2. ผู้จัดการที่สาคัญ จาเป็นต้องคุ้นเคยความหมายของเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้องกับ นโยบาย ขั้นตอน การปฏิบัติ ระบบ และกระบวนการขององค์กร กลุ่มนี้ ควร รวมถึงผู้บังคับบัญชาของนักเขียน เพื่อให้พวกเขาสามารถเข้าใจความมุ่งมั่น ของนักเขียนได้  3. ผู้เชี่ยวชาญเรื่องนั้น ๆ (Subject Matter Experts - SMEs) จาเป็นต้องมี ความเข้าใจพื้นฐานของเกณฑ์ ที่เกี่ยวกับความเชี่ยวชาญของตน  4. บรรณาธิการ จาเป็นต้องเข้าใจเกณฑ์และความเชื่อมโยง ที่สะท้อนให้เห็น ในเอกสารขั้นสุดท้าย
  22. 14. จัดระเบียบและวิเคราะห์ข้อมูล  ความคิดในที่นี้ คือ หลีกเลี่ยงการเขียนข้อความใด ๆ ที่ "สวยหรู (pretty)" จนกว่าข้อมูลทั้งหมดจะอยู่ในที่อันควร มีความเข้าใจ และมีความเชื่อมโยง  ให้รอทีมงานพร้อมที่จะเขียนข้อความที่มีการพัฒนามากขึ้น เพื่อ สรุปกระบวนการและผลลัพธ์ ในรูปแบบที่มีความสอดคล้องกัน ตลอดทั้งเอกสาร
  23. 15. พัฒนาโครงสร้างองค์กร  หลังจากที่นักเขียนได้รับการฝึกฝนแล้ว ภารกิจแรกของพวกเขา คือการจัดทา ปัจจัยสาคัญขององค์กร (key factors) และเขียน ข้อมูลเกี่ยวกับ โครงสร้างองค์กร (Organizational Profile)  โครงสร้างองค์กร เป็นการกาหนดปัจจัยสาคัญขององค์กร เข้า ด้วยกันกับกระบวนการ และผลลัพธ์
  24. 16. บันทึกระบบขนาดใหญ่ 6 ข้อ  การทาเอกสาร ทีมควรเริ่มต้นที่กระบวนการระดับสูงสุดที่เป็น นามธรรม และลงไปที่รายละเอียดต่าง ๆ มากขึ้น ได้แก่  1. ระบบการนาองค์กร  2. ระบบการวางแผนเชิงกลยุทธ์  3. ระบบการฟังและตอบสนองลูกค้า  4. ระบบการวิเคราะห์และใช้ข้อมูล  5. ระบบการประเมินบุคลากร  6. ระบบการจัดการกระบวนการ
  25. 17. ดาเนินการประมวลกระบวนการและผลลัพธ์ให้เสร็จสมบูรณ์  ข้อมูลสาหรับเอกสารจะมาจากหลายแหล่ง และมีมุมมองที่ หลากหลายขององค์กร ทีมควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้ใช้ข้อมูล หลายแหล่ง (ผู้นา ผู้จัดการ พนักงาน เป็นต้น) ใช้วิธีการเก็บ รวบรวมข้อมูลหลายวิธี (การสัมภาษณ์ การทบทวนเอกสาร การ สังเกต ฯลฯ ) และใช้ผู้ประเมินหลายคน  การใช้วิธีการและแหล่งข้อมูลหลายวิธีในการรับข้อมูล จะช่วย เพิ่มความถูกต้องของเอกสาร และลดความลาเอียง
  26. 18. กาหนดกระบวนการ - SIPOC  สาหรับขั้นตอนสาคัญแต่ละขั้นที่ระบุ ทีมงานจะต้องจัดทาเอกสาร ข้อกาหนดหลัก ขั้นตอน กระบวนการ และการวัดผล  เพื่อให้เข้าใจถึงกระบวนการทั้งหมด ทีมงานจะต้องจัดทาเอกสาร เกี่ยวกับขั้นตอน รวมถึงการนาเข้าและผลที่ได้  วิธีนี้ เรียกว่า SIPOC ซึ่งหมายถึง: Supplier - Input - Process - Output – Customer
  27. 19. การเล่าเรื่องในรายงาน  กระบวนการ ประกอบด้วยคาถามที่ขึ้นต้นด้วยคาว่า "อย่างไร - how" การตอบสนองกระบวนการสาคัญ ควรกล่าวถึง แนวทาง การใช้งาน การเรียนรู้ และการบูรณาการ  ให้ทาความเข้าใจความหมายของคาว่า มีอะไรบ้าง (what)  คาตอบที่ขาดข้อมูลดังกล่าว หรือเพียงแค่นาเสนอตัวอย่างเท่านั้น จะถูกอ้างถึงในหลักเกณฑ์การให้คะแนนว่า " ข่าวสารที่ยังไม่เป็น ระบบ - anecdotal information "
  28. 20. ทบทวนเรื่องราวที่เขียนกับผู้นาในเรื่องนั้น (Champions)  เป็นโอกาสสาหรับผู้นาที่เป็นแชมเปี้ ยน (ผู้นาอาวุโสที่ได้รับ มอบหมายให้แต่ละหมวดหมู่หรือความสามารถ) มีส่วนร่วมกับ ทีมงานเขียน และช่วยขจัดอุปสรรคในกระบวนการเขียน  เมื่อข้อมูลถูกเก็บรวบรวม จัดระเบียบ และวิเคราะห์ สาหรับแต่ ละประเด็นในการพิจารณา ทีมงานก็พร้อมที่จะเริ่มต้นการสรุป และเขียนเอกสารจริงจัง
  29. 21. กระบวนการและผลลัพธ์ในเอกสาร  ในขั้นตอนการวินิจฉัย คือการมีเอกสารที่ชัดเจน เกี่ยวกับ กระบวนการและผลลัพธ์ตามที่ระบุในเกณฑ์  เอกสารนี้ สามารถใช้เป็นแบบรายงานเพื่อขอรับรางวัลคุณภาพ แห่งชาติ และไม่ควรเกิน 50 หน้า (Baldridge)
  30. 22. เขียนร่างฉบับแรกของเอกสารการประเมินตนเองหรือเอกสาร ขอรับรางวัล  ร่างฉบับแรกของเอกสาร ควรมีการเขียน แก้ไข และทบทวน ร่วมกับแชมเปี้ ยน  โปรดระลึกว่า ระยะเวลาที่เหมาะสมระหว่างร่างฉบับที่ 1, 2 และ 3 (ฉบับสุดท้าย) ควรมีระยะเวลาห่าง 7-10 วันตามปฏิทิน  จากประสบการณ์แสดงให้เห็นว่า สี่วันไม่พอที่จะทาการวิจัยอย่าง เพียงพอและทาการเปลี่ยนแปลงที่จาเป็น ในทางกลับกัน สาม สัปดาห์เป็นเวลามากเกินไป
  31. 23. ทบทวนและปรับแต่ง (พัฒนาร่างฉบับที่สอง)  ร่างฉบับที่สองของรายงาน ควรมีการ เขียน แก้ไข และทบทวน กับผู้นาระดับสูงที่เป็นแชมเปี้ ยน  ร่างฉบับที่สอง ควรได้รับการขัดเกลาอย่างมีนัยสาคัญมากกว่า ร่างฉบับแรก และควรรวมข้อเสนอแนะจากแชมเปี้ ยน จากร่าง ฉบับแรกด้วย
  32. 24. Walk-the-Walls และทบทวนแต่ละ Story-Board เพื่อให้แน่ใจ เรื่องการเชื่อมโยง  เมื่อเอกสารฉบับสุดท้ายจัดทาขึ้นแล้ว จะเป็นประโยชน์มาก ที่จะ นาแต่ละหน้าขึ้นบนผนัง เพื่อทาการตรวจทานครั้งสุดท้าย  กลยุทธ์นี้ ช่วยให้หลาย ๆ คนได้อ่านเอกสาร และอนุญาตให้ทีม ละสองคน (ทางานอย่างพร้อมเพรียง) เพื่อตรวจสอบความ เชื่อมโยงที่อ้างถึงในเอกสาร  ตัวอย่างเช่น ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งของรายงานอ้างถึงส่วนอื่น ๆ คน หนึ่งสามารถอ่านและขอให้อีกคนหนึ่งตรวจสอบ เพื่อดูว่าการ เชื่อมโยงดังกล่าวควรจะเป็นอย่างไร
  33. 25. ทาการแก้ไขเอกสารขั้นสุดท้าย  ผู้ที่เป็นทีมเขียนจะทบทวนเอกสารขั้นสุดท้าย โดยพิจารณาจาก ผลของ การเดินผนัง (walking the walls) และการทบทวน กระดานเล่าเรื่องราว (story-board)
  34. 26. ประเมินรายงานและทาการแก้ไขขั้นสุดท้าย  บรรณาธิการ ควรมีส่วนร่วมในการตรวจสอบขั้นสุดท้าย ของ ความเชื่อมโยงที่พบในการเดินผนัง และควรให้แน่ใจว่ามีการ เปลี่ยนแปลงที่เหมาะสม  เมื่อถึงจุดหนึ่ง ทีมงานต้องตัดสินใจให้เอกสารไปจัดพิมพ์ได้ และ ในรายงานทั้งหมดอาจยังมีการพิมพ์ผิดได้ ในการเขียนเอกสาร ขนาด 50 หน้า
  35. 27. การสมัครขอรับรางวัล  หากองค์กรสมัครขอรับรางวัล ยังมีขั้นตอนหลายขั้นตอนเพื่อให้ บรรลุผลสาเร็จ  1. อย่าลืมทาสาเนาเพื่อใช้ภายใน  2. อย่าลืมทาสาเนาฉบับ "ดัดแปลง - modified " เพื่อการใช้งาน ภายนอกบริษัท สาเนาเหล่านี้ บ่อยครั้งอาจมีผลลัพธ์บางอย่าง (ผลที่มีความอ่อนไหวต่อการแข่งขัน) ที่ต้องลบออก  3. มีแท็บที่พิมพ์ทั้งสองด้าน ติดตามที่ต่าง ๆ
  36. 28. การพิสูจน์อักษร  ควรมีการพิสูจน์อักษรอย่างน้อยหนึ่งสาเนา เพื่อช่วยรับประกันได้ ว่า ไม่เกิดความผิดพลาดกับสาเนาทั้งหมด
  37. 29. ตรวจรับรองสาเนาทั้งหมดที่จะใช้  มันเป็นสิ่งที่น่าอัศจรรย์ ที่สามารถมีบางอย่างผิดปกติในการพิมพ์ เอกสาร  แม้ว่าจะการทาเองภายในองค์กร และเป็นองค์กรที่มีชื่อเสียงแล้ว ก็ตาม หน้าอาจหายไป หน้าอาจเรียงแบบคว่า และอื่น ๆ ซึ่งอาจ เกิดขึ้นได้ แม้จะมีความพยายามและความตั้งใจที่ดีที่สุด  เอกสารที่จะใช้ภายนอก หรือส่งไปยังผู้นาภายในองค์กร ควร ตรวจสอบให้ดี ๆ
  38. 30. ส่งรายงานไปยังองค์กรที่เหมาะสมภายในกาหนดเวลา  ให้ทันภายในเวลาเส้นตายที่กาหนด และโทรเน้นย้าถึงการได้รับ เอกสารเรียบร้อยแล้วอีกครั้งด้วย
  39. 31. ฉลองความสาเร็จของการจัดทาเอกสาร  เป็นสิ่งสาคัญที่จะเฉลิมฉลองขั้นตอนการจัดทาเอกสาร ใน ขั้นตอนของการวินิจฉัย  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในจุดนี้ จะได้เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับองค์กร ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมา มากกว่าที่พวกเขาอาจได้เรียนรู้ในช่วง หลายปีที่ผ่านไป  เมื่อปัจจัยสาคัญ กระบวนการ และผลลัพธ์ ได้รับการบันทึก ขั้นตอนต่อไปคือการประเมินกระบวนการและผลลัพธ์
  40. 32. ประเมินกระบวนการและผลลัพธ์  วิธีการเพื่อให้บรรลุการประเมินผล ข้อเสนอแนะแบ่งออกเป็น สามประเภท (ภายนอก ภายใน และรวมกัน) ของแต่ละจุดแข็ง และโอกาสพัฒนา  ตัวเลือกภายนอก ได้แก่ (ก) สานักงานใหญ่ หรือการตรวจสอบ ขององค์กรแม่ (ข) โครงการรางวัลระดับชาติ มลรัฐ และท้องถิ่น (ค) ที่ปรึกษาภายนอก หรือ (ง) การประเมินองค์กรแบบเพื่อน ช่วยเพื่อน
  41. 33. ระบุระดับวุฒิภาวะ (คะแนน)  ระดับความสมบูรณ์ของกระบวนการ กาหนดโดยพิจารณาจากสี่ มิติของ วิธีการ การใช้งาน การเรียนรู้ และบูรณาการ (ADLI)  ความครบถ้วนของผลลัพธ์ จะพิจารณาจากมิติข้อมูลของ ระดับ แนวโน้ม การเปรียบเทียบ และความครบถ้วนสมบูรณ์
  42. 34. จัดลาดับความสาคัญของโอกาสในการปรับปรุง  องค์กรควรกาหนดลาดับความสาคัญ เพื่อให้เกิดความสมดุลใน การพัฒนา ความเป็นผู้นาเชิงกลยุทธ์ ความสามารถในการ ปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ และการเรียนรู้ขององค์กร  เป้ าหมายคือ การกาหนดว่าองค์กรอยู่ในมิติที่เท่าใดของข้อมูลทั้ง สามมิติ จัดลาดับความสาคัญตามช่องว่าง จากนั้นหาแนวทาง ปฏิบัติตามข้อกาหนดที่มีการพัฒนาทั้งสามด้านร่วมกัน
  43. สรุป  การเรียนรู้ ไม่สามารถมอบหมายให้กับฝ่ายพัฒนาคุณภาพ ที่ ปรึกษา หรือผู้บริหารระดับกลาง เป็นผู้รับผิดชอบ  ผู้บริหารระดับสูงไม่จาเป็นต้องเป็น "ผู้เชี่ยวชาญ" ในเกณฑ์ แต่ พวกเขาจะต้องมีความสามารถในการอ่าน ถามคาถาม และเป็น ผู้นาในการเรียนรู้ เพื่อให้องค์กรสามารถบรรลุ และรักษาความ เป็นเลิศได้อย่างยั่งยืน
  44. - Kevin Stirtz
Publicité