SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
1
พระประวัติในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก
ตอนที่ ๑๓ สีวลีเถราปทาน
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๓. สีวลีเถราปทาน
ประวัติในอดีตชาติของพระสีวลีเถระ
เกริ่นนา
พระศาสดาผู้ทรงบาเพ็ญประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ ได้ตรัสสรรเสริญข้าพเจ้าในท่ามกลาง
บริษัทว่า ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสาวกของเรา ภิกษุชื่อว่าสีวลีนี้ เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายผู้ที่มีลาภมาก
(พระสีวลีเถระ เมื่อจะประกาศประวัติในอดีตชาติของตน จึงกล่าวว่า)
[๕๔] พระชินเจ้าพระนามว่าปทุมุตตระ ผู้มีพระจักษุในธรรมทั้งปวง ทรงเป็นผู้นา เสด็จอุบัติขึ้น
แล้วในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ นับจากกัปนี้ ไป
[๕๕] สาหรับพระองค์ ศีลใครๆ ก็นับไม่ได้ สมาธิเปรียบได้ดังเพชร ญาณที่ประเสริฐใครๆ ก็นับ
ไม่ได้ และวิมุตติก็หาอะไรเปรียบมิได้
[๕๖] พระผู้ทรงเป็นผู้นา ทรงแสดงธรรม ในสมาคมมนุษย์ เทวดา นาค และพรหม ซึ่งเนืองแน่น
ไปด้วยสมณะและพราหมณ์
[๕๗] พระพุทธองค์ผู้แกล้วกล้าในท่ามกลางบริษัท ทรงตั้งสาวกของพระองค์ ผู้มีลาภมาก มีบุญ มี
ความรุ่งเรืองไว้ในตาแหน่งเอตทัคคะ
[๕๘] ครั้งนั้น ข้าพเจ้าเป็นกษัตริย์ในกรุงหงสวดี ได้ฟังพระชินเจ้าตรัสถึงคุณเป็นอันมากของสาวก
นั้น
[๕๙] ข้าพเจ้าจึงทูลนิมนต์พระชินสีห์พร้อมด้วยสาวก ให้เสวยและฉันตลอด ๗ วัน ครั้นถวายมหา
ทานแล้ว ก็ได้ปรารถนาตาแหน่งนั้น
[๖๐] ครั้งนั้น พระธีรเจ้าผู้องอาจกว่าบุรุษ ทอดพระเนตรเห็นข้าพเจ้าผู้หมอบอยู่แทบยุคลบาท จึง
ได้ตรัสพระดารัสนี้ ด้วยพระสุรเสียงอย่างกึกก้อง
[๖๑] ลาดับนั้น ผู้ประสงค์จะสดับพระดารัสของพระชินเจ้า คือ มหาชน ทวยเทพ คนธรรพ์ พรหม
ผู้มีฤทธิ์มาก
2
[๖๒] อนึ่ง สมณะและพราหมณ์ต่างประนมมือนมัสการ (กราบทูลว่า) ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นบุรุษ
อาชาไนย ข้าพระองค์ทั้งหลายขอนอบน้อมพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นบุรุษสูงสุด ข้าพระองค์ทั้งหลายขอ
นอบน้อมพระองค์
[๖๓] พระมหากษัตริย์ได้ถวายทานเกิน ๗ วัน ข้าแต่พระมหามุนี ข้าพระองค์ทั้งหลาย ประสงค์จะ
ฟังผลของมหาทานนั้น ขอพระองค์โปรดพยากรณ์ด้วยเถิด
[๖๔] ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงฟังภาษิตของเรา ทักษิณาที่ตั้งไว้แล้ว
ในพระพุทธเจ้า ผู้ทรงคุณหาประมาณมิได้พร้อมทั้งพระสงฆ์
[๖๕] ใครจะเป็นผู้กล่าวถึงทักษิณาทานได้ เพราะทักษิณานั้นมีผลหาประมาณมิได้ อนึ่ง กษัตริย์ผู้
มีโภคะมากนี้ ปรารถนาตาแหน่งอันสูงสุดว่า
[๖๖] ในบรรดาคนที่มีลาภไพบูลย์ เราก็พึงเป็นผู้มีลาภเหมือนภิกษุชื่อสุทัศนะ กษัตริย์องค์นี้ จัก
ทรงได้ตาแหน่งนั้นในอนาคตกาล
[๖๗] ในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ นับจากกัปนี้ ไป พระศาสดาพระนามว่าโคดม ตามพระโคตร ทรงสมภพ
ในราชสกุลโอกกากราช จักอุบัติขึ้นในโลก
[๖๘] กษัตริย์องค์นี้ จักมีนามว่าสีวลี เป็นธรรมทายาท เป็นโอรสที่ธรรมเนรมิต เป็นสาวกของพระ
ศาสดาพระองค์นั้น
[๖๙] ด้วยกรรมที่ข้าพเจ้าได้ทาไว้ดีแล้วนั้น และด้วยเจตนาที่ตั้งไว้มั่น ข้าพเจ้าละกายมนุษย์แล้ว
จึงได้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
[๗๐] ในกัปที่ ๙๑ นับจากกัปนี้ ไป พระผู้ทรงเป็นผู้นาสัตว์โลกพระนามว่าวิปัสสี ผู้มีพระเนตร
งดงาม ทรงเห็นแจ้งธรรมทั้งปวง เสด็จอุบัติขึ้นแล้ว
[๗๑] ครั้งนั้น ข้าพเจ้าเป็นคนโปรดปราน เป็นคนที่ขยันและขวนขวายในการงาน แห่งตระกูลหนึ่ง
อยู่ในกรุงพันธุมดี
[๗๒] ครั้งนั้น ชุมชนหมู่หนึ่งสั่งให้นายช่างสร้างบริเวณ ซึ่งปรากฏชื่อว่ามหันต์ ถวายพระผู้
แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ พระนามว่าวิปัสสี
[๗๓] เมื่อการสร้างบริเวณสาเร็จแล้ว พวกเขาได้ถวายมหาทานซึ่งประกอบด้วยของเคี้ยว มัวแต่
แสวงหานมส้มใหม่ และน้าผึ้งใหม่อยู่จึงไม่ได้ถวาย
[๗๔] ขณะนั้น ข้าพเจ้ากาลังถือนมส้ม และน้าผึ้งใหม่เดินไปยังเรือนของนายจ้าง ชนทั้งหลายที่
แสวงหานมส้มและน้าผึ้งใหม่มาพบข้าพเจ้า
[๗๕] ถึงให้ราคาถึง ๑,๐๐๐ กหาปณะ ก็ยังไม่ได้ของ ๒ อย่างนั้น ลาดับนั้น ข้าพเจ้าคิดว่า ของ
อย่างนี้ จักไม่ใช่เป็นของเล็กน้อยเลย
[๗๖] ชนเหล่านี้ ทั้งหมดสักการะพระตถาคต ฉันใด แม้เราก็จักทาสักการะพระผู้ทรงเป็นผู้นาสัตว์
โลกพร้อมทั้งพระสงฆ์ ฉันนั้น
[๗๗] ครั้งนั้น ข้าพเจ้าได้นานมส้มและน้าผึ้งไป ผสมเข้าด้วยกัน แล้วถวายพระโลกนาถพร้อมทั้ง
พระสงฆ์
3
[๗๘] ด้วยกรรมที่ข้าพเจ้าได้ทาไว้ดีแล้วนั้น และด้วยเจตนาที่ตั้งไว้มั่น ข้าพเจ้าละกายมนุษย์แล้ว
จึงได้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
[๗๙] ข้าพเจ้าได้เป็นพระเจ้าแผ่นดิน ผู้มียศยิ่งใหญ่ในกรุงพาราณสีอีก ครั้งนั้น ข้าพเจ้าแค้นใจ
ศัตรูจึงสั่งทหารให้ปิดประตูเมือง
[๘๐] ครั้งนั้น เหล่าพระราชาผู้มีเดช ที่ถูกล้อมรักษาไว้ได้เพียงวันเดียว เพราะวิบากแห่งกรรมนั้น
ข้าพเจ้าจึงต้องตกนรกที่ร้ายกาจ
[๘๑] บัดนี้ เป็นภพสุดท้าย ข้าพเจ้าเกิดในกรุงโกลิยะ พระชนนีของข้าพเจ้าพระนามว่าสุปปวาสา
พระชนกของข้าพเจ้าพระนามว่ามหาลิลิจฉวี
[๘๒] ข้าพเจ้าเกิดในขัตติยตระกูลก็เพราะบุญกรรม แต่เพราะอานุภาพแห่งการปิดประตูเมือง
ข้าพเจ้าจึงต้องประสบทุกข์ อยู่ในพระครรภ์ของพระมารดาถึง ๗ ปี
[๘๓] ข้าพเจ้าหลงช่องคลอดอีก ๗ วัน ประสบทุกข์หนัก พระมารดาของข้าพเจ้าต้องประสบทุกข์
แสนสาหัสเช่นนี้ ก็เพราะมีความพอใจให้ปิดประตูเมือง
[๘๔] ข้าพเจ้าผู้ที่พระพุทธเจ้าทรงอนุเคราะห์แล้ว จึงคลอดออกจากพระครรภ์ของพระมารดาโดย
ความสวัสดี ข้าพเจ้าได้ออกบวชเป็นบรรพชิตในวันที่คลอดนั่นเอง
[๘๕] พระสารีบุตรเถระผู้มีปัญญามาก เป็นพระอุปัชฌาย์ของข้าพเจ้า พระมหาโมคคัลลานเถระผู้
มีฤทธิ์มาก เมื่อปลงผมให้ได้พร่าสอนข้าพเจ้า
[๘๖] ในขณะกาลังปลงผม ข้าพเจ้าก็ได้บรรลุอรหัตตผล ทวยเทพ หมู่นาค และมนุษย์ทั้งหลาย
ต่างก็น้อมนาปัจจัยเข้ามาถวายข้าพเจ้า
[๘๗] ข้าพเจ้าเป็นผู้มีใจยินดีปรีดา บูชาพระโลกนาถพระนามว่าปทุมุตตระ และพระพุทธเจ้าพระ
นามว่าวิปัสสี ผู้ทรงเป็นผู้นาวิเศษด้วยปัจจัยทั้งหลายโดยพิเศษ
[๘๘] ด้วยผลอันวิเศษแห่งกรรมนั้น ข้าพเจ้าจึงได้ลาภที่อุดมไพบูลย์ในที่ทุกแห่ง คือในป่า ในบ้าน
ในน้า และบนบก
[๘๙] ในคราวใด พระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้นาชั้นเลิศในโลก เป็นผู้นาวิเศษพร้อมด้วยภิกษุ ๓๐,๐๐๐
รูป เสด็จไปเยี่ยมพระเรวตะ
[๙๐] ในคราวนั้น ข้าพเจ้าบารุงพระพุทธเจ้า ผู้ทรงมีปรีชามาก ทรงมีความเพียรมาก ทรงเป็น
ผู้นาสัตว์โลก พร้อมด้วยพระสงฆ์ด้วยปัจจัย ๔ ที่เหล่าเทวดาน้อมนามาถวายข้าพเจ้า
[๙๑] พระองค์ได้เสด็จเยี่ยมพระเรวตะแล้ว ภายหลังเสด็จกลับไปยังพระเชตะวันมหาวิหาร จึงทรง
แต่งตั้งข้าพเจ้าไว้ในเอตทัคคะ
[๙๒] พระศาสดาผู้ทรงบาเพ็ญประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ ได้ตรัสสรรเสริญข้าพเจ้าใน
ท่ามกลางบริษัทว่า ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสาวกของเรา ภิกษุชื่อว่าสีวลีนี้ เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายผู้ที่มีลาภมาก
[๙๓] กิเลสทั้งหลายข้าพเจ้าก็เผาได้แล้ว ภพทั้งปวงข้าพเจ้าก็ถอนได้แล้ว ข้าพเจ้าตัดกิเลสเครื่อง
ผูกพันได้แล้วอยู่อย่างผู้ไม่มีอาสวะ ดุจพญาช้างตัดเครื่องพันธนาการได้แล้วอยู่อย่างอิสระ
4
[๙๔] การที่ข้าพเจ้ามาในสานักของพระพุทธเจ้า เป็นการมาดีแล้วโดยแท้ วิชชา ๓ ข้าพเจ้าได้
บรรลุแล้วโดยลาดับ คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ข้าพเจ้าก็ได้ทาสาเร็จแล้ว
[๙๕] คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ ข้าพเจ้าได้ทาให้แจ้งแล้ว
คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ข้าพเจ้าก็ได้ทาสาเร็จแล้ว ดังนี้ แล
ได้ทราบว่า ท่านพระสีวลีเถระได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ด้วยประการฉะนี้
สีวลีเถราปทานที่ ๓ จบ
-------------------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา สีวลิเถราปทาน
แม้พระเถระรูปนี้ ก็ได้เคยบาเพ็ญกุศลมาแล้วในพระพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ ได้สั่งสมบุญอันเป็น
อุปนิสัยแห่งพระนิพพานไว้เป็นอันมากในภพนั้นๆ.
ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า ปทุมุตตระ ท่านได้บังเกิดในเรือนอันมีสกุล ได้ไปยัง
พระวิหารโดยนัยดังที่ได้กล่าวไว้แล้วในหลัง ยืนอยู่ท้ายบริษัท ขณะกาลังฟังธรรม ได้เห็นภิกษุรูปหนึ่งซึ่งพระ
ศาสดาทรงสถาปนาเธอไว้ในตาแหน่งที่เลิศกว่าพวกภิกษุผู้มีลาภ แล้วคิดว่า ในอนาคตกาลแม้เราก็ควรเป็น
เช่นภิกษุรูปนี้ บ้าง จึงได้นิมนต์พระทศพล ถวายมหาทานแด่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขตลอด ๗ วัน
แล้วได้ตั้งความปรารถนาไว้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ด้วยกรรมดีที่สั่งสมไว้นี้ ข้าพระองค์มิได้ปรารถนา
สมบัติอื่นเลย หากแต่ในอนาคตกาล ในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง แม้ข้าพระองค์พึงก็เป็นผู้
เลิศกว่าพวกภิกษุผู้มีลาภเหมือนเช่นภิกษุที่พระองค์ทรงสถาปนาไว้ในตาแหน่งที่เลิศนั้นเถิด.
พระศาสดาทรงเห็นว่าเขาไม่มีอันตราย จึงพยากรณ์ว่า ความปรารถนาของเธอนี้ จักสาเร็จใน
สานักของ พระโคดมพุทธเจ้า ในอนาคตกาล แล้วเสด็จหลีกไป.
กุลบุตรนั้นได้กระทากุศลไว้จนตลอดชีวิตแล้ว ได้เสวยสมบัติทั้ง ๒ ในเทวโลกและมนุษยโลก.
ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า วิปัสสี เขาได้เกิดในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ซึ่งไม่ไกลจาก
พันธุมดีนคร. ในสมัยนั้น ชนชาวพันธุมดีนครได้สนทนากันกับพระราชาแล้ว ได้ถวายทานแด่พระทศพลเจ้า.
วันหนึ่ง คนทั้งหมดได้รวมเป็นพวกเดียวกัน เมื่อจะถวายทานก็ตรวจดูว่า ความเลิศแห่งทานของ
พวกเรามีหรือไม่หนอ ไม่ได้เห็นน้าผึ้งและนมส้ม. คนเหล่านั้นจึงคิดว่าพวกเราจักนามาจากที่ไหนหนอ จึง
มอบหน้าที่ให้พวกบุรุษยืนอยู่ที่หนทางจากชนบทเข้าพระนคร.
ครั้งนั้น กุลบุตรคนนั้นถือเอาหม้อนมส้มมาจากบ้านของตน เดินทางไปยังเมือง ด้วยคิดว่า เรา
จักแลกนาอะไรบางอย่างมา ดังนี้ มองไปเห็นสถานที่อันมีความผาสุกคิดว่า เราจักล้างหน้า ชาระล้างมือและ
เท้าให้สะอาดก่อนแล้วจึงจักเข้าไป ดังนี้ แล้วได้มองเห็นรังผึ้งอันไม่มีตัวผึ้งประมาณเท่าหัวไถ คิดว่า สิ่งนี้
เกิดขึ้นแล้วแก่เราด้วยบุญ จึงถือเอาแล้ว เข้าไปยังพระนคร.
บุรุษที่ชาวพระนครมอบหมายหน้าที่ให้ เห็นเขาแล้วจึงถามว่า แน่ะเพื่อน ท่านนาน้าผึ้งเป็นต้นนี้
มาเพื่อใคร.
5
เขาตอบว่า นาย เรามิได้นามาเพื่อใคร สิ่งนี้ เราขาย.
บุรุษนั้นจึงพูดว่า ถ้าเช่นนั้น ท่านจงถือเอากหาปณะนี้ แล้ว จงให้น้าผึ้งและนมส้มนั้นเถิด
เขาคิดว่า น้าผึ้งเป็นต้นนี้ มิได้มีค่ามากสาหรับเราเลย แต่บุรุษนี้ ย่อมให้ราคามากกว่าโดยการให้
ราคาครั้งเดียว เราจักพิจารณาดู. ต่อแต่นั้น เขาจึงกล่าวกะชาวเมืองนั้นว่า เราจะไม่ยอมให้ด้วยราคาเพียง
กหาปณะเดียว.
บุรุษชาวเมืองจึงกล่าวว่า ถ้าอย่างนั้น ท่านรับกหาปณะ ๒ อันไปแล้วจงให้น้าผึ้งเป็นต้นเถิด. เขา
กล่าวว่า ถึงจะให้กหาปณะ ๒ อัน เราก็ไม่ยอมให้. บุรุษชาวเมืองเพิ่มกหาปณะขึ้นด้วยอุบายนั้นจนถึงพัน
กหาปณะ.
เขาคิดว่า เราไม่ควรเพิ่มราคาขึ้น หยุดไว้ก่อน เราจักถามถึงการงานที่ผู้นี้ จะพึงทา.
ลาดับนั้น เขาจึงกล่าวกะบุรุษชาวเมืองนั้นว่า น้าผึ้งเป็นต้นนี้ มิได้มีค่ามีราคามากเลย แต่ท่านให้
ราคาเสียมากมาย ท่านจะรับน้าผึ้งเป็นต้นนี้ ไป เพราะจะทาอะไร.
บุรุษชาวเมืองชี้แจงว่า ท่านผู้เจริญ ชาวพระนครในที่นี้ ได้ขัดแย้งกับพระราชากาลังถวายทานแด่
พระวิปัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้า มองไม่เห็นน้าผึ้งเป็นต้นทั้งสองนี้ ในทานอันเลิศ จึงใช้ให้เรามาแสวงหา ถ้าว่า
จักไม่ได้น้าผึ้งเป็นต้นทั้งสองนี้ ไซร้ พวกชาวเมืองก็จักมีความพ่ายแพ้แน่ เพราะฉะนั้น เราให้ทรัพย์พัน
กหาปณะแล้ว จะขอรับน้าผึ้งเป็นต้นไป.
เขากล่าวว่า ก็น้าผึ้งเป็นต้นนี้ สมควรแก่พวกชาวเมืองเท่านั้นหรือ หรือว่าสมควรเพื่อให้แก่ชน
เหล่าอื่นก็ได้.
บุรุษชาวเมืองตอบว่า น้าผึ้งเป็นต้นนี้ เรามิได้ห้ามเพื่อจะให้แก่ใคร.
เขากล่าวว่ามีใครบ้างไหมที่ให้ทรัพย์พันหนึ่งตลอดวันหนึ่งในทานของพวกชาวพระนคร.
บุรุษชาวเมืองตอบว่า ไม่มีดอก เพื่อน.
เขากล่าวว่า น้าผึ้งเป็นต้นนี้ ที่เราให้แก่พวกชาวเมืองเหล่านี้ ท่านจงรู้ว่ามีค่าราคาตั้งพันเชียวนะ.
บุรุษชาวเมืองตอบว่า ใช่ เรารู้.
เขากล่าวว่า ถ้าเช่นนั้นจงไปท่านจงบอกให้พวกชาวเมืองรู้ว่า บุรุษคนหนึ่งไม่ยอมให้สิ่งของ
เหล่านี้ ด้วยมูลค่าสองพัน เขาประสงค์จะร่วมกับพวกท่านให้ด้วยมือของตนเอง พวกท่านจงหมดความกังวล
ใจ เพราะเหตุแห่งสิ่งของทั้งสองอย่างนี้ เถิด.
บุรุษชาวเมืองกล่าวว่า ท่านจงเป็นพยานของผู้มีส่วนเป็นหัวหน้าในทานนี้ ด้วยเถิด แล้วก็ไป.
ส่วนกุลบุตรนั้นได้เอากหาปณะที่ตนเก็บไว้เพื่อเสบียงเดินทางจากบ้านไปซื้อเครื่องเทศ ๕ อย่าง
แล้ว ทาให้ป่น นาเอาน้าส้มมาจากนมส้มแล้ว คั้นรังผึ้งลงในนั้น ปรุงด้วยจุณเครื่องเทศ ๕ อย่างแล้ว ใส่ลง
ในบัวตระเตรียมสิ่งนั้นเรียบร้อยแล้ว ถือไปนั่งในที่ไม่ไกลพระทศพล.
เมื่อมหาชนเป็นอันมากนาเอาสักการะไป เขามองดูวาระที่จะถึงแก่ตนในลาดับ รู้ช่องทางแล้ว
จึงเข้าเฝ้าพระศาสดา กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สักการะอันยากไร้นี้ เป็นของข้าพระองค์ ขอพระองค์
โปรดอาศัยความอนุเคราะห์ข้าพระองค์ รับสักการะนี้ เถิด.
พระศาสดาทรงอนุเคราะห์เขา ทรงรับสักการะนั้นด้วยบาตรศิลา อันท้าวมหาราชทั้ง ๔ ถวาย
6
แล้ว ได้ทรงอธิษฐานโดยประการที่เมื่อถวายแก่ภิกษุ ๖ ล้าน ๘ แสนรูป สักการะก็ไม่หมดไป.
กุลบุตรนั้นถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เสร็จภัตรกิจเรียบร้อยแล้ว นั่ง ณ ที่สมควรข้างหนึ่ง
แล้ว กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว วันนี้ พวกชาวพันธุมดีนคร
นาสักการะมาถวายพระองค์ ด้วยผลแห่งกายถวายสักการะนี้ แม้ข้าพระองค์พึงเป็นผู้เลิศด้วยลาภและเลิศ
ด้วยยศ ในภพที่เกิดแล้วเกิดแล้วเถิด.
พระศาสดาตรัสว่า จงเป็นอย่างปรารถนาเถิดกุลบุตร แล้วทรงกระทาภัตตานุโมทนาแก่เขา และ
ชาวพระนคร แล้วก็เสด็จหลีกไป.
กุลบุตรคนนั้นทากุศลจนตลอดชีวิตแล้ว ท่องเที่ยวไปในเทวโลกและมนุษยโลก.
ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้ถือปฏิสนธิในครรภ์ของพระราชธิดา สุปปวาสา.
จาเดิมแต่เวลาที่เขาถือปฏิสนธิมา คนทั้งหลายย่อมนาเอาบรรณาการ ๕๐๐ สิ่งมาถวายแด่พระ
นางสุปปวาสา ทั้งเวลาเย็นและเวลาเช้า.
ลาดับนั้น พระนางทรงยืนใช้ให้คนเอามือแตะกระเช้าพืช เพื่อจะทดลองบุญบารมีของเขา. ร้อย
สลากจากพืชแต่ละเมล็ด ย่อมรวมลงในพันสลาก. จากนาแต่ละกรีสก็เกิดข้าวมีประมาณ ๕๐ เกวียน ๖๐
เกวียน. เมื่อพระราชธิดาเอาพระหัตถ์ไปและที่ประตูฉาง แม้ในเวลาที่ฉางยังเต็มเปี่ยม เมื่อคนทั้งหลายมารับ
เอาไป ก็เต็มขึ้นอีกด้วยบุญ. แม้จากหม้อที่เต็มเปี่ยมด้วยภัตร ชนทั้งหลายกล่าวว่าเป็นบุญของพระราชธิดา
ดังนี้ แล้ว เมื่อให้แก่ใครคนใดคนหนึ่ง ตลอดเวลาที่ยังไม่ดึงมือออก ภัตรก็ยังไม่พร่องไป.
ขณะที่ทารกยังอยู่ในท้องนั่นแล ได้ล่วงไปแล้ว ๗ ปี.
ก็เมื่อพระครรภ์แก่เต็มที่แล้ว พระนางได้เสวยทุกขเวทนามากตลอด ๗ วัน พระนางทูลเชิญพระ
ราชสวามีมาแล้วตรัสว่า ก่อนตาย หม่อมฉันจักขอถวายทานขณะยังมีชีวิตอยู่ ดังนี้ แล้วทรงส่งพระราชสวามี
ไปยังสานักของพระศาสดาว่า ข้าแต่พระสวามี ขอพระองค์จงไปกราบทูลให้พระศาสดาทรงทราบความ
เป็นไปนี้ แล้ว จงนิมนต์พระศาสดามา และพระศาสดาตรัสพระดารัสอันใด พระองค์จงกาหนดพระดารัสนั้น
ให้ดี แล้วกลับมาบอกแก่หม่อมฉัน.
พระสวามีนั้นเสด็จไปถึงแล้ว กราบทูลข่าวสาสน์ของพระนางให้พระศาสดาทรงทราบแล้วว่า ข้า
แต่พระองค์ผู้เจริญ พระนางโกลิยธิดาฝากถวายบังคมมาที่พระบาทของพระศาสดา.
พระศาสดาทรงอาศัยความอนุเคราะห์พระนาง ตรัสว่า ขอพระนางสุปปวาสาโกลิยธิดาจงเป็นผู้
มีความสุข ปราศจากโรคภัยเถิด จงคลอดบุตรที่หาโรคมิได้เถิด.
พระสวามีนั้นทรงฟังพระราชดารัสนั้นแล้ว ก็ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว มุ่งตรงไปยัง
บ้านของตน.
สัตว์ผู้มาบังเกิดในครรภ์ได้คลอดออกจากท้องของพระนางสุปปวาสา ง่ายดายดุจเทน้าออกจาก
ธรมกรกฉะนั้น เรียบร้อยก่อนที่พระสวามีจะมาถึง ประชาชนที่มานั่งแวดล้อมมีน้าตาคลอ เริ่มจะร้องไห้ ก็
กลับเป็นหัวเราะว่าดีใจเมื่อพระสวามีของพระนางกลับมาแจ้งข่าวสาสน์อันน่ายินดีให้ได้ทราบ.
พระสวามีนั้นทรงเห็นกิริยาท่าทางของคนเหล่านั้นแล้ว ทรงคิดว่า ชะรอยว่าพระดารัสที่พระทศ
พลตรัสแล้ว คงจักสาเร็จผลไปในทางทีดีเป็นแน่. พระสวามีนั้นพอเสด็จมาถึงแล้ว ก็ตรัสถึงพระดารัสของ
7
พระศาสดาแก่พระราชธิดา.
พระราชธิดาตรัสว่า ความภักดีในชีวิตที่พระองค์นิมนต์พระศาสดาแล้วนั่นแหละ จักเป็นมงคล
ขอพระองค์จงไปนิมนต์พระทศพลตลอด ๗ วัน.
พระราชสวามีทรงกระทาตามพระดารัสของพระนางแล้ว.
ชนทั้งหลายได้ยังมหาทานให้เป็นไปแด่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขตลอด ๗ วันแล้ว.
ทารกนั้นเป็นผู้ทาจิตใจของหมู่ญาติที่กาลังเร่าร้อนให้ดับสนิทคือทาให้กลายเป็นความเย็น
เพราะเหตุนั้น หมู่ญาติจึงตั้งชื่อเขาว่า สีวลี. ตั้งแต่เวลาที่ได้เกิดมาแล้ว ทารกนั้นได้เป็นผู้แข็งแรง อดทนได้
ในการงานทั้งปวง (มีกาลังดี) เพราะค่าที่เขาอยู่ในครรภ์มานานถึง ๗ ปี.
พระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระได้ทาการสนทนาปราศรัยกับเขาในวันที่ ๗.
แม้พระศาสดาก็ได้ตรัสพระคาถานี้ ไว้ว่า :-
บุคคลใดล่วงพ้นหนทางลื่น หล่ม สงสาร โมหะได้ข้ามฝั่งแล้ว มีความเพียรเพ่งพินิจไม่มีความ
หวั่นไหว หมดความสงสัย ดับแล้วเพราะไม่ยึดมั่นถือมั่น เราเรียกบุคคลนั้นว่าเป็นพราหมณ์.
ลาดับนั้น พระเถระได้กล่าวกะเด็กนั้นอย่างนี้ ว่า เธอได้รับความทุกข์เห็นปานนี้ การบวชจะไม่
สมควรหรือ.
เด็กคนนั้นตอบว่าเมื่อได้รับอนุญาตก็จะพึงบวช ขอรับ.
พระนางสุปปวาสาเห็นเด็กนั้นกาลังพูดกับพระเถระ จึงคิดว่า ลูกของเรากาลังพูดเรื่องอะไรกับ
พระธรรมเสนาบดีหนอแล จึงเข้าไปหาพระเถระถามว่า ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ ลูกชายของดิฉัน พูดเรื่อง
อะไรกับพระคุณเจ้า.
พระเถระพูดว่า เด็กนั้นพูดถึงความทุกข์ในการอยู่ในครรภ์ที่ตนเองได้เสวยมาแล้ว แล้วพูดว่า
กระผมได้รับอนุญาตแล้ว จักบวช.
พระนางตรัสว่า ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ ดีละ ขอให้พระคุณเจ้าให้เขาบวชเถิด.
พระเถระจึงนาเขาไปยังวิหารแล้วได้ให้ ตจปัญจกกัมมัฏฐาน แล้ว ก็ให้เขาบวช พร่าสอนว่า สีวลี
เอ่ย! หน้าที่เกี่ยวกับโอวาทอย่างอื่นของเธอไม่มี เธอจงพิจารณาถึงความทุกข์ที่เธอได้เสวยมาแล้วตลอด ๗ ปี
เถิด.
ท่านตอบว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ กระผมจักได้รู้ถึงภาระของท่านเกี่ยวกับการบวชบ้าง เพื่อผมจัก
ได้ทาตาม.
ก็พระสีวลีนั้นได้ดารงอยู่ในโสดาปัตติผล ในขณะที่เขาปลงมวยผมชั้นที่ ๑ ลง ได้ดารงอยู่ใน
สกทาคามิผล ในขณะที่เขาปลงมวยผมชั้นที่ ๒ ลง ได้ดารงอยู่ในอนาคามิผล ในขณะที่เขาปลงมวยผมชั้นที่
๓ ลง การปลงผมทั้งหมดได้อย่างเรียบร้อย และการกระทาให้แจ้งซึ่งพระอรหัตผลได้มีแล้วในเวลาไม่ก่อนไม่
หลังแล.
ต่อมา ได้มีถ้อยคาเกิดขึ้นในหมู่ภิกษุว่า โอ พระเถระถึงจะมีบุญอย่างนี้ ก็ยังอยู่ในครรภ์ของ
มารดาถึง ๗ ปี ๗ เดือน แล้วยังอยู่ในครรภ์หลงอีก ๗ วัน.
พระศาสดาเสด็จมาแล้วตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอกาลังนั่งสนทนากันด้วยเรื่อง
8
อะไรหนอ เมื่อพวกภิกษุกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรผู้นี้ มิใช่กระทา
กรรมไว้ในชาตินี้ เท่านั้นแล้ว ทรงนาอดีตนิทานมาตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในอดีตกาล ก่อนแต่พุทธรูปบาทกาลนั่นแล กุลบุตรผู้นี้ ได้บังเกิดในราช
ตระกูลในกรุงพาราณสี พอพระราชบิดาสวรรคตแล้วก็ได้ดารงอยู่ในราชสมบัติ ได้ปรากฏว่าสมบูรณ์ด้วย
สมบัติ.
ในคราวนั้น พระราชาปัจจันตชนบทพระองค์หนึ่งทรงดาริว่า เราจักยึดเอาราชสมบัติให้ได้ แล้ว
จึงเสด็จมาล้อมพระนครเอาไว้ ได้ตั้งค่ายพักแรมแล้ว.
ลาดับนั้น พระราชาได้มีสมานฉันท์เป็นอันเดียวกันกับพระราชมารดา สั่งให้ปิดประตูทั้ง ๔ ทิศ
ตั้งค่ายป้องกันตลอด ๗ วัน ความหลงประตูได้มีแก่พวกคนที่จะเข้าไป และคนที่จะออกมา.
ครั้งนั้น พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายประกาศธรรมในมิคทายวิหาร. พระราชาได้ทรงสดับแล้ว
จึงทรงมีรับสั่งให้เปิดประตูเมืองแล. แม้พระเจ้าปัจจันตราชาก็ทรงหนีไปแล้ว.
ด้วยวิบากแห่งกรรมอันนั้น เขาจึงได้เสวยความทุกข์ในอบายมีนรกเป็นต้น.
ในพุทธุปบาทกาลนี้ แม้จะได้บังเกิดในราชตระกูลก็ตาม ยังได้เสวยความทุกข์เห็นปานนี้ ร่วมกับ
พระราชมารดา.
ก็ตั้งแต่เวลาที่ท่านได้บวชแล้ว ปัจจัย ๔ ย่อมบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุสงฆ์ตามปรารถนา.
เรื่องในอดีตนี้ ได้บังเกิดขึ้นแล้วอย่างนี้ .
ในกาลต่อมา พระศาสดาได้เสด็จไปยังพระนครสาวัตถี. พระเถระได้ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค
เจ้า กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักทดลองกาลังบุญของข้าพระองค์ ขอพระองค์จงประทาน
ภิกษุให้ ๕๐๐ องค์เถิด.
พระศาสดาตรัสว่า เธอจงพาไปเถิดสีวลี.
พระสีวลีนั้นได้พาภิกษุ ๕๐๐ องค์ไปแล้ว มุ่งหน้าไปยังหิมวันตประเทศ ถึงหนทางปากดง.
เทวดาที่สิง อยู่ ณ ต้นนิโครธอันพระเถระนั้นเห็นแล้วเป็นครั้งแรก ได้ถวายทานแล้วตลอด ๗
วัน.
เพราะเหตุนั้น พระเถระนั้นจึงกล่าวว่า :-
ท่านจงดูต้นนิโครธเป็นครั้งที่ ๑ ภูเขาบัณฑวะเป็นครั้งที่ ๒ แม่น้าอจิรวดีเป็นครั้งที่ ๓ แม่น้า
สาครอันประเสริฐเป็นครั้งที่ ๔ ภูเขาหิมวันต์เป็นครั้งที่ ๕ ท่านเข้าถึงสระฉัททันต์เป็นครั้งที่ ๖ ภูเขาคันธ
มาทน์เป็นครั้งที่ ๗ และที่อยู่ของพระเรวตะเป็นครั้งที่ ๘.
ประชาชนทั้งหลายได้ถวายทานในที่ทุกแห่งตลอด ๗ วันเท่านั้น.
ก็ในบรรดา ๗ วัน นาคทัตตเทวราชที่ภูเขาคันธมาทน์ ได้ถวายบิณฑบาตชนิดน้านมวันหนึ่ง ได้
ถวายบิณฑบาตชนิดเนยใสวันหนึ่ง.
ลาดับนั้น ภิกษุสงฆ์จึงกล่าวกะท่านว่า ผู้มีอายุ แม่โคนมที่เขารีดนมถวายแด่เทวราชนี้ มิได้
ปรากฏ การบีบน้านมส้มก็มิได้ปรากฏ แน่ะเทวราช ผลที่เกิดขึ้นแก่ท่านแต่กาลไร.
เทวราชาตรัสว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ผลนี้ เป็นผลแห่งการถวายสลากภัตรน้านมในกาลแห่ง
9
พระกัสสปทศพล.
ในกาลต่อมา พระศาสดาได้ทรงกระทาการต้อนรับพระขทิรวนิยเรวตเถระ.
อย่างไร
คือ ครั้งนั้น พระสารีบุตรกราบทูลพระศาสดาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ นัยว่า พระเรวตะผู้เป็น
น้องชายของข้าพระองค์บวชแล้ว เธอจะพึงยินดียิ่ง (ในพระศาสนา) หรือไม่พึงยินดี ข้าพระองค์จักไปเยี่ยม
เธอ.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบว่า พระเรวตะเริ่มทาความเพียรเจริญวิปัสสนา จึงทรงห้าม (พระ
สารีบุตร) ถึง ๒ ครั้ง.
ในครั้งที่ ๓ เมื่อพระสารีบุตรทูลอ้อนวอนอีก ทรงทราบว่า พระเรวตะบรรลุพระอรหัตแล้ว จึง
ตรัสว่า สารีบุตร แม้เราเองก็จักไป เธอจงบอกให้พวกภิกษุได้ทราบด้วย.
พระเถระสั่งให้ภิกษุทั้งหลายมาประชุมกันแล้ว แจ้งให้ภิกษุทั้งหมดได้ทราบด้วยคาว่า ผู้มีอายุ
ทั้งหลาย พระศาสดาทรงมีพระประสงค์จะเสด็จไปสู่ที่จาริก พวกท่านผู้มีความประสงค์จะตามเสด็จด้วยก็จง
มาเถิด.
ในกาลที่พระทศพลจะเสด็จไปสู่ที่จากริก ชื่อว่าพวกภิกษุผู้ที่มักชักช้าอยู่ มีจานวนน้อย โดยมาก
มีความประสงค์จะตามเสด็จมีจานวนมากกว่า เพราะตั้งใจกันว่า พวกเราจักได้เห็นพระสรีระอันมีวรรณะดุจ
ทองคาของพระศาสดา หรือว่าพวกเราจักได้ฟังพระธรรมกถาอันไพเราะ เพราะเหตุนั้น พระศาสดามีภิกษุ
สงฆ์หมู่ใหญ่เป็นบริวาร เสด็จออกไปด้วยพระประสงค์ว่า จักเยี่ยมพระเรวตะ.
ณ ที่ประเทศแห่งหนึ่ง พระอานนเถระถึงหนทาง ๒ แพร่ง แล้วกราบทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้า
ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ตรงนี้ มีหนทาง ๒ แพร่ง ภิกษุสงฆ์จะไปทางไหน พระเจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสถามว่า อานนท์ หนทางไหนเป็นหนทางตรง.
พระอานนท์กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หนทางตรงมีระยะประมาณ ๓๐ โยชน์เป็น
หนทางที่มีอมนุษย์ ส่วนหนทาง อ้อมมีระยะทาง ๖๐ โยชน์ เป็นหนทางสะดวกปลอดภัย มีภิกษาดีหาง่าย.
พระศาสดาตรัสว่า อานนท์ สีวลีได้มาพร้อมกับพวกเรามิใช่หรือ.
พระอานนท์กราบทูลว่า ใช่ พระสีวลีมาแล้ว พระเจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสว่า ถ้าอย่างนั้น พระสงฆ์จงไปตามเส้นทางตรงนั้นแหละ เราจักได้ทดลองบุญ
ของพระสีวลี.
พระศาสดามีพระภิกษุสงฆ์เป็นบริวาร เสด็จขึ้นสู่เส้นทาง ๓๐ โยชน์ เพื่อจะทรงทดลองบุญของ
พระสีวลีเถระ.
จาเดิมแต่ที่ได้เสด็จไปตามหนทาง หมู่เทวดาได้เนรมิตพระนครในที่ทุกๆ โยชน์ ช่วยกันจัดแจง
พระวิหารเพื่อเป็นที่ประทับและที่อยู่แด่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข. พวกเทวบุตรซึ่งเป็นดุจกรรมกร
ที่พระราชาทรงส่งไป ได้ถือเอาข้าวยาคูและของเคี้ยวเป็นต้นไป ถามอยู่ว่า พระผู้เป็นเจ้าสีวลีไปไหน ดังนี้
แล้วจึงไป.
พระเถระให้ช่วยกันถือเอาสักการะและสัมมมานะแล้วไปเฝ้าพระศาสดา.
10
พระศาสดาได้ทรงเสวยร่วมกับภิกษุสงฆ์. โดยทานองนี้ แหละ พระศาสดาเมื่อจะทรงเสวย
สักการะ เสด็จไปวันละโยชน์เป็นอย่างสูง จนล่วงพ้นหนทางกันดาร ๓๐ โยชน์ เสด็จถึงที่อยู่ของพระชทิรวนิย
เรวตเถระแล้ว.
พระเถระทราบว่าพระศาสดาเสด็จมา จึงเนรมิตวิหารจานวนเพียงพอแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้า
เป็นประมุข และเนรมิตพระคันธกุฎีที่ประทับกลางคืนและที่ประทับกลางวันแด่พระทศพล ด้วยฤทธิ์ ณ ที่อยู่
ของตนนั่นแหละแล้วออกไปทาการต้อนรับพระตถาคตเจ้า.
พระศาสดาเสด็จเข้าไปยังพระวิหารตามหนทางที่ประดับตกแต่งแล้ว.
ครั้นเมื่อพระตถาคตเสด็จเข้าไปยังพระคันธกุฎีแล้ว พวกภิกษุจึงค่อยเข้าไปยังเสนาสนะที่ถึงแล้ว
ตามลาดับพรรษา.
พวกเทวดาคิดว่า เวลานี้ มิใช่เวลาอาหาร จึงได้นาเอาน้าปานะ ๘ อย่างถวาย.
พระศาสดาทรงดื่มน้าปานะร่วมกับภิกษุสงฆ์. เมื่อพระตถาคตเสวยสักการะและสัมมานะโดย
ทานองนี้ นั่นแหละ เวลาผ่านไปแล้วครึ่งเดือน.
ลาดับนั้น ภิกษุผู้ไม่พอใจบางพวก นั่งแล้วในที่แห่งหนึ่งพากันยกเรื่องขึ้นสนทนากันว่า พระทศ
พลตรัสว่า พระน้องชายแห่งอัครสาวกของเราดังนี้ แล้วเสด็จมาเพื่อทอดพระเนตรภิกษุผู้เป็นช่างก่อสร้าง
เห็นปานนี้ พระเชตวันมหาวิหารหรือว่าพระวิหารเช่นเวฬุวันวิหารเป็นต้น จักทาอะไรในสานักแห่งวิหารนี้ ได้
ถึงภิกษุรูปนี้ ก็เป็นผู้ทาการก่อสร้างงานเห็นอย่างนี้ จักบาเพ็ญสมณธรรมอะไรได้.
ลาดับนั้น พระศาสดาทรงดาริว่า เมื่อเราอยู่ในที่นี้ นานไป สถานที่นี้ จักกลายเป็นที่เกลื่อนกล่น
ธรรมดาพวกภิกษุผู้อยู่ในป่า ต้องการความสงบเงียบมีอยู่ การอยู่ด้วยความผาสุกจักไม่มีแก่พระเรวตะแน่.
แต่นั้นก็เสด็จไปสู่ที่พักกลางวันของพระเถระ.
แม้พระเถระก็อยู่เพียงผู้เดียวอาศัยแผ่นกระดานพาดยึดที่ท้ายจงกรม นั่งบนหลังแผ่นหินแล้ว ได้
มองเห็นพระศาสดาเสด็จมาแต่ไกลเทียว จึงลุกขึ้นต้อนรับแล้ว.
ลาดับนั้น พระศาสดาตรัสถามเธอว่า เรวตะ สถานที่นี้ เนื้ อร้าย เธอได้ฟังเสียงช้างม้าเป็นต้นที่ดุ
ร้ายแล้ว จะทาอย่างไร?
พระเถระกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ธรรมดาว่าความยินดีในการอยู่ป่า บังเกิดขึ้นแล้วแก่
ข้าพระองค์ ก็เพราะได้ฟังเสียงของสัตว์เหล่านั้นแล.
ณ สถานที่นั้น พระศาสดาได้ตรัสถึงชื่อว่า อานิสงส์ในการอยู่ป่า ด้วยพระคาถา ๕๐๐ คาถาแด่
พระเรวตเถระ.
วันรุ่งขึ้นเสด็จไปบิณฑบาตในสถานที่ไม่ไกล ตรัสเรียกพระเรวตเถระมาแล้ว ได้ทรงกระทาพวก
ภิกษุผู้ที่กล่าวโทษพระเถระให้หลงลืมไม้เท้า รองเท้า ทะนานน้ามันและร่มแล้ว.
พวกภิกษุเหล่านั้นพากันกลับมาเพื่อนาบริขารของตนไป แม้จะย้อนไปตามเส้นทางที่มาแล้วก็
ตาม แต่ไม่สามารถจะกาหนดจาสถานที่นั้นได้. เพราะเมื่อไปครั้งแรก ภิกษุเหล่านั้นเดินไปตามเส้นทางที่
ประดับตกแต่งแล้ว แต่วันนั้นเดินไปตามทางขรุขระ ในที่นั้นต้องนั่งยองๆ ต้องเดินเข่า.
ภิกษุเหล่านั้นพากันเดินเยียบย่ากอไม้ พุ่มไม้และหนาม ไปถึงสถานที่ที่ตนเคยอยู่ จาได้ว่าร่ม
11
ของตนคล้องไว้ที่ตอตะเคียนตรงนั้น ตรงนั้น จาได้ว่ารองเท้าไม้และทะนานน้ามันอยู่ตรงนั้น.
ในตอนนั้น ภิกษุเหล่านั้นจึงทราบว่าภิกษุรูปนี้ มีฤทธิ์ จึงถือเอาบริขารของตน แล้วพากันพูดว่า
สักการะเห็นปานนี้ ย่อมเป็นสักการะที่พระเถระจัดแจงไว้เพื่อพระทศพล ดังนี้ แล้วจึงได้พากันไป.
ในเวลาที่พวกภิกษุพากันนั่งแล้วในเรือนของตน นางวิสาขาอุบาสิกาจึงเรียนถามพวกภิกษุที่
ล่วงหน้ามาก่อนว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ สถานที่อยู่ของพระเรวตะเป็นที่น่าจับใจไหมหนอ?
พวกภิกษุกล่าวว่า ดูก่อนอุบาสิกา น่าจับใจ เสนาสนะนั้นมีส่วนเปรียบด้วยนันทวันและจิตตลดา
วันแล.
ต่อมา นางวิสาขาก็ถามพวกภิกษุผู้พากันภายหลังกว่าภิกษุเหล่านั้นบ้างว่า พระคุณเจ้า สถานที่
อยู่ของพระเรวตะเป็นที่น่าพอใจไหม?
ภิกษุเหล่านั้นตอบว่า อย่าถามเลย อุบาสิกา สถานที่นั้นเป็นที่ไม่สมควรจะกล่าว ภิกษุรูปนั้น
ย่อมอยู่ในสถานที่ซึ่งมีแต่ที่แห้งแล้ง ก้อนกรวด ก้อนหิน ขรุขระและตอไม้เท่านั้นแล.
นางวิสาขาได้ฟังถ้อยคาของพวกภิกษุผู้มาก่อนและมาหลังแล้ว คิดว่าถ้อยคาของภิกษุพวกไหน
หนอเป็นความจริง จึงถือเอาของหอมและระเบียบดอกไม้ภายหลังภัตรไปสู่ที่บารุงของพระทศพลเจ้า ถวาย
บังคมแล้วนั่ง ณ ที่สมควรข้างหนึ่ง กราบทูลถามพระศาสดาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุบางพวกพากัน
นินทาที่อยู่ของพระเรวตเถระ สถานที่อยู่นั่นเป็นอย่างไร พระเจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนวิสาขา ที่อยู่จะเป็นสถานที่อยู่รื่นรมย์หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่ว่าจิตของพระ
อริยะทั้งหลายย่อมยินดีในสถานที่ใด สถานที่นั้นนั่นแหละชื่อว่าสถานที่รื่นรมย์ใจ ดังนี้ แล้ว
จึงตรัสพระคาถานี้ ว่า :-
พระอรหันต์อยู่ในที่ใด จะเป็นบ้านก็ตาม ป่าก็ตาม ที่ลุ่มก็ตาม ที่ดอนก็ตาม ที่นั้นย่อมเป็นภูมิภาค
อันน่ารื่นรมย์ใจ.
ในกาลต่อมา พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งในท่ามกลางหมู่พระอริยเจ้าแล้ว ทรงสถาปนาพระ
เถระนั้นไว้ในตาแหน่งอันเลิศว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระสีวลีเป็นผู้เลิศกว่าพวกภิกษุสาวกของเราผู้มีลาภ.
ลาดับนั้น ท่านพระสีวลีเถระได้บรรลุพระอรหัต ได้รับเอกทัคตะแล้ว ระลึกถึงบุรพกรรมของตน
แล้ว เกิดความโสมนัสใจ เมื่อจะประกาศถึงเรื่องราวที่จนได้เคยประพฤติมาแล้วในกาลก่อน จึงกล่าวคา
เริ่มต้นว่า ปทุมุตฺตโร นาม ชิโน ดังนี้ .
จบอรรถกถาสีวลิเถราปทาน
-------------------------------

More Related Content

Similar to (๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf

(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdfmaruay songtanin
 
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdfmaruay songtanin
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...Tongsamut vorasan
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdfmaruay songtanin
 
๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก.pdf
๐๓. สุวรรณสามชาดก.pdf๐๓. สุวรรณสามชาดก.pdf
๐๓. สุวรรณสามชาดก.pdfmaruay songtanin
 
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docxmaruay songtanin
 
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

Similar to (๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf (20)

(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
 
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
 
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
 
1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา
1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา
1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
 
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
 
๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก.pdf
๐๓. สุวรรณสามชาดก.pdf๐๓. สุวรรณสามชาดก.pdf
๐๓. สุวรรณสามชาดก.pdf
 
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
 
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
 
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
 
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf

  • 1. 1 พระประวัติในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก ตอนที่ ๑๓ สีวลีเถราปทาน พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก ๓. สีวลีเถราปทาน ประวัติในอดีตชาติของพระสีวลีเถระ เกริ่นนา พระศาสดาผู้ทรงบาเพ็ญประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ ได้ตรัสสรรเสริญข้าพเจ้าในท่ามกลาง บริษัทว่า ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสาวกของเรา ภิกษุชื่อว่าสีวลีนี้ เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายผู้ที่มีลาภมาก (พระสีวลีเถระ เมื่อจะประกาศประวัติในอดีตชาติของตน จึงกล่าวว่า) [๕๔] พระชินเจ้าพระนามว่าปทุมุตตระ ผู้มีพระจักษุในธรรมทั้งปวง ทรงเป็นผู้นา เสด็จอุบัติขึ้น แล้วในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ นับจากกัปนี้ ไป [๕๕] สาหรับพระองค์ ศีลใครๆ ก็นับไม่ได้ สมาธิเปรียบได้ดังเพชร ญาณที่ประเสริฐใครๆ ก็นับ ไม่ได้ และวิมุตติก็หาอะไรเปรียบมิได้ [๕๖] พระผู้ทรงเป็นผู้นา ทรงแสดงธรรม ในสมาคมมนุษย์ เทวดา นาค และพรหม ซึ่งเนืองแน่น ไปด้วยสมณะและพราหมณ์ [๕๗] พระพุทธองค์ผู้แกล้วกล้าในท่ามกลางบริษัท ทรงตั้งสาวกของพระองค์ ผู้มีลาภมาก มีบุญ มี ความรุ่งเรืองไว้ในตาแหน่งเอตทัคคะ [๕๘] ครั้งนั้น ข้าพเจ้าเป็นกษัตริย์ในกรุงหงสวดี ได้ฟังพระชินเจ้าตรัสถึงคุณเป็นอันมากของสาวก นั้น [๕๙] ข้าพเจ้าจึงทูลนิมนต์พระชินสีห์พร้อมด้วยสาวก ให้เสวยและฉันตลอด ๗ วัน ครั้นถวายมหา ทานแล้ว ก็ได้ปรารถนาตาแหน่งนั้น [๖๐] ครั้งนั้น พระธีรเจ้าผู้องอาจกว่าบุรุษ ทอดพระเนตรเห็นข้าพเจ้าผู้หมอบอยู่แทบยุคลบาท จึง ได้ตรัสพระดารัสนี้ ด้วยพระสุรเสียงอย่างกึกก้อง [๖๑] ลาดับนั้น ผู้ประสงค์จะสดับพระดารัสของพระชินเจ้า คือ มหาชน ทวยเทพ คนธรรพ์ พรหม ผู้มีฤทธิ์มาก
  • 2. 2 [๖๒] อนึ่ง สมณะและพราหมณ์ต่างประนมมือนมัสการ (กราบทูลว่า) ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นบุรุษ อาชาไนย ข้าพระองค์ทั้งหลายขอนอบน้อมพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นบุรุษสูงสุด ข้าพระองค์ทั้งหลายขอ นอบน้อมพระองค์ [๖๓] พระมหากษัตริย์ได้ถวายทานเกิน ๗ วัน ข้าแต่พระมหามุนี ข้าพระองค์ทั้งหลาย ประสงค์จะ ฟังผลของมหาทานนั้น ขอพระองค์โปรดพยากรณ์ด้วยเถิด [๖๔] ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงฟังภาษิตของเรา ทักษิณาที่ตั้งไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้า ผู้ทรงคุณหาประมาณมิได้พร้อมทั้งพระสงฆ์ [๖๕] ใครจะเป็นผู้กล่าวถึงทักษิณาทานได้ เพราะทักษิณานั้นมีผลหาประมาณมิได้ อนึ่ง กษัตริย์ผู้ มีโภคะมากนี้ ปรารถนาตาแหน่งอันสูงสุดว่า [๖๖] ในบรรดาคนที่มีลาภไพบูลย์ เราก็พึงเป็นผู้มีลาภเหมือนภิกษุชื่อสุทัศนะ กษัตริย์องค์นี้ จัก ทรงได้ตาแหน่งนั้นในอนาคตกาล [๖๗] ในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ นับจากกัปนี้ ไป พระศาสดาพระนามว่าโคดม ตามพระโคตร ทรงสมภพ ในราชสกุลโอกกากราช จักอุบัติขึ้นในโลก [๖๘] กษัตริย์องค์นี้ จักมีนามว่าสีวลี เป็นธรรมทายาท เป็นโอรสที่ธรรมเนรมิต เป็นสาวกของพระ ศาสดาพระองค์นั้น [๖๙] ด้วยกรรมที่ข้าพเจ้าได้ทาไว้ดีแล้วนั้น และด้วยเจตนาที่ตั้งไว้มั่น ข้าพเจ้าละกายมนุษย์แล้ว จึงได้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ [๗๐] ในกัปที่ ๙๑ นับจากกัปนี้ ไป พระผู้ทรงเป็นผู้นาสัตว์โลกพระนามว่าวิปัสสี ผู้มีพระเนตร งดงาม ทรงเห็นแจ้งธรรมทั้งปวง เสด็จอุบัติขึ้นแล้ว [๗๑] ครั้งนั้น ข้าพเจ้าเป็นคนโปรดปราน เป็นคนที่ขยันและขวนขวายในการงาน แห่งตระกูลหนึ่ง อยู่ในกรุงพันธุมดี [๗๒] ครั้งนั้น ชุมชนหมู่หนึ่งสั่งให้นายช่างสร้างบริเวณ ซึ่งปรากฏชื่อว่ามหันต์ ถวายพระผู้ แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ พระนามว่าวิปัสสี [๗๓] เมื่อการสร้างบริเวณสาเร็จแล้ว พวกเขาได้ถวายมหาทานซึ่งประกอบด้วยของเคี้ยว มัวแต่ แสวงหานมส้มใหม่ และน้าผึ้งใหม่อยู่จึงไม่ได้ถวาย [๗๔] ขณะนั้น ข้าพเจ้ากาลังถือนมส้ม และน้าผึ้งใหม่เดินไปยังเรือนของนายจ้าง ชนทั้งหลายที่ แสวงหานมส้มและน้าผึ้งใหม่มาพบข้าพเจ้า [๗๕] ถึงให้ราคาถึง ๑,๐๐๐ กหาปณะ ก็ยังไม่ได้ของ ๒ อย่างนั้น ลาดับนั้น ข้าพเจ้าคิดว่า ของ อย่างนี้ จักไม่ใช่เป็นของเล็กน้อยเลย [๗๖] ชนเหล่านี้ ทั้งหมดสักการะพระตถาคต ฉันใด แม้เราก็จักทาสักการะพระผู้ทรงเป็นผู้นาสัตว์ โลกพร้อมทั้งพระสงฆ์ ฉันนั้น [๗๗] ครั้งนั้น ข้าพเจ้าได้นานมส้มและน้าผึ้งไป ผสมเข้าด้วยกัน แล้วถวายพระโลกนาถพร้อมทั้ง พระสงฆ์
  • 3. 3 [๗๘] ด้วยกรรมที่ข้าพเจ้าได้ทาไว้ดีแล้วนั้น และด้วยเจตนาที่ตั้งไว้มั่น ข้าพเจ้าละกายมนุษย์แล้ว จึงได้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ [๗๙] ข้าพเจ้าได้เป็นพระเจ้าแผ่นดิน ผู้มียศยิ่งใหญ่ในกรุงพาราณสีอีก ครั้งนั้น ข้าพเจ้าแค้นใจ ศัตรูจึงสั่งทหารให้ปิดประตูเมือง [๘๐] ครั้งนั้น เหล่าพระราชาผู้มีเดช ที่ถูกล้อมรักษาไว้ได้เพียงวันเดียว เพราะวิบากแห่งกรรมนั้น ข้าพเจ้าจึงต้องตกนรกที่ร้ายกาจ [๘๑] บัดนี้ เป็นภพสุดท้าย ข้าพเจ้าเกิดในกรุงโกลิยะ พระชนนีของข้าพเจ้าพระนามว่าสุปปวาสา พระชนกของข้าพเจ้าพระนามว่ามหาลิลิจฉวี [๘๒] ข้าพเจ้าเกิดในขัตติยตระกูลก็เพราะบุญกรรม แต่เพราะอานุภาพแห่งการปิดประตูเมือง ข้าพเจ้าจึงต้องประสบทุกข์ อยู่ในพระครรภ์ของพระมารดาถึง ๗ ปี [๘๓] ข้าพเจ้าหลงช่องคลอดอีก ๗ วัน ประสบทุกข์หนัก พระมารดาของข้าพเจ้าต้องประสบทุกข์ แสนสาหัสเช่นนี้ ก็เพราะมีความพอใจให้ปิดประตูเมือง [๘๔] ข้าพเจ้าผู้ที่พระพุทธเจ้าทรงอนุเคราะห์แล้ว จึงคลอดออกจากพระครรภ์ของพระมารดาโดย ความสวัสดี ข้าพเจ้าได้ออกบวชเป็นบรรพชิตในวันที่คลอดนั่นเอง [๘๕] พระสารีบุตรเถระผู้มีปัญญามาก เป็นพระอุปัชฌาย์ของข้าพเจ้า พระมหาโมคคัลลานเถระผู้ มีฤทธิ์มาก เมื่อปลงผมให้ได้พร่าสอนข้าพเจ้า [๘๖] ในขณะกาลังปลงผม ข้าพเจ้าก็ได้บรรลุอรหัตตผล ทวยเทพ หมู่นาค และมนุษย์ทั้งหลาย ต่างก็น้อมนาปัจจัยเข้ามาถวายข้าพเจ้า [๘๗] ข้าพเจ้าเป็นผู้มีใจยินดีปรีดา บูชาพระโลกนาถพระนามว่าปทุมุตตระ และพระพุทธเจ้าพระ นามว่าวิปัสสี ผู้ทรงเป็นผู้นาวิเศษด้วยปัจจัยทั้งหลายโดยพิเศษ [๘๘] ด้วยผลอันวิเศษแห่งกรรมนั้น ข้าพเจ้าจึงได้ลาภที่อุดมไพบูลย์ในที่ทุกแห่ง คือในป่า ในบ้าน ในน้า และบนบก [๘๙] ในคราวใด พระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้นาชั้นเลิศในโลก เป็นผู้นาวิเศษพร้อมด้วยภิกษุ ๓๐,๐๐๐ รูป เสด็จไปเยี่ยมพระเรวตะ [๙๐] ในคราวนั้น ข้าพเจ้าบารุงพระพุทธเจ้า ผู้ทรงมีปรีชามาก ทรงมีความเพียรมาก ทรงเป็น ผู้นาสัตว์โลก พร้อมด้วยพระสงฆ์ด้วยปัจจัย ๔ ที่เหล่าเทวดาน้อมนามาถวายข้าพเจ้า [๙๑] พระองค์ได้เสด็จเยี่ยมพระเรวตะแล้ว ภายหลังเสด็จกลับไปยังพระเชตะวันมหาวิหาร จึงทรง แต่งตั้งข้าพเจ้าไว้ในเอตทัคคะ [๙๒] พระศาสดาผู้ทรงบาเพ็ญประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ ได้ตรัสสรรเสริญข้าพเจ้าใน ท่ามกลางบริษัทว่า ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสาวกของเรา ภิกษุชื่อว่าสีวลีนี้ เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายผู้ที่มีลาภมาก [๙๓] กิเลสทั้งหลายข้าพเจ้าก็เผาได้แล้ว ภพทั้งปวงข้าพเจ้าก็ถอนได้แล้ว ข้าพเจ้าตัดกิเลสเครื่อง ผูกพันได้แล้วอยู่อย่างผู้ไม่มีอาสวะ ดุจพญาช้างตัดเครื่องพันธนาการได้แล้วอยู่อย่างอิสระ
  • 4. 4 [๙๔] การที่ข้าพเจ้ามาในสานักของพระพุทธเจ้า เป็นการมาดีแล้วโดยแท้ วิชชา ๓ ข้าพเจ้าได้ บรรลุแล้วโดยลาดับ คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ข้าพเจ้าก็ได้ทาสาเร็จแล้ว [๙๕] คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ ข้าพเจ้าได้ทาให้แจ้งแล้ว คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ข้าพเจ้าก็ได้ทาสาเร็จแล้ว ดังนี้ แล ได้ทราบว่า ท่านพระสีวลีเถระได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ด้วยประการฉะนี้ สีวลีเถราปทานที่ ๓ จบ ------------------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา สีวลิเถราปทาน แม้พระเถระรูปนี้ ก็ได้เคยบาเพ็ญกุศลมาแล้วในพระพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ ได้สั่งสมบุญอันเป็น อุปนิสัยแห่งพระนิพพานไว้เป็นอันมากในภพนั้นๆ. ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า ปทุมุตตระ ท่านได้บังเกิดในเรือนอันมีสกุล ได้ไปยัง พระวิหารโดยนัยดังที่ได้กล่าวไว้แล้วในหลัง ยืนอยู่ท้ายบริษัท ขณะกาลังฟังธรรม ได้เห็นภิกษุรูปหนึ่งซึ่งพระ ศาสดาทรงสถาปนาเธอไว้ในตาแหน่งที่เลิศกว่าพวกภิกษุผู้มีลาภ แล้วคิดว่า ในอนาคตกาลแม้เราก็ควรเป็น เช่นภิกษุรูปนี้ บ้าง จึงได้นิมนต์พระทศพล ถวายมหาทานแด่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขตลอด ๗ วัน แล้วได้ตั้งความปรารถนาไว้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ด้วยกรรมดีที่สั่งสมไว้นี้ ข้าพระองค์มิได้ปรารถนา สมบัติอื่นเลย หากแต่ในอนาคตกาล ในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง แม้ข้าพระองค์พึงก็เป็นผู้ เลิศกว่าพวกภิกษุผู้มีลาภเหมือนเช่นภิกษุที่พระองค์ทรงสถาปนาไว้ในตาแหน่งที่เลิศนั้นเถิด. พระศาสดาทรงเห็นว่าเขาไม่มีอันตราย จึงพยากรณ์ว่า ความปรารถนาของเธอนี้ จักสาเร็จใน สานักของ พระโคดมพุทธเจ้า ในอนาคตกาล แล้วเสด็จหลีกไป. กุลบุตรนั้นได้กระทากุศลไว้จนตลอดชีวิตแล้ว ได้เสวยสมบัติทั้ง ๒ ในเทวโลกและมนุษยโลก. ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า วิปัสสี เขาได้เกิดในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ซึ่งไม่ไกลจาก พันธุมดีนคร. ในสมัยนั้น ชนชาวพันธุมดีนครได้สนทนากันกับพระราชาแล้ว ได้ถวายทานแด่พระทศพลเจ้า. วันหนึ่ง คนทั้งหมดได้รวมเป็นพวกเดียวกัน เมื่อจะถวายทานก็ตรวจดูว่า ความเลิศแห่งทานของ พวกเรามีหรือไม่หนอ ไม่ได้เห็นน้าผึ้งและนมส้ม. คนเหล่านั้นจึงคิดว่าพวกเราจักนามาจากที่ไหนหนอ จึง มอบหน้าที่ให้พวกบุรุษยืนอยู่ที่หนทางจากชนบทเข้าพระนคร. ครั้งนั้น กุลบุตรคนนั้นถือเอาหม้อนมส้มมาจากบ้านของตน เดินทางไปยังเมือง ด้วยคิดว่า เรา จักแลกนาอะไรบางอย่างมา ดังนี้ มองไปเห็นสถานที่อันมีความผาสุกคิดว่า เราจักล้างหน้า ชาระล้างมือและ เท้าให้สะอาดก่อนแล้วจึงจักเข้าไป ดังนี้ แล้วได้มองเห็นรังผึ้งอันไม่มีตัวผึ้งประมาณเท่าหัวไถ คิดว่า สิ่งนี้ เกิดขึ้นแล้วแก่เราด้วยบุญ จึงถือเอาแล้ว เข้าไปยังพระนคร. บุรุษที่ชาวพระนครมอบหมายหน้าที่ให้ เห็นเขาแล้วจึงถามว่า แน่ะเพื่อน ท่านนาน้าผึ้งเป็นต้นนี้ มาเพื่อใคร.
  • 5. 5 เขาตอบว่า นาย เรามิได้นามาเพื่อใคร สิ่งนี้ เราขาย. บุรุษนั้นจึงพูดว่า ถ้าเช่นนั้น ท่านจงถือเอากหาปณะนี้ แล้ว จงให้น้าผึ้งและนมส้มนั้นเถิด เขาคิดว่า น้าผึ้งเป็นต้นนี้ มิได้มีค่ามากสาหรับเราเลย แต่บุรุษนี้ ย่อมให้ราคามากกว่าโดยการให้ ราคาครั้งเดียว เราจักพิจารณาดู. ต่อแต่นั้น เขาจึงกล่าวกะชาวเมืองนั้นว่า เราจะไม่ยอมให้ด้วยราคาเพียง กหาปณะเดียว. บุรุษชาวเมืองจึงกล่าวว่า ถ้าอย่างนั้น ท่านรับกหาปณะ ๒ อันไปแล้วจงให้น้าผึ้งเป็นต้นเถิด. เขา กล่าวว่า ถึงจะให้กหาปณะ ๒ อัน เราก็ไม่ยอมให้. บุรุษชาวเมืองเพิ่มกหาปณะขึ้นด้วยอุบายนั้นจนถึงพัน กหาปณะ. เขาคิดว่า เราไม่ควรเพิ่มราคาขึ้น หยุดไว้ก่อน เราจักถามถึงการงานที่ผู้นี้ จะพึงทา. ลาดับนั้น เขาจึงกล่าวกะบุรุษชาวเมืองนั้นว่า น้าผึ้งเป็นต้นนี้ มิได้มีค่ามีราคามากเลย แต่ท่านให้ ราคาเสียมากมาย ท่านจะรับน้าผึ้งเป็นต้นนี้ ไป เพราะจะทาอะไร. บุรุษชาวเมืองชี้แจงว่า ท่านผู้เจริญ ชาวพระนครในที่นี้ ได้ขัดแย้งกับพระราชากาลังถวายทานแด่ พระวิปัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้า มองไม่เห็นน้าผึ้งเป็นต้นทั้งสองนี้ ในทานอันเลิศ จึงใช้ให้เรามาแสวงหา ถ้าว่า จักไม่ได้น้าผึ้งเป็นต้นทั้งสองนี้ ไซร้ พวกชาวเมืองก็จักมีความพ่ายแพ้แน่ เพราะฉะนั้น เราให้ทรัพย์พัน กหาปณะแล้ว จะขอรับน้าผึ้งเป็นต้นไป. เขากล่าวว่า ก็น้าผึ้งเป็นต้นนี้ สมควรแก่พวกชาวเมืองเท่านั้นหรือ หรือว่าสมควรเพื่อให้แก่ชน เหล่าอื่นก็ได้. บุรุษชาวเมืองตอบว่า น้าผึ้งเป็นต้นนี้ เรามิได้ห้ามเพื่อจะให้แก่ใคร. เขากล่าวว่ามีใครบ้างไหมที่ให้ทรัพย์พันหนึ่งตลอดวันหนึ่งในทานของพวกชาวพระนคร. บุรุษชาวเมืองตอบว่า ไม่มีดอก เพื่อน. เขากล่าวว่า น้าผึ้งเป็นต้นนี้ ที่เราให้แก่พวกชาวเมืองเหล่านี้ ท่านจงรู้ว่ามีค่าราคาตั้งพันเชียวนะ. บุรุษชาวเมืองตอบว่า ใช่ เรารู้. เขากล่าวว่า ถ้าเช่นนั้นจงไปท่านจงบอกให้พวกชาวเมืองรู้ว่า บุรุษคนหนึ่งไม่ยอมให้สิ่งของ เหล่านี้ ด้วยมูลค่าสองพัน เขาประสงค์จะร่วมกับพวกท่านให้ด้วยมือของตนเอง พวกท่านจงหมดความกังวล ใจ เพราะเหตุแห่งสิ่งของทั้งสองอย่างนี้ เถิด. บุรุษชาวเมืองกล่าวว่า ท่านจงเป็นพยานของผู้มีส่วนเป็นหัวหน้าในทานนี้ ด้วยเถิด แล้วก็ไป. ส่วนกุลบุตรนั้นได้เอากหาปณะที่ตนเก็บไว้เพื่อเสบียงเดินทางจากบ้านไปซื้อเครื่องเทศ ๕ อย่าง แล้ว ทาให้ป่น นาเอาน้าส้มมาจากนมส้มแล้ว คั้นรังผึ้งลงในนั้น ปรุงด้วยจุณเครื่องเทศ ๕ อย่างแล้ว ใส่ลง ในบัวตระเตรียมสิ่งนั้นเรียบร้อยแล้ว ถือไปนั่งในที่ไม่ไกลพระทศพล. เมื่อมหาชนเป็นอันมากนาเอาสักการะไป เขามองดูวาระที่จะถึงแก่ตนในลาดับ รู้ช่องทางแล้ว จึงเข้าเฝ้าพระศาสดา กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สักการะอันยากไร้นี้ เป็นของข้าพระองค์ ขอพระองค์ โปรดอาศัยความอนุเคราะห์ข้าพระองค์ รับสักการะนี้ เถิด. พระศาสดาทรงอนุเคราะห์เขา ทรงรับสักการะนั้นด้วยบาตรศิลา อันท้าวมหาราชทั้ง ๔ ถวาย
  • 6. 6 แล้ว ได้ทรงอธิษฐานโดยประการที่เมื่อถวายแก่ภิกษุ ๖ ล้าน ๘ แสนรูป สักการะก็ไม่หมดไป. กุลบุตรนั้นถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เสร็จภัตรกิจเรียบร้อยแล้ว นั่ง ณ ที่สมควรข้างหนึ่ง แล้ว กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว วันนี้ พวกชาวพันธุมดีนคร นาสักการะมาถวายพระองค์ ด้วยผลแห่งกายถวายสักการะนี้ แม้ข้าพระองค์พึงเป็นผู้เลิศด้วยลาภและเลิศ ด้วยยศ ในภพที่เกิดแล้วเกิดแล้วเถิด. พระศาสดาตรัสว่า จงเป็นอย่างปรารถนาเถิดกุลบุตร แล้วทรงกระทาภัตตานุโมทนาแก่เขา และ ชาวพระนคร แล้วก็เสด็จหลีกไป. กุลบุตรคนนั้นทากุศลจนตลอดชีวิตแล้ว ท่องเที่ยวไปในเทวโลกและมนุษยโลก. ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้ถือปฏิสนธิในครรภ์ของพระราชธิดา สุปปวาสา. จาเดิมแต่เวลาที่เขาถือปฏิสนธิมา คนทั้งหลายย่อมนาเอาบรรณาการ ๕๐๐ สิ่งมาถวายแด่พระ นางสุปปวาสา ทั้งเวลาเย็นและเวลาเช้า. ลาดับนั้น พระนางทรงยืนใช้ให้คนเอามือแตะกระเช้าพืช เพื่อจะทดลองบุญบารมีของเขา. ร้อย สลากจากพืชแต่ละเมล็ด ย่อมรวมลงในพันสลาก. จากนาแต่ละกรีสก็เกิดข้าวมีประมาณ ๕๐ เกวียน ๖๐ เกวียน. เมื่อพระราชธิดาเอาพระหัตถ์ไปและที่ประตูฉาง แม้ในเวลาที่ฉางยังเต็มเปี่ยม เมื่อคนทั้งหลายมารับ เอาไป ก็เต็มขึ้นอีกด้วยบุญ. แม้จากหม้อที่เต็มเปี่ยมด้วยภัตร ชนทั้งหลายกล่าวว่าเป็นบุญของพระราชธิดา ดังนี้ แล้ว เมื่อให้แก่ใครคนใดคนหนึ่ง ตลอดเวลาที่ยังไม่ดึงมือออก ภัตรก็ยังไม่พร่องไป. ขณะที่ทารกยังอยู่ในท้องนั่นแล ได้ล่วงไปแล้ว ๗ ปี. ก็เมื่อพระครรภ์แก่เต็มที่แล้ว พระนางได้เสวยทุกขเวทนามากตลอด ๗ วัน พระนางทูลเชิญพระ ราชสวามีมาแล้วตรัสว่า ก่อนตาย หม่อมฉันจักขอถวายทานขณะยังมีชีวิตอยู่ ดังนี้ แล้วทรงส่งพระราชสวามี ไปยังสานักของพระศาสดาว่า ข้าแต่พระสวามี ขอพระองค์จงไปกราบทูลให้พระศาสดาทรงทราบความ เป็นไปนี้ แล้ว จงนิมนต์พระศาสดามา และพระศาสดาตรัสพระดารัสอันใด พระองค์จงกาหนดพระดารัสนั้น ให้ดี แล้วกลับมาบอกแก่หม่อมฉัน. พระสวามีนั้นเสด็จไปถึงแล้ว กราบทูลข่าวสาสน์ของพระนางให้พระศาสดาทรงทราบแล้วว่า ข้า แต่พระองค์ผู้เจริญ พระนางโกลิยธิดาฝากถวายบังคมมาที่พระบาทของพระศาสดา. พระศาสดาทรงอาศัยความอนุเคราะห์พระนาง ตรัสว่า ขอพระนางสุปปวาสาโกลิยธิดาจงเป็นผู้ มีความสุข ปราศจากโรคภัยเถิด จงคลอดบุตรที่หาโรคมิได้เถิด. พระสวามีนั้นทรงฟังพระราชดารัสนั้นแล้ว ก็ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว มุ่งตรงไปยัง บ้านของตน. สัตว์ผู้มาบังเกิดในครรภ์ได้คลอดออกจากท้องของพระนางสุปปวาสา ง่ายดายดุจเทน้าออกจาก ธรมกรกฉะนั้น เรียบร้อยก่อนที่พระสวามีจะมาถึง ประชาชนที่มานั่งแวดล้อมมีน้าตาคลอ เริ่มจะร้องไห้ ก็ กลับเป็นหัวเราะว่าดีใจเมื่อพระสวามีของพระนางกลับมาแจ้งข่าวสาสน์อันน่ายินดีให้ได้ทราบ. พระสวามีนั้นทรงเห็นกิริยาท่าทางของคนเหล่านั้นแล้ว ทรงคิดว่า ชะรอยว่าพระดารัสที่พระทศ พลตรัสแล้ว คงจักสาเร็จผลไปในทางทีดีเป็นแน่. พระสวามีนั้นพอเสด็จมาถึงแล้ว ก็ตรัสถึงพระดารัสของ
  • 7. 7 พระศาสดาแก่พระราชธิดา. พระราชธิดาตรัสว่า ความภักดีในชีวิตที่พระองค์นิมนต์พระศาสดาแล้วนั่นแหละ จักเป็นมงคล ขอพระองค์จงไปนิมนต์พระทศพลตลอด ๗ วัน. พระราชสวามีทรงกระทาตามพระดารัสของพระนางแล้ว. ชนทั้งหลายได้ยังมหาทานให้เป็นไปแด่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขตลอด ๗ วันแล้ว. ทารกนั้นเป็นผู้ทาจิตใจของหมู่ญาติที่กาลังเร่าร้อนให้ดับสนิทคือทาให้กลายเป็นความเย็น เพราะเหตุนั้น หมู่ญาติจึงตั้งชื่อเขาว่า สีวลี. ตั้งแต่เวลาที่ได้เกิดมาแล้ว ทารกนั้นได้เป็นผู้แข็งแรง อดทนได้ ในการงานทั้งปวง (มีกาลังดี) เพราะค่าที่เขาอยู่ในครรภ์มานานถึง ๗ ปี. พระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระได้ทาการสนทนาปราศรัยกับเขาในวันที่ ๗. แม้พระศาสดาก็ได้ตรัสพระคาถานี้ ไว้ว่า :- บุคคลใดล่วงพ้นหนทางลื่น หล่ม สงสาร โมหะได้ข้ามฝั่งแล้ว มีความเพียรเพ่งพินิจไม่มีความ หวั่นไหว หมดความสงสัย ดับแล้วเพราะไม่ยึดมั่นถือมั่น เราเรียกบุคคลนั้นว่าเป็นพราหมณ์. ลาดับนั้น พระเถระได้กล่าวกะเด็กนั้นอย่างนี้ ว่า เธอได้รับความทุกข์เห็นปานนี้ การบวชจะไม่ สมควรหรือ. เด็กคนนั้นตอบว่าเมื่อได้รับอนุญาตก็จะพึงบวช ขอรับ. พระนางสุปปวาสาเห็นเด็กนั้นกาลังพูดกับพระเถระ จึงคิดว่า ลูกของเรากาลังพูดเรื่องอะไรกับ พระธรรมเสนาบดีหนอแล จึงเข้าไปหาพระเถระถามว่า ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ ลูกชายของดิฉัน พูดเรื่อง อะไรกับพระคุณเจ้า. พระเถระพูดว่า เด็กนั้นพูดถึงความทุกข์ในการอยู่ในครรภ์ที่ตนเองได้เสวยมาแล้ว แล้วพูดว่า กระผมได้รับอนุญาตแล้ว จักบวช. พระนางตรัสว่า ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ ดีละ ขอให้พระคุณเจ้าให้เขาบวชเถิด. พระเถระจึงนาเขาไปยังวิหารแล้วได้ให้ ตจปัญจกกัมมัฏฐาน แล้ว ก็ให้เขาบวช พร่าสอนว่า สีวลี เอ่ย! หน้าที่เกี่ยวกับโอวาทอย่างอื่นของเธอไม่มี เธอจงพิจารณาถึงความทุกข์ที่เธอได้เสวยมาแล้วตลอด ๗ ปี เถิด. ท่านตอบว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ กระผมจักได้รู้ถึงภาระของท่านเกี่ยวกับการบวชบ้าง เพื่อผมจัก ได้ทาตาม. ก็พระสีวลีนั้นได้ดารงอยู่ในโสดาปัตติผล ในขณะที่เขาปลงมวยผมชั้นที่ ๑ ลง ได้ดารงอยู่ใน สกทาคามิผล ในขณะที่เขาปลงมวยผมชั้นที่ ๒ ลง ได้ดารงอยู่ในอนาคามิผล ในขณะที่เขาปลงมวยผมชั้นที่ ๓ ลง การปลงผมทั้งหมดได้อย่างเรียบร้อย และการกระทาให้แจ้งซึ่งพระอรหัตผลได้มีแล้วในเวลาไม่ก่อนไม่ หลังแล. ต่อมา ได้มีถ้อยคาเกิดขึ้นในหมู่ภิกษุว่า โอ พระเถระถึงจะมีบุญอย่างนี้ ก็ยังอยู่ในครรภ์ของ มารดาถึง ๗ ปี ๗ เดือน แล้วยังอยู่ในครรภ์หลงอีก ๗ วัน. พระศาสดาเสด็จมาแล้วตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอกาลังนั่งสนทนากันด้วยเรื่อง
  • 8. 8 อะไรหนอ เมื่อพวกภิกษุกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรผู้นี้ มิใช่กระทา กรรมไว้ในชาตินี้ เท่านั้นแล้ว ทรงนาอดีตนิทานมาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในอดีตกาล ก่อนแต่พุทธรูปบาทกาลนั่นแล กุลบุตรผู้นี้ ได้บังเกิดในราช ตระกูลในกรุงพาราณสี พอพระราชบิดาสวรรคตแล้วก็ได้ดารงอยู่ในราชสมบัติ ได้ปรากฏว่าสมบูรณ์ด้วย สมบัติ. ในคราวนั้น พระราชาปัจจันตชนบทพระองค์หนึ่งทรงดาริว่า เราจักยึดเอาราชสมบัติให้ได้ แล้ว จึงเสด็จมาล้อมพระนครเอาไว้ ได้ตั้งค่ายพักแรมแล้ว. ลาดับนั้น พระราชาได้มีสมานฉันท์เป็นอันเดียวกันกับพระราชมารดา สั่งให้ปิดประตูทั้ง ๔ ทิศ ตั้งค่ายป้องกันตลอด ๗ วัน ความหลงประตูได้มีแก่พวกคนที่จะเข้าไป และคนที่จะออกมา. ครั้งนั้น พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายประกาศธรรมในมิคทายวิหาร. พระราชาได้ทรงสดับแล้ว จึงทรงมีรับสั่งให้เปิดประตูเมืองแล. แม้พระเจ้าปัจจันตราชาก็ทรงหนีไปแล้ว. ด้วยวิบากแห่งกรรมอันนั้น เขาจึงได้เสวยความทุกข์ในอบายมีนรกเป็นต้น. ในพุทธุปบาทกาลนี้ แม้จะได้บังเกิดในราชตระกูลก็ตาม ยังได้เสวยความทุกข์เห็นปานนี้ ร่วมกับ พระราชมารดา. ก็ตั้งแต่เวลาที่ท่านได้บวชแล้ว ปัจจัย ๔ ย่อมบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุสงฆ์ตามปรารถนา. เรื่องในอดีตนี้ ได้บังเกิดขึ้นแล้วอย่างนี้ . ในกาลต่อมา พระศาสดาได้เสด็จไปยังพระนครสาวัตถี. พระเถระได้ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค เจ้า กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักทดลองกาลังบุญของข้าพระองค์ ขอพระองค์จงประทาน ภิกษุให้ ๕๐๐ องค์เถิด. พระศาสดาตรัสว่า เธอจงพาไปเถิดสีวลี. พระสีวลีนั้นได้พาภิกษุ ๕๐๐ องค์ไปแล้ว มุ่งหน้าไปยังหิมวันตประเทศ ถึงหนทางปากดง. เทวดาที่สิง อยู่ ณ ต้นนิโครธอันพระเถระนั้นเห็นแล้วเป็นครั้งแรก ได้ถวายทานแล้วตลอด ๗ วัน. เพราะเหตุนั้น พระเถระนั้นจึงกล่าวว่า :- ท่านจงดูต้นนิโครธเป็นครั้งที่ ๑ ภูเขาบัณฑวะเป็นครั้งที่ ๒ แม่น้าอจิรวดีเป็นครั้งที่ ๓ แม่น้า สาครอันประเสริฐเป็นครั้งที่ ๔ ภูเขาหิมวันต์เป็นครั้งที่ ๕ ท่านเข้าถึงสระฉัททันต์เป็นครั้งที่ ๖ ภูเขาคันธ มาทน์เป็นครั้งที่ ๗ และที่อยู่ของพระเรวตะเป็นครั้งที่ ๘. ประชาชนทั้งหลายได้ถวายทานในที่ทุกแห่งตลอด ๗ วันเท่านั้น. ก็ในบรรดา ๗ วัน นาคทัตตเทวราชที่ภูเขาคันธมาทน์ ได้ถวายบิณฑบาตชนิดน้านมวันหนึ่ง ได้ ถวายบิณฑบาตชนิดเนยใสวันหนึ่ง. ลาดับนั้น ภิกษุสงฆ์จึงกล่าวกะท่านว่า ผู้มีอายุ แม่โคนมที่เขารีดนมถวายแด่เทวราชนี้ มิได้ ปรากฏ การบีบน้านมส้มก็มิได้ปรากฏ แน่ะเทวราช ผลที่เกิดขึ้นแก่ท่านแต่กาลไร. เทวราชาตรัสว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ผลนี้ เป็นผลแห่งการถวายสลากภัตรน้านมในกาลแห่ง
  • 9. 9 พระกัสสปทศพล. ในกาลต่อมา พระศาสดาได้ทรงกระทาการต้อนรับพระขทิรวนิยเรวตเถระ. อย่างไร คือ ครั้งนั้น พระสารีบุตรกราบทูลพระศาสดาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ นัยว่า พระเรวตะผู้เป็น น้องชายของข้าพระองค์บวชแล้ว เธอจะพึงยินดียิ่ง (ในพระศาสนา) หรือไม่พึงยินดี ข้าพระองค์จักไปเยี่ยม เธอ. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบว่า พระเรวตะเริ่มทาความเพียรเจริญวิปัสสนา จึงทรงห้าม (พระ สารีบุตร) ถึง ๒ ครั้ง. ในครั้งที่ ๓ เมื่อพระสารีบุตรทูลอ้อนวอนอีก ทรงทราบว่า พระเรวตะบรรลุพระอรหัตแล้ว จึง ตรัสว่า สารีบุตร แม้เราเองก็จักไป เธอจงบอกให้พวกภิกษุได้ทราบด้วย. พระเถระสั่งให้ภิกษุทั้งหลายมาประชุมกันแล้ว แจ้งให้ภิกษุทั้งหมดได้ทราบด้วยคาว่า ผู้มีอายุ ทั้งหลาย พระศาสดาทรงมีพระประสงค์จะเสด็จไปสู่ที่จาริก พวกท่านผู้มีความประสงค์จะตามเสด็จด้วยก็จง มาเถิด. ในกาลที่พระทศพลจะเสด็จไปสู่ที่จากริก ชื่อว่าพวกภิกษุผู้ที่มักชักช้าอยู่ มีจานวนน้อย โดยมาก มีความประสงค์จะตามเสด็จมีจานวนมากกว่า เพราะตั้งใจกันว่า พวกเราจักได้เห็นพระสรีระอันมีวรรณะดุจ ทองคาของพระศาสดา หรือว่าพวกเราจักได้ฟังพระธรรมกถาอันไพเราะ เพราะเหตุนั้น พระศาสดามีภิกษุ สงฆ์หมู่ใหญ่เป็นบริวาร เสด็จออกไปด้วยพระประสงค์ว่า จักเยี่ยมพระเรวตะ. ณ ที่ประเทศแห่งหนึ่ง พระอานนเถระถึงหนทาง ๒ แพร่ง แล้วกราบทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้า ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ตรงนี้ มีหนทาง ๒ แพร่ง ภิกษุสงฆ์จะไปทางไหน พระเจ้าข้า. พระศาสดาตรัสถามว่า อานนท์ หนทางไหนเป็นหนทางตรง. พระอานนท์กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หนทางตรงมีระยะประมาณ ๓๐ โยชน์เป็น หนทางที่มีอมนุษย์ ส่วนหนทาง อ้อมมีระยะทาง ๖๐ โยชน์ เป็นหนทางสะดวกปลอดภัย มีภิกษาดีหาง่าย. พระศาสดาตรัสว่า อานนท์ สีวลีได้มาพร้อมกับพวกเรามิใช่หรือ. พระอานนท์กราบทูลว่า ใช่ พระสีวลีมาแล้ว พระเจ้าข้า. พระศาสดาตรัสว่า ถ้าอย่างนั้น พระสงฆ์จงไปตามเส้นทางตรงนั้นแหละ เราจักได้ทดลองบุญ ของพระสีวลี. พระศาสดามีพระภิกษุสงฆ์เป็นบริวาร เสด็จขึ้นสู่เส้นทาง ๓๐ โยชน์ เพื่อจะทรงทดลองบุญของ พระสีวลีเถระ. จาเดิมแต่ที่ได้เสด็จไปตามหนทาง หมู่เทวดาได้เนรมิตพระนครในที่ทุกๆ โยชน์ ช่วยกันจัดแจง พระวิหารเพื่อเป็นที่ประทับและที่อยู่แด่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข. พวกเทวบุตรซึ่งเป็นดุจกรรมกร ที่พระราชาทรงส่งไป ได้ถือเอาข้าวยาคูและของเคี้ยวเป็นต้นไป ถามอยู่ว่า พระผู้เป็นเจ้าสีวลีไปไหน ดังนี้ แล้วจึงไป. พระเถระให้ช่วยกันถือเอาสักการะและสัมมมานะแล้วไปเฝ้าพระศาสดา.
  • 10. 10 พระศาสดาได้ทรงเสวยร่วมกับภิกษุสงฆ์. โดยทานองนี้ แหละ พระศาสดาเมื่อจะทรงเสวย สักการะ เสด็จไปวันละโยชน์เป็นอย่างสูง จนล่วงพ้นหนทางกันดาร ๓๐ โยชน์ เสด็จถึงที่อยู่ของพระชทิรวนิย เรวตเถระแล้ว. พระเถระทราบว่าพระศาสดาเสด็จมา จึงเนรมิตวิหารจานวนเพียงพอแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้า เป็นประมุข และเนรมิตพระคันธกุฎีที่ประทับกลางคืนและที่ประทับกลางวันแด่พระทศพล ด้วยฤทธิ์ ณ ที่อยู่ ของตนนั่นแหละแล้วออกไปทาการต้อนรับพระตถาคตเจ้า. พระศาสดาเสด็จเข้าไปยังพระวิหารตามหนทางที่ประดับตกแต่งแล้ว. ครั้นเมื่อพระตถาคตเสด็จเข้าไปยังพระคันธกุฎีแล้ว พวกภิกษุจึงค่อยเข้าไปยังเสนาสนะที่ถึงแล้ว ตามลาดับพรรษา. พวกเทวดาคิดว่า เวลานี้ มิใช่เวลาอาหาร จึงได้นาเอาน้าปานะ ๘ อย่างถวาย. พระศาสดาทรงดื่มน้าปานะร่วมกับภิกษุสงฆ์. เมื่อพระตถาคตเสวยสักการะและสัมมานะโดย ทานองนี้ นั่นแหละ เวลาผ่านไปแล้วครึ่งเดือน. ลาดับนั้น ภิกษุผู้ไม่พอใจบางพวก นั่งแล้วในที่แห่งหนึ่งพากันยกเรื่องขึ้นสนทนากันว่า พระทศ พลตรัสว่า พระน้องชายแห่งอัครสาวกของเราดังนี้ แล้วเสด็จมาเพื่อทอดพระเนตรภิกษุผู้เป็นช่างก่อสร้าง เห็นปานนี้ พระเชตวันมหาวิหารหรือว่าพระวิหารเช่นเวฬุวันวิหารเป็นต้น จักทาอะไรในสานักแห่งวิหารนี้ ได้ ถึงภิกษุรูปนี้ ก็เป็นผู้ทาการก่อสร้างงานเห็นอย่างนี้ จักบาเพ็ญสมณธรรมอะไรได้. ลาดับนั้น พระศาสดาทรงดาริว่า เมื่อเราอยู่ในที่นี้ นานไป สถานที่นี้ จักกลายเป็นที่เกลื่อนกล่น ธรรมดาพวกภิกษุผู้อยู่ในป่า ต้องการความสงบเงียบมีอยู่ การอยู่ด้วยความผาสุกจักไม่มีแก่พระเรวตะแน่. แต่นั้นก็เสด็จไปสู่ที่พักกลางวันของพระเถระ. แม้พระเถระก็อยู่เพียงผู้เดียวอาศัยแผ่นกระดานพาดยึดที่ท้ายจงกรม นั่งบนหลังแผ่นหินแล้ว ได้ มองเห็นพระศาสดาเสด็จมาแต่ไกลเทียว จึงลุกขึ้นต้อนรับแล้ว. ลาดับนั้น พระศาสดาตรัสถามเธอว่า เรวตะ สถานที่นี้ เนื้ อร้าย เธอได้ฟังเสียงช้างม้าเป็นต้นที่ดุ ร้ายแล้ว จะทาอย่างไร? พระเถระกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ธรรมดาว่าความยินดีในการอยู่ป่า บังเกิดขึ้นแล้วแก่ ข้าพระองค์ ก็เพราะได้ฟังเสียงของสัตว์เหล่านั้นแล. ณ สถานที่นั้น พระศาสดาได้ตรัสถึงชื่อว่า อานิสงส์ในการอยู่ป่า ด้วยพระคาถา ๕๐๐ คาถาแด่ พระเรวตเถระ. วันรุ่งขึ้นเสด็จไปบิณฑบาตในสถานที่ไม่ไกล ตรัสเรียกพระเรวตเถระมาแล้ว ได้ทรงกระทาพวก ภิกษุผู้ที่กล่าวโทษพระเถระให้หลงลืมไม้เท้า รองเท้า ทะนานน้ามันและร่มแล้ว. พวกภิกษุเหล่านั้นพากันกลับมาเพื่อนาบริขารของตนไป แม้จะย้อนไปตามเส้นทางที่มาแล้วก็ ตาม แต่ไม่สามารถจะกาหนดจาสถานที่นั้นได้. เพราะเมื่อไปครั้งแรก ภิกษุเหล่านั้นเดินไปตามเส้นทางที่ ประดับตกแต่งแล้ว แต่วันนั้นเดินไปตามทางขรุขระ ในที่นั้นต้องนั่งยองๆ ต้องเดินเข่า. ภิกษุเหล่านั้นพากันเดินเยียบย่ากอไม้ พุ่มไม้และหนาม ไปถึงสถานที่ที่ตนเคยอยู่ จาได้ว่าร่ม
  • 11. 11 ของตนคล้องไว้ที่ตอตะเคียนตรงนั้น ตรงนั้น จาได้ว่ารองเท้าไม้และทะนานน้ามันอยู่ตรงนั้น. ในตอนนั้น ภิกษุเหล่านั้นจึงทราบว่าภิกษุรูปนี้ มีฤทธิ์ จึงถือเอาบริขารของตน แล้วพากันพูดว่า สักการะเห็นปานนี้ ย่อมเป็นสักการะที่พระเถระจัดแจงไว้เพื่อพระทศพล ดังนี้ แล้วจึงได้พากันไป. ในเวลาที่พวกภิกษุพากันนั่งแล้วในเรือนของตน นางวิสาขาอุบาสิกาจึงเรียนถามพวกภิกษุที่ ล่วงหน้ามาก่อนว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ สถานที่อยู่ของพระเรวตะเป็นที่น่าจับใจไหมหนอ? พวกภิกษุกล่าวว่า ดูก่อนอุบาสิกา น่าจับใจ เสนาสนะนั้นมีส่วนเปรียบด้วยนันทวันและจิตตลดา วันแล. ต่อมา นางวิสาขาก็ถามพวกภิกษุผู้พากันภายหลังกว่าภิกษุเหล่านั้นบ้างว่า พระคุณเจ้า สถานที่ อยู่ของพระเรวตะเป็นที่น่าพอใจไหม? ภิกษุเหล่านั้นตอบว่า อย่าถามเลย อุบาสิกา สถานที่นั้นเป็นที่ไม่สมควรจะกล่าว ภิกษุรูปนั้น ย่อมอยู่ในสถานที่ซึ่งมีแต่ที่แห้งแล้ง ก้อนกรวด ก้อนหิน ขรุขระและตอไม้เท่านั้นแล. นางวิสาขาได้ฟังถ้อยคาของพวกภิกษุผู้มาก่อนและมาหลังแล้ว คิดว่าถ้อยคาของภิกษุพวกไหน หนอเป็นความจริง จึงถือเอาของหอมและระเบียบดอกไม้ภายหลังภัตรไปสู่ที่บารุงของพระทศพลเจ้า ถวาย บังคมแล้วนั่ง ณ ที่สมควรข้างหนึ่ง กราบทูลถามพระศาสดาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุบางพวกพากัน นินทาที่อยู่ของพระเรวตเถระ สถานที่อยู่นั่นเป็นอย่างไร พระเจ้าข้า. พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนวิสาขา ที่อยู่จะเป็นสถานที่อยู่รื่นรมย์หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่ว่าจิตของพระ อริยะทั้งหลายย่อมยินดีในสถานที่ใด สถานที่นั้นนั่นแหละชื่อว่าสถานที่รื่นรมย์ใจ ดังนี้ แล้ว จึงตรัสพระคาถานี้ ว่า :- พระอรหันต์อยู่ในที่ใด จะเป็นบ้านก็ตาม ป่าก็ตาม ที่ลุ่มก็ตาม ที่ดอนก็ตาม ที่นั้นย่อมเป็นภูมิภาค อันน่ารื่นรมย์ใจ. ในกาลต่อมา พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งในท่ามกลางหมู่พระอริยเจ้าแล้ว ทรงสถาปนาพระ เถระนั้นไว้ในตาแหน่งอันเลิศว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระสีวลีเป็นผู้เลิศกว่าพวกภิกษุสาวกของเราผู้มีลาภ. ลาดับนั้น ท่านพระสีวลีเถระได้บรรลุพระอรหัต ได้รับเอกทัคตะแล้ว ระลึกถึงบุรพกรรมของตน แล้ว เกิดความโสมนัสใจ เมื่อจะประกาศถึงเรื่องราวที่จนได้เคยประพฤติมาแล้วในกาลก่อน จึงกล่าวคา เริ่มต้นว่า ปทุมุตฺตโร นาม ชิโน ดังนี้ . จบอรรถกถาสีวลิเถราปทาน -------------------------------