Ce diaporama a bien été signalé.
Le téléchargement de votre SlideShare est en cours. ×

Rethinking hr

Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Prochain SlideShare
People before strategy
People before strategy
Chargement dans…3
×

Consultez-les par la suite

1 sur 23 Publicité

Plus De Contenu Connexe

Diaporamas pour vous (20)

Les utilisateurs ont également aimé (20)

Publicité

Similaire à Rethinking hr (20)

Plus par maruay songtanin (20)

Publicité

Rethinking hr

  1. 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 27 มิถุนายน 2558
  2. 2. By Peter Cappelli From Harvard Business Review, July-August 2015
  3. 3. บทสรุปของผู้บริหาร  ผู้ประพันธ์แสดงขั้นตอนพื้นฐานแต่มีประสิทธิภาพ ที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล สามารถนาไปใช้ได้คือ:  กาหนดหัวข้อ ผู้บริหารสูงสุดไม่ค่อยมีความเชี่ยวชาญในประเด็นสถานที่ทางาน ทีมงานทรัพยากร บุคคล สามารถแสดงสิ่งที่พวกเขาควรจะดูแลด้านบุคลากรเช่น การปลด การสรรหา การจัดการที่มี ความยืดหยุ่นในการทางาน การบริหารจัดการประสิทธิภาพในการทางาน และเหตุผลว่าทาไม  มุ่งเน้นที่นี่และตอนนี้ หมายถึงการระบุความท้าทายใหม่ ๆ ด้านบุคลากรอย่างต่อเนื่อง และการ ออกแบบเครื่องมือที่ใช้จัดการอย่างเหมาะสม  มีความรู้ทางธุรกิจ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ต้องมีความคิดวิเคราะห์อย่างดี เพื่อช่วยบริษัทรู้ข้อมูลอย่าง รอบด้านของบุคลากรทั้งหมด  เน้นผลประโยชน์ทางการเงิน ฝ่ายทรัพยากรบุคคลมักจะไม่คานวณผลตอบแทนการลงทุนของพวกเขา แต่การแจงค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์เชิงปริมาณ จะช่วยความสามารถในการตัดสินใจทางธุรกิจ  เลิกทาเรื่องที่เสียเวลา งานที่ทาโดยมากมักจะขาดผลกระทบ เว้นแต่ผู้บริหารระดับสูงจะเป็นคนนา และปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม มิฉะนั้นฝ่ายทรัพยากรบุคคล จะเป็นเพียงผู้สนับสนุนการริเริ่ม ที่ไม่ สามารถบังคับหรือวัดผลได้
  4. 4. เกริ่นนา  คาร้องเรียนเกี่ยวกับการทางานที่ผ่านมาของฝ่ายบริหารทรัพยากร บุคคล ผู้คนส่วนใหญ่ฟังแล้วเกิดความสงสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ประเทศสหรัฐอเมริกา  นักวิจารณ์ส่วนใหญ่บอกว่า ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคลเน้น " การ บริหารระเบียบ (administrivia)" มากเกินไป ขาดวิสัยทัศน์และความ เข้าใจเชิงกลยุทธ์  ข้อร้องเรียนนี้ เป็นวงจรที่ขับเคลื่อนด้วยบริบททางธุรกิจ โดยปกติ เมื่อบริษัทเผชิญกับปัญหาแรงงาน ฝ่ายทรัพยากรบุคคลถูกมองว่า เป็นพันธมิตรที่มีคุณค่า เมื่อทุกสิ่งเป็นไปอย่างราบรื่น ผู้จัดการมักจะ คิดว่า "อะไรคือสิ่งที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคลได้ทาให้กับเราบ้าง?"
  5. 5. ลูกตุ้ม "บุคลากร"  การที่ผู้บริหารระดับสูง มีความรู้สึกเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากร บุคคล สะท้อนให้เห็นถึงสิ่งที่เกิดขึ้ นในเศรษฐกิจสหรัฐฯ  เมื่อเศรษฐกิจถดถอยและตลาดแรงงานมีล้นเหลือ พวกเขาเห็น ว่าฝ่ายทรัพยากรบุคคล เป็นพวกที่สร้างความราคาญ แต่ ความรู้สึกจะเปลี่ยนไป เมื่อเกิดแรงงานขาดแคลน ฝ่ายบริหาร ทรัพยากรบุคคล จะกลายเป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้บริษัทประสบ ความสาเร็จในทันที
  6. 6. ฝ่ายทรัพยากรบุคคลสมัยใหม่  หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง อุตสาหกรรมของสหรัฐได้รับความ เดือดร้อน ขาดแคลนคนเก่ง บรรดาผู้ชาย (มักจะเป็นผู้ชาย) ได้ไป สู้รบในสงครามแทนที่จะเข้าสู่ระบบธุรกิจ  การที่ผู้นาขาดหายไป ทาให้ทรัพยากรบุคคลที่ทันสมัยเกิดขึ้น นาไปสู่วิธีการปฏิบัติเช่น การฝึกสอน การพัฒนาตามที่ได้รับ มอบหมาย การสลับวาระงาน ข้อเสนอแนะ 360 องศา ศูนย์การ ประเมินผล การติดตามที่มีศักยภาพสูง และแผนการสืบทอด ซึ่ง เป็นสิ่งที่ทาเป็นประจาในขณะนี้ แต่นั่นเป็นการปฏิวัติที่เกิดขึ้นจาก ความจาเป็นเร่งด่วนในการพัฒนาและรักษาคนเก่งในปี 1950s
  7. 7. การจ้างงานภายในและภายนอก  จากนั้นมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นไม่น้อย ในปัจจุบันมีเพียงหนึ่ง ในสามของบุคคลภายในที่ได้รับการว่าจ้าง บริษัทต่าง ๆ ได้ ว่าจ้าง บริษัทค้นหาผู้บริหาร ทดแทนผู้บริหารระดับอาวุโสที่ว่าง ลง โดยหนึ่งในสี่ของผู้บริหารสูงสุดมาจากภายนอก  เกิดอะไรขึ้น? การชะลอตัวทางเศรษฐกิจในปี 1970s ทาให้การ ขาดแคลนแรงงานหมดไป ผู้นาทางธุรกิจได้ยกเลิกแผนงานที่ ออกแบบมา เพื่อระบุและพัฒนาผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานที่ดี
  8. 8. ฝ่ายทรัพยากรบุคคลและผู้จัดการสายงานต่าง ๆ  ในขณะเดียวกัน งานที่ได้รับการออกแบบให้ดาเนินการโดยฝ่าย ทรัพยากรบุคคลดั้งเดิม (การว่าจ้าง การพัฒนา การชดเชย) ถูก ผลักให้ผู้จัดการสายงานต่าง ๆ รับผิดชอบ รวมกับงานอื่น ๆ ของพวกเขาที่มีอยู่เดิม  ฝ่ายทรัพยากรบุคคลในขณะนี้ อยู่ในตาแหน่งของผู้จัดการที่ ปฏิบัติตามขั้นตอนการปฏิบัติ โดยไม่มีอานาจใด ๆ โดยตรง ที่ เรียกว่า "การจัดการโดยผู้มีอานาจที่ไม่ชัดเจน (managing with ambiguous authority)" แต่กับผู้ที่อยู่ปลายทาง รู้สึกเหมือนถูกจู้จี้ และถูกแทรกแซง
  9. 9. สิ่งที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคลควรจะทาตอนนี้ คืออะไร?  ขณะที่เศรษฐกิจกาลังฟื้ นตัว ธุรกิจอาจจะกลายเป็นช่วงที่แรงงาน ขาดแคลนอีกครั้ง ก่อนที่บริษัทจะมองหาการสนับสนุนจากฝ่าย ทรัพยากรบุคคล ฝ่ายทรัพยากรบุคคลสามารถเพิ่มความเร็วขึ้น โดยการกุมบังเหียนในขณะนี้ ไว้  ฝ่ายทรัพยากรบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญ จะช่วยให้บริษัทก้าวไป ข้างหน้าก่อนการเปลี่ยนแปลงของตลาด ที่เราทุกคนเห็นว่า จะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน
  10. 10. 5 ขั้นตอนพื้นฐานแต่มีประสิทธิภาพ :  1. กาหนดหัวข้อ (Set the agenda)  2. มุ่งเน้นที่นี่และตอนนี้ (Focus on here and now)  3. มีความรู้ทางธุรกิจ (Acquire business knowledge)  4. เน้นผลประโยชน์ทางการเงิน (Highlight financial benefits)  5. เลิกทาเรื่องที่เสียเวลา (Walk away from time wasters)
  11. 11. 1. กาหนดหัวข้อ (Set the agenda)  ฝ่ายทรัพยากรบุคคลต้องแสดงให้เห็นว่า อะไรคือประเด็นที่เป็น ปัญหาของธุรกิจ และวิธีการที่เหมาะสมที่จะจัดการกับมัน  ผู้บริหารสูงสุดมักไม่ค่อยเชี่ยวชาญในประเด็นของสถานที่ทางาน พวกเขามักจะไม่มีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง ทีมงานทรัพยากรบุคคล สามารถแสดงให้พวกเขาในสิ่งที่พวกเขาควรจะดูแล และทาไม  หมายถึงมุมมองของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อธุรกิจ เช่น การปลด การสรรหา การเตรียมการที่มีความยืดหยุ่นในการทางาน และการ จัดการประสิทธิภาพการทางาน  ฝ่ายทรัพยากรบุคคลควรจะก้าวออกมาอยู่ในด้านหน้าของทุกคน และ พูดว่า "นี่คือวิธีที่เราควรจะจัดการเรื่องนี้ และนี่คือหลักฐานที่อยู่ เบื้องหลังของมุมมองดังกล่าว "
  12. 12. 2. มุ่งเน้นที่นี่และตอนนี้ (Focus on here and now)  แทนที่จะคัดลอกสิ่งที่บริษัทขนาดใหญ่ทามานานหลายทศวรรษที่ผ่าน มา ฝ่ายทรัพยากรบุคคลควรเป็นเฉพาะของบริษัท (และเฉพาะ อุตสาหกรรม) ที่มีนโยบายตอบสนองต่อความท้าทายของวันนี้  ความกังวลเกี่ยวกับรักษาคนเก่งนั้น Deloitte ยกเลิกการเลื่อน ตาแหน่งแบบดั้งเดิม โดยมีกรอบเปิดกว้างมากขึ้นและมีความ ยืดหยุ่นสาหรับความก้าวหน้าในอาชีพ ที่รองรับทั้งผลประโยชน์ของ พนักงานและการเปลี่ยนแปลงความต้องการทางธุรกิจ  ทั้งหมดนี้ เป็นเรื่องของ การมองอย่างใกล้ชิดของสภาพแวดล้อมใน การดาเนินงานขององค์กร ที่เกี่ยวกับการระบุความท้าทายใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง และการออกแบบเครื่องมือที่จะนามาใช้อย่างเหมาะสม
  13. 13. 3. มีความรู้ทางธุรกิจ (Acquire business knowledge)  ฝ่ายทรัพยากรบุคคลมี (และควรจะมี) ความรู้ลึกเกี่ยวกับปัญหา ในสถานที่ทางาน ควรมีความคิดในการวิเคราะห์เป็นอย่างดี เพื่อ ช่วยให้ บริษัทรู้ของข้อมูลของพนักงานทั้งหมด และได้รับ ประโยชน์สูงสุดจากทุนมนุษย์ของพวกเขา  หากฝ่ายทรัพยากรบุคคลเป็นผู้กาหนดหัวข้อเกี่ยวกับการจัดการ บุคลากร ควรต้องจัดการการวิเคราะห์ด้วยตัวเองหรือร่วมกับคน ในบริษัทที่สามารถทาได้ (CIO-Chief Information Officer และทีม ของพวกเขา สามารถจัดการกับข้อมูลขนาดใหญ่ ในการ แก้ปัญหาการบริหารทรัพยากรบุคคล เช่นการหาผู้สมัครที่ดี ที่สุด)
  14. 14. 4. เน้นผลประโยชน์ทางการเงิน (Highlight financial benefits)  ฝ่ายทรัพยากรบุคคล มักจะไม่คานวณผลตอบแทนการลงทุน สาหรับผลงานของพวกเขา และไม่แสดงว่าผลจากการปฏิบัติของ พวกเขาได้สร้างผลกาไรให้บริษัทได้อย่างไร  ระบบการวางแผนทรัพยากรขององค์กรส่วนใหญ่ มีข้อมูล มากมายเกี่ยวกับผลประกอบการ การผลิต และปัจจัยอื่น ๆ ที่ แสดงให้เห็นว่า เกิดจากการลงทุนพัฒนาคนเก่ง  ค่าใช้จ่ายในเชิงปริมาณและผลประโยชน์ในลักษณะนี้ จะเปลี่ยน การตัดสินใจเรื่องคนเก่ง ในการตัดสินใจทางธุรกิจ
  15. 15. 5. เลิกทาเรื่องที่เสียเวลา (Walk away from time wasters)  ฝ่ายทรัพยากรบุคคลลงทุนอย่างหนักในหลายงานที่ขาด ผลกระทบ ฝ่ายทรัพยากรบุคคลจานวนมากใช้พลังงานมากมาย ในเรื่องเกี่ยวกับบุคลากรยุค Millennials ที่ต้องการจะทางาน ใน ความเป็นจริง ไม่ควรจะให้ความสาคัญมากนักในการเรียนรู้ เพื่อ จัดการกับกลุ่มย่อยของผู้ใต้บังคับบัญชาให้แตกต่างกันออกไป  แผนงานมักจะขาดผลกระทบ เว้นแต่ผู้บริหารระดับสูงจะนา ใน การเปลี่ยนวัฒนธรรม มิฉะนั้นฝ่ายทรัพยากรบุคคล จะเป็นเพียง ผู้สนับสนุนของการริเริ่ม ที่ไม่สามารถบังคับหรือวัดผลได้
  16. 16. หนทางข้างหน้า  หนึ่งในความยากลาบากของฝ่ายทรัพยากรบุคคลแบบดั้งเดิมคือ การ สนับสนุนกลยุทธ์ทางธุรกิจ เพราะเป้ าหมายมีการเคลื่อนไหวตลอด  บริษัทต่าง ๆ ไม่ค่อยมีแผนระยะยาวเรื่องความต้องการคนเก่งอย่าง ตรงไปตรงมา มีแต่กระแสของโครงการและความคิดริเริ่ม ที่จะ ตอบสนองความต้องการอย่างต่อเนื่อง  แต่งานของฝ่ายทรัพยากรบุคคลโดยธรรมชาติเป็นงานระยะยาว การ พัฒนาคนเก่ง การแก้ปัญหาเกี่ยวกับกฎระเบียบและการลาออก การ สร้างวัฒนธรรมองค์กร และการสร้างขวัญและกาลังใจในการทางาน  บ่อยครั้งที่ทีมผู้บริหารและการจัดลาดับความสาคัญมีการ เปลี่ยนแปลง ก่อนที่จะความคิดริเริ่มดังกล่าวได้ออกดอกออกผล
  17. 17. ฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล จะนามุมมองระยะยาวกลับเข้ามาใช้ใน องค์กรได้อย่างไร?  โดยการประสานมุมมองระยะยาวเข้ากับกับแรงกดดันของธุรกิจ ที่เผชิญอยู่ ในขณะที่โครงการกาลังได้รับการออกแบบ  แม้ว่าผู้นาของบริษัทกล่าวว่า "เราจะทาโดยไม่ใช้พนักงานของเรา เอง แต่จะทาผ่านการว่าจ้างหรือการทาสัญญาร่วมกัน" ฝ่าย ทรัพยากรบุคคลก็ควรจะมีส่วนร่วม เพราะสามารถประเมินได้ว่า สัญญาจะประสบความสาเร็จหรือไม่ (การว่าจ้างเป็นเพียงการ จ่ายเงินให้กับบริษัทอื่น ในการบริหารทุนมนุษย์ของพวกเขา และ ยังคงต้องพึ่งพาอาศัยพวกเขาอีก)
  18. 18. งานที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคลสามารถช่วยองค์กร โดยศึกษาความคิด ริเริ่มในภาพรวมว่า:  ความต้องการใหม่ที่เกิดขึ้นคืออะไร?  ความต้องการเหล่านั้น สามารถเชื่อมโยงไปยังการเตรียมบุคคล ขององค์กรและการปฏิบัติได้อย่างไร?  จะสร้างความสามารถที่ต้องการใหม่ได้อย่างไร?  อะไรคือแนวโน้มที่จะมีการเปลี่ยนแปลงในตลาด และสิ่งที่ จะต้องเตรียมการคืออะไร?  ทาไมเราจึงไม่มีความสามารถในการจัดการกับงานเหล่านั้น ภายในองค์กร?
  19. 19. สรุป  ความพยายามของพนักงานที่มีความผูกพัน และยินดีที่จะทาให้ดี ที่สุด เป็นหัวใจความสาเร็จขององค์กร การจัดการและการ พัฒนาบุคลากร จึงเป็นวิธีที่จะผลักดันให้องค์กรเกิดความยั่งยืน  ดังนั้นจึงเป็นเวลาที่เหมาะสม สาหรับการปรับเปลี่ยนมุมมอง เรื่องการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในวงกว้างมากขึ้น  ผู้นาธุรกิจจะเล็งเห็นความสาคัญ ถ้าฝ่ายทรัพยากรบุคคลให้ความ ใส่ใจ มีหลักฐานเชิงประจักษ์ในกรณีที่สาคัญ และช่วยคัดแยกสิ่ง ที่ไม่ใช่ออกไป
  20. 20. Michelangelo

×