SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  32
Télécharger pour lire hors ligne
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
9 ธันวาคม 2560
December 07, 2017
By: Harry Hertz, The Baldrige Cheermudgeon
1. Analysis
Environment
2. Define
Direction
3. Develop
Strategy
4. Develop
BSC
5. Develop
Action
Plans
6. Deploy
Plans
7. Monitor
&
Evaluation
Mission
Vision
Values
จุดบอดที่อาจเกิดขึ้น
 องค์กรจะระบุจุดบอดที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างไร?
 นี่เป็นคาถามที่พบได้บ่อย ๆ จากผู้ที่วางแผนกลยุทธ์
รถยนต์ และ จุดบอด
 รถยนต์ทุกวันนี้ มีกระจกใช้มองหลังได้ 3 บาน และอาจมีกล้อง
หลัง ที่ช่วยให้คุณเห็นสิ่งที่อยู่ข้างหลังเพิ่มเติม
 รถบางคันมี กระจกแก้มุมบอด (blind spot mirror) อยู่ในกระจก
ด้านนอก ช่วยให้มองเห็นรถซึ่งพร้อมที่จะแซงคุณ เปรียบได้คือ
ข้อมูลแนวโน้มที่สาคัญ ของคู่แข่งจากภายในอุตสาหกรรม ซึ่ง
พร้อมที่จะแซงหน้าตาแหน่งผู้นาของคุณได้
 อย่างไรก็ตาม สิ่งที่คุณอยากรู้จริง ๆ คือ สิ่งที่อยู่ข้างหน้า!
รถยนต์ และ จุดบอด (ต่อ)
 คุณสามารถมองกระจกหน้ารถและเห็นถนนทันที หรือใช้ GPS
เพื่อดูถนนไม่กี่ไมล์หรือไม่กี่ชั่วโมงข้างหน้า (ระยะทางสั้นๆ)
 นี่เป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ทั้งหมด ที่คุณอยากรู้ว่า ถนนที่คุณใช้
มีสภาพเป็นอย่างไร (การแข่งขันจะมีลักษณะอย่างไร)? และคุณ
จะยังคงอยู่บนถนนเดิม หรือต้องใช้ถนนสายใหม่ (ผลิตภัณฑ์
และบริการใหม่ ๆ)?
รถยนต์ และ จุดบอด (ต่อ)
 คุณต้องการทราบว่า คุณจะขับรถแบบเดิม หรือใช้รูปแบบการ
ขนส่งอื่น (เกิดจากคู่แข่งอุตสาหกรรมใหม่ หรือรูปแบบใหม่
ภายในอุตสาหกรรมของคุณ)
 การแข่งขันของคุณ จะเป็นรถที่ไม่มีคนขับ หรือ hyperloop?
 คุณสามารถคาดการณ์คู่แข่งใหม่ ๆ ในวันนี้ ได้หรือไม่ และ
วางแผนให้พร้อมได้หรือไม่?
 คุณสามารถระบุคู่แข่งที่ไม่ใช่อุตสาหกรรมเดียวกันได้หรือไม่?
 นี่คือจุดบอดจริง ที่ใช้เป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนเชิงกลยุทธ์
ไม่ใช่ข้อมูลจาก "กระจกมองหลัง (rearview mirror)"
2017-2018 Baldrige Excellence Framework
 เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติฉบับล่าสุด อธิบายถึงจุดบอดว่า
เกิดขึ้นจากข้อสันนิษฐานที่ ไม่ถูกต้อง ไม่สมบูรณ์ ล้าสมัย
ลาเอียง ข้อสรุปที่ก่อให้เกิดช่องว่าง ความเสี่ยง หรือจุดอ่อน ใน
ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมการแข่งขันและความท้าทาย
เชิงกลยุทธ์ ที่องค์กรของคุณเผชิญ
ข้อเสนอใหม่ หรือการทดแทน
 จุดบอด อาจเกิดขึ้นจากข้อเสนอใหม่ หรือการทดแทน หรือ
แบบจาลองทางธุรกิจ ที่มาจากภายในหรือภายนอกอุตสาหกรรม
ของคุณ (ตามที่คุณกาหนดไว้)
 การแข่งขัน อาจมาจากรถยนต์ไร้คนขับ หรือบริการรถไร้คนขับ
ซึ่งจะนาคุณไปสู่จุดที่เลือกไว้ (แบบจาลองทางธุรกิจใหม่) หรือ
จากภายนอกอุตสาหกรรมของคุณ (เช่น การเปลี่ยนแปลงอย่างมี
นัยสาคัญในการขนส่งมวลชน หรือ hyperloops)
7 กับดักที่พบโดยทั่วไปซึ่งนาไปสู่จุดบอด
 1. เราเห็นในสิ่งที่เราคาดหวังที่จะเห็น (Seeing what we expect to see)
 2. การพิจารณาขอบเขตอุตสาหกรรมผิดพลาด (Misjudging industry
boundaries)
 3. ไม่สามารถระบุการแข่งขันที่เกิดขึ้นใหม่ได้ (Failing to identify
emerging competition)
 4. ขาดการติดต่อกับลูกค้า (Falling out of touch with customers)
 5. ให้ความสาคัญกับความสามารถที่มองเห็นได้ของคู่แข่งมากเกินไป
(Overemphasizing competitors’ visible competence)
 6. ยอมตามข้อห้ามขององค์กรหรือข้อห้ามในการจากัดความคิดของเรา
(Allowing organizational taboos or prohibitions to limit our thoughts)
 7. ยึดติดอดีต (Relying on history)
1. เราเห็นในสิ่งที่เราคาดหวังที่จะเห็น
 เป็นทฤษฎี ความไม่ลงรอยกัน (incongruence)
 นั่นคือ เราจะไม่เห็นในสิ่งที่ไม่สอดคล้องกับความเชื่อ และกรอบ
การอ้างอิงของเราในปัจจุบัน
 จาได้ว่า เคยเห็นวิดีโอที่ขอให้นับจานวนครั้งที่ลูกบาสเกตบอลถูก
ส่งไป ไม่มีใครสังเกตเห็นว่า กอริลลากาลังเดินอยู่ท่ามกลางผู้เล่น
เพราะเรามุ่งเน้นไปที่ลูกบาสเกตบอล
 เป็นเพราะ เราเลือกให้ความสาคัญกับจุดเน้นของเรา
2. การพิจารณาขอบเขตอุตสาหกรรมผิดพลาด
 เกิดจากเรากาหนดอุตสาหกรรมให้แคบ ๆ ตามผลิตภัณฑ์หรือ
บริการปัจจุบันของเราในวันนี้ เท่านั้น
3. ไม่สามารถระบุการแข่งขันที่เกิดขึ้นใหม่ได้
 เราไม่เห็นการแข่งขันที่เกิดขึ้นใหม่ เพราะพวกเขาไม่ได้ทาในสิ่ง
ที่เราทา
 พวกเขากาลังใช้ประโยชน์ จากมุมมองของเรา ที่มองไม่ออก
"blinders-on"
4. ขาดการติดต่อกับลูกค้า
 เราคิดว่า เรารู้ว่าลูกค้าของเราต้องการอะไร
 เราให้บริการพวกเขามาหลายปี แล้ว และเชื่อมั่นในความภักดี
ของพวกเขา
 เราไม่แสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความต้องการ
หรือความปรารถนาที่ยังไม่ได้รับการตอบสนอง
5. ให้ความสาคัญกับความสามารถที่มองเห็นได้ของคู่แข่งมาก
เกินไป
 เรามุ่งเน้นที่ข้อเสนอปัจจุบันของคู่แข่งของเรา และตั้งสมมติฐาน
ว่าพวกเขาจะยังคงไม่เปลี่ยนแปลง
 เราไม่ได้คิดเกี่ยวกับการวิจัยและการพัฒนาของพวกเขา ซึ่งอาจ
เกิดขึ้นโดยการสร้างความแตกต่างให้กับผลิตภัณฑ์ บริการ หรือ
รูปแบบธุรกิจ
6. ยอมตามข้อห้ามขององค์กร หรือข้อห้ามในการจากัดความคิด
ของเรา
 หลักปฏิบัติหรือนโยบาย อาจจากัดความคิดของเรา
 เราไม่เคยตั้งคาถามถึงหลักปฏิบัติและนโยบายที่อาจล้าสมัย
หรือไม่สอดคล้องกับเทคโนโลยี หรือกฎระเบียบในปัจจุบัน
7. ยึดติดอดีต
 นี่เป็นวิธีที่เราทาอยู่เสมอ
 เราให้ประวัติศาสตร์ของเรา มากาหนดอนาคตของเรา
 สาระสาคัญคือ เราตกอยู่ในกับดักความแข็งแกร่ง มากกว่าการ
ตั้งคาถามเกี่ยวกับสภาพที่เป็นอยู่
ก่อนที่ระบุจุดบอด ลองมาดูสิ่งที่ "ไม่ควรทา"
 1. อย่าเป็นทาสของกลยุทธ์
 2. อย่าให้ความสาคัญกับความกลัว
 3. อย่าไว้วางใจ
1. อย่าเป็นทาสของกลยุทธ์
 ในโลกที่เทคโนโลยี รูปแบบธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และ
สภาพแวดล้อมทางการเมืองทั่วโลก อยู่ในสถานะวิวัฒนาการ
อย่างต่อเนื่อง องค์กรจาเป็นต้องมีความคล่องตัว
 การยึดมั่นกับกลยุทธ์ที่สร้างขึ้นเมื่อหลายปีก่อนอย่างเป็นทาส
สามารถนาองค์กรไปสู่เส้นทางล้าสมัยได้
 องค์กรอุทิศเวลาหลายปี ให้กับบรรลุเป้ าหมายกลยุทธ์ที่ล้าสมัย
องค์กรอาจอยู่ในฐานะล้มเหลว
1. อย่าเป็นทาสของกลยุทธ์ (ต่อ)
 และหากองค์กรไม่ล้มเหลว การบรรลุกลยุทธ์ที่ล้าสมัย อาจ
นาไปสู่ข้อสรุปว่า การพัฒนากลยุทธ์นั้น เป็นสิ่งที่ไร้ประโยชน์
 ทุกวันนี้ องค์กรต้องมีการทบทวนและปรับเปลี่ยนแผนกลยุทธ์
อย่างสม่าเสมอ ให้เป็นไปตามเงื่อนไขและโอกาสต่าง ๆ
 แนวทางควรมุ่งไปสู่ การคิดแบบเชิงกลยุทธ์ (strategic thinking)
ไม่ใช่การวางแผนกลยุทธ์ที่เป็นเหตุการณ์ประจาปี
2. อย่าให้ความสาคัญกับความกลัว
 แหล่งที่มาของการแข่งขันทั้งหมดเป็นสิ่งสาคัญ แต่ควรใช้ความ
กลัวเป็นโอกาส (ความกลัวสามารถยับยั้งการคิดก้าวหน้าได้)
 เผชิญหน้ากับความท้าทายขององค์กร และแสวงหาประโยชน์
จากแนวคิดเหล่านี้ ผ่านแนวคิดที่แปลกใหม่และแนวทางใหม่ ๆ
ไม่ใช่การขยายความคิดเก่า ๆ
 ให้สารวจความสามารถใหม่ ๆ ที่จาเป็นในการติดตามโอกาส
 ทาการสมมติแนวคิดที่จะล้มเหลว แล้วค้นหาตัวเลือกเพื่อ
หลีกเลี่ยงความล้มเหลวนั้น
3. อย่าไว้วางใจ
 อย่าพึ่งพาแต่แหล่งข่าวที่เราให้น้าหนัก มากเกินควร
 อย่าวางใจภูมิปัญญาของฝูงชน เพราะความคิดของกลุ่ม อาจ
นาไปสู่การโอนอ่อนตามเส้นทางที่ปลอดภัย แทนที่จะแสดง
ความคิดอย่างกล้าหาญ แต่ควรให้คุณค่าความคิดเห็นจากการ
ระดมสมองทั้งหมด
 อย่าเชื่อสัญชาตญาณ ให้แสวงหาข้อมูลและทาการวิเคราะห์
ความหมายอย่างรอบคอบ
3. อย่าไว้วางใจ (ต่อ)
 อย่าไว้วางใจคนวางเฉย ซึ่งเป็นเรื่องง่ายที่จะปฏิเสธปัญหา ถือว่า
สิ่งต่างๆ จะดีขึ้นได้เอง และมองสิ่งที่ปรากฏดีกว่าความเป็นจริง
 อย่าไว้ใจผู้เชี่ยวชาญคนเดียว ผู้เชี่ยวชาญสามารถทาให้เข้าใจผิด
และผู้เชี่ยวชาญต่างมีความเห็นแตกต่างกันออกไป ค้นหา
ความคิดของผู้เชี่ยวชาญหลาย ๆ คน
การระบุจุดบอด
 1. สารวจเทคโนโลยีที่กาลังจะเกิดขึ้ น (Explore upcoming
technologies)
 2. ประเมินแนวโน้มทั่วโลก (Assess global trends)
 3. ออกจากเขตสบาย ๆ ของคุณ (Get out of your comfort zone)
 4. ค้นหาข้อมูลจากพนักงานอย่างกว้างขวาง (Seek employee
input broadly)
 5. พูดคุยกับลูกค้าของคุณ (Talk to your customers)
 6. ขยายมุมมองของคุณ (Broaden your field of view)
1. สารวจเทคโนโลยีที่กาลังจะเกิดขึ้น
 มีเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ สาหรับผลิตภัณฑ์
หรือบริการยุคใหม่ของคุณหรือไม่?
 มีเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สามารถสร้างอุตสาหกรรมใหม่ ที่ท้าทาย
คุณได้หรือไม่?
 มีเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่สามารถเพิ่มเติมให้กับข้อเสนอพิเศษที่คุณ
มีอยู่ได้หรือไม่?
 ถ้าใช่ จะเป็นความเสี่ยงที่ชาญฉลาดในการลงทุนในช่วงต้น และ
ใช้ประโยชน์จากการรับรู้ตราสินค้าของคุณเป็นรายแรกหรือไม่?
2. ประเมินแนวโน้มทั่วโลก
 ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงทั่วโลก ด้านประชากรศาสตร์
สภาพแวดล้อมทางการเมือง กฎระเบียบ ความสามารถในการ
ผลิตและการจัดซื้ อ และการตลาด
 มีการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญใด ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อตลาดของ
คุณ ในทางบวกหรือทางลบหรือไม่?
3. ออกจากเขตสบาย ๆ ของคุณ
 ทาลายประเพณี เขย่าบรรทัดฐาน พยายามระบุและทดสอบ
สมมติฐานของคุณ
 นาทีมนาของคุณ สู่สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง
 หาข่าวจากแหล่งอื่น ที่มีความสนใจแตกต่างจากช่องทางปกติ
ของคุณ พูดคุยกับคนที่คุณไม่ค่อยมีปฏิสัมพันธ์
 ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณเป็นนักฟิ สิกส์ ให้พูดคุยกับนักเศรษฐศาสตร์
หรือนักวิทยาศาสตร์ทางสังคม หรือวิศวกรอุตสาหกรรม ถาม
คาถามให้ละเอียด พยายามพูดคุยกับคนใหม่ ๆ เป็นประจา
4. ค้นหาข้อมูลจากพนักงานอย่างกว้างขวาง
 พูดคุยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงไปของเกม กับพนักงานทุกระดับ
ขององค์กร แล้วดูปฏิกิริยาของพวกเขา แสวงหาความคิดอื่น ๆ
จากพวกเขา
 รวมคนจากส่วนต่างๆ และหน้าที่การงานต่างๆ ขององค์กร เพื่อ
ระดมความคิด และแบ่งปันสิ่งที่ได้ยินหรืออ่านมา ที่นอกเหนือ
ขอบเขตการทางาน
5. พูดคุยกับลูกค้าของคุณ
 ถามลูกค้าเกี่ยวกับความต้องการ และความต้องการที่ยังไม่ได้รับ
การตอบสนอง
 พูดคุยกับลูกค้าของลูกค้า เพื่อทาความเข้าใจเพิ่มเติม
 สังเกตปฏิกิริยาลูกค้าของคุณ เพื่อทาความเข้าใจกับพฤติกรรม
และความผิดหวังของพวกเขา
 มองหาการแก้ปัญหาที่สร้างสรรค์
6. ขยายมุมมองของคุณ
 อย่าสันนิษฐานว่าบริษัทหรือองค์กร จะยังคงอยู่ในเขต
อุตสาหกรรมปัจจุบัน ดูอุตสาหกรรมที่อยู่ติดกัน และ
เปรียบเทียบสิ่งที่พวกเขากาลังทาอยู่
 ถามตัวเองว่าคุณทาธุรกิจแบบไหน (เช่น การผลิตรถยนต์ หรือ
การเคลื่อนย้ายผู้คน)?
 เป้ าหมายหรือผลกระทบสูงสุด ของผลิตภัณฑ์หรือบริการของคุณ
สาหรับผู้ใช้ คืออะไร?
 แนวโน้มด้านเทคโนโลยีระดับโลก มีรูปแบบธุรกิจใหม่ที่คุณควร
ติดตามหรือไม่?
ข้อคิดสุดท้าย
 หากต้องการหาจุดบอด ต้องมองในวงกว้าง ไม่ถูกจากัดด้วยอคติ
และขอบเขตปัจจุบัน
 เชื่อมั่นในสัญชาตญาณน้อยลง เพราะจะทาให้เกิดอคติ
 แสวงหาแหล่งข้อมูลใหม่ๆ และแตกต่างกัน สังเคราะห์สิ่งที่
เรียนรู้ ตรวจสอบข้อสรุป วางแผนการดาเนินการ ติดตาม
แนวโน้มและความก้าวหน้าต่อไป
 มีความคล่องตัวอยู่ตลอดเวลา อย่ามองแค่ข้างหน้า มองให้รอบ
ทุกมุม
W Edwards Deming, US statistician, author (1900-1993)

Contenu connexe

Tendances

The agile executive ทีมบริหารที่คล่องตัว
The agile executive ทีมบริหารที่คล่องตัวThe agile executive ทีมบริหารที่คล่องตัว
The agile executive ทีมบริหารที่คล่องตัวmaruay songtanin
 
Knowledge, learning, and innovation
Knowledge, learning, and innovationKnowledge, learning, and innovation
Knowledge, learning, and innovationmaruay songtanin
 
Quality of management คุณภาพการจัดการ
Quality of management คุณภาพการจัดการQuality of management คุณภาพการจัดการ
Quality of management คุณภาพการจัดการmaruay songtanin
 
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากรWorkforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากรmaruay songtanin
 
Why organizations don’t learn
Why organizations don’t learnWhy organizations don’t learn
Why organizations don’t learnmaruay songtanin
 
Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ
Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบStrategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ
Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบmaruay songtanin
 

Tendances (20)

Leadership competencies
Leadership competenciesLeadership competencies
Leadership competencies
 
Strategy 2013
Strategy 2013Strategy 2013
Strategy 2013
 
The agile executive ทีมบริหารที่คล่องตัว
The agile executive ทีมบริหารที่คล่องตัวThe agile executive ทีมบริหารที่คล่องตัว
The agile executive ทีมบริหารที่คล่องตัว
 
Strategy definition
Strategy definitionStrategy definition
Strategy definition
 
Strategy implementation
Strategy implementationStrategy implementation
Strategy implementation
 
Knowledge, learning, and innovation
Knowledge, learning, and innovationKnowledge, learning, and innovation
Knowledge, learning, and innovation
 
Quality of management คุณภาพการจัดการ
Quality of management คุณภาพการจัดการQuality of management คุณภาพการจัดการ
Quality of management คุณภาพการจัดการ
 
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากรWorkforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
 
Why organizations don’t learn
Why organizations don’t learnWhy organizations don’t learn
Why organizations don’t learn
 
9 step to hpo
9 step to hpo9 step to hpo
9 step to hpo
 
HRM of TAT
HRM of TATHRM of TAT
HRM of TAT
 
Hr jjjane part
Hr jjjane partHr jjjane part
Hr jjjane part
 
Human capital analytics
Human capital analyticsHuman capital analytics
Human capital analytics
 
Km systems and processes
Km systems and processesKm systems and processes
Km systems and processes
 
Rethinking hr
Rethinking hrRethinking hr
Rethinking hr
 
Ha forum gotoknow 2018
Ha forum gotoknow 2018Ha forum gotoknow 2018
Ha forum gotoknow 2018
 
Make better decisions
Make better decisionsMake better decisions
Make better decisions
 
Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ
Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบStrategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ
Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ
 
Visionary leadership
Visionary leadershipVisionary leadership
Visionary leadership
 
Present n
Present nPresent n
Present n
 

Similaire à Strategy blind spots

ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนDrDanai Thienphut
 
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่DrDanai Thienphut
 
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2DrDanai Thienphut
 
OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58
OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58 OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58
OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58 DrDanai Thienphut
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfmaruay songtanin
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjornT
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการDrDanai Thienphut
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ DrDanai Thienphut
 
Business Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food BusinessBusiness Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food Businessdewberry
 
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดssuser711f08
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่ 11 กลยุทธ์การวางตำแหน่งการสร้างแรนด์
บทที่ 11 กลยุทธ์การวางตำแหน่งการสร้างแรนด์บทที่ 11 กลยุทธ์การวางตำแหน่งการสร้างแรนด์
บทที่ 11 กลยุทธ์การวางตำแหน่งการสร้างแรนด์etcenterrbru
 
แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์nachol_fsct
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธDrDanai Thienphut
 
10 Tips for Effective Leadership: 10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
10 Tips for Effective Leadership:  10 กลเม็ดผู้นำ .pdf10 Tips for Effective Leadership:  10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
10 Tips for Effective Leadership: 10 กลเม็ดผู้นำ .pdfmaruay songtanin
 

Similaire à Strategy blind spots (20)

ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
 
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
 
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
 
OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58
OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58 OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58
OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
 
Knowledge Capture Technique
Knowledge Capture TechniqueKnowledge Capture Technique
Knowledge Capture Technique
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
 
Business Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food BusinessBusiness Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food Business
 
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
บทที่ 11 กลยุทธ์การวางตำแหน่งการสร้างแรนด์
บทที่ 11 กลยุทธ์การวางตำแหน่งการสร้างแรนด์บทที่ 11 กลยุทธ์การวางตำแหน่งการสร้างแรนด์
บทที่ 11 กลยุทธ์การวางตำแหน่งการสร้างแรนด์
 
แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
 
10 Tips for Effective Leadership: 10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
10 Tips for Effective Leadership:  10 กลเม็ดผู้นำ .pdf10 Tips for Effective Leadership:  10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
10 Tips for Effective Leadership: 10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
 

Plus de maruay songtanin

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

Plus de maruay songtanin (20)

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

Strategy blind spots

  • 2. December 07, 2017 By: Harry Hertz, The Baldrige Cheermudgeon
  • 3. 1. Analysis Environment 2. Define Direction 3. Develop Strategy 4. Develop BSC 5. Develop Action Plans 6. Deploy Plans 7. Monitor & Evaluation Mission Vision Values
  • 5. รถยนต์ และ จุดบอด  รถยนต์ทุกวันนี้ มีกระจกใช้มองหลังได้ 3 บาน และอาจมีกล้อง หลัง ที่ช่วยให้คุณเห็นสิ่งที่อยู่ข้างหลังเพิ่มเติม  รถบางคันมี กระจกแก้มุมบอด (blind spot mirror) อยู่ในกระจก ด้านนอก ช่วยให้มองเห็นรถซึ่งพร้อมที่จะแซงคุณ เปรียบได้คือ ข้อมูลแนวโน้มที่สาคัญ ของคู่แข่งจากภายในอุตสาหกรรม ซึ่ง พร้อมที่จะแซงหน้าตาแหน่งผู้นาของคุณได้  อย่างไรก็ตาม สิ่งที่คุณอยากรู้จริง ๆ คือ สิ่งที่อยู่ข้างหน้า!
  • 6. รถยนต์ และ จุดบอด (ต่อ)  คุณสามารถมองกระจกหน้ารถและเห็นถนนทันที หรือใช้ GPS เพื่อดูถนนไม่กี่ไมล์หรือไม่กี่ชั่วโมงข้างหน้า (ระยะทางสั้นๆ)  นี่เป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ทั้งหมด ที่คุณอยากรู้ว่า ถนนที่คุณใช้ มีสภาพเป็นอย่างไร (การแข่งขันจะมีลักษณะอย่างไร)? และคุณ จะยังคงอยู่บนถนนเดิม หรือต้องใช้ถนนสายใหม่ (ผลิตภัณฑ์ และบริการใหม่ ๆ)?
  • 7. รถยนต์ และ จุดบอด (ต่อ)  คุณต้องการทราบว่า คุณจะขับรถแบบเดิม หรือใช้รูปแบบการ ขนส่งอื่น (เกิดจากคู่แข่งอุตสาหกรรมใหม่ หรือรูปแบบใหม่ ภายในอุตสาหกรรมของคุณ)  การแข่งขันของคุณ จะเป็นรถที่ไม่มีคนขับ หรือ hyperloop?  คุณสามารถคาดการณ์คู่แข่งใหม่ ๆ ในวันนี้ ได้หรือไม่ และ วางแผนให้พร้อมได้หรือไม่?  คุณสามารถระบุคู่แข่งที่ไม่ใช่อุตสาหกรรมเดียวกันได้หรือไม่?  นี่คือจุดบอดจริง ที่ใช้เป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ไม่ใช่ข้อมูลจาก "กระจกมองหลัง (rearview mirror)"
  • 8. 2017-2018 Baldrige Excellence Framework  เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติฉบับล่าสุด อธิบายถึงจุดบอดว่า เกิดขึ้นจากข้อสันนิษฐานที่ ไม่ถูกต้อง ไม่สมบูรณ์ ล้าสมัย ลาเอียง ข้อสรุปที่ก่อให้เกิดช่องว่าง ความเสี่ยง หรือจุดอ่อน ใน ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมการแข่งขันและความท้าทาย เชิงกลยุทธ์ ที่องค์กรของคุณเผชิญ
  • 9. ข้อเสนอใหม่ หรือการทดแทน  จุดบอด อาจเกิดขึ้นจากข้อเสนอใหม่ หรือการทดแทน หรือ แบบจาลองทางธุรกิจ ที่มาจากภายในหรือภายนอกอุตสาหกรรม ของคุณ (ตามที่คุณกาหนดไว้)  การแข่งขัน อาจมาจากรถยนต์ไร้คนขับ หรือบริการรถไร้คนขับ ซึ่งจะนาคุณไปสู่จุดที่เลือกไว้ (แบบจาลองทางธุรกิจใหม่) หรือ จากภายนอกอุตสาหกรรมของคุณ (เช่น การเปลี่ยนแปลงอย่างมี นัยสาคัญในการขนส่งมวลชน หรือ hyperloops)
  • 10. 7 กับดักที่พบโดยทั่วไปซึ่งนาไปสู่จุดบอด  1. เราเห็นในสิ่งที่เราคาดหวังที่จะเห็น (Seeing what we expect to see)  2. การพิจารณาขอบเขตอุตสาหกรรมผิดพลาด (Misjudging industry boundaries)  3. ไม่สามารถระบุการแข่งขันที่เกิดขึ้นใหม่ได้ (Failing to identify emerging competition)  4. ขาดการติดต่อกับลูกค้า (Falling out of touch with customers)  5. ให้ความสาคัญกับความสามารถที่มองเห็นได้ของคู่แข่งมากเกินไป (Overemphasizing competitors’ visible competence)  6. ยอมตามข้อห้ามขององค์กรหรือข้อห้ามในการจากัดความคิดของเรา (Allowing organizational taboos or prohibitions to limit our thoughts)  7. ยึดติดอดีต (Relying on history)
  • 11. 1. เราเห็นในสิ่งที่เราคาดหวังที่จะเห็น  เป็นทฤษฎี ความไม่ลงรอยกัน (incongruence)  นั่นคือ เราจะไม่เห็นในสิ่งที่ไม่สอดคล้องกับความเชื่อ และกรอบ การอ้างอิงของเราในปัจจุบัน  จาได้ว่า เคยเห็นวิดีโอที่ขอให้นับจานวนครั้งที่ลูกบาสเกตบอลถูก ส่งไป ไม่มีใครสังเกตเห็นว่า กอริลลากาลังเดินอยู่ท่ามกลางผู้เล่น เพราะเรามุ่งเน้นไปที่ลูกบาสเกตบอล  เป็นเพราะ เราเลือกให้ความสาคัญกับจุดเน้นของเรา
  • 12. 2. การพิจารณาขอบเขตอุตสาหกรรมผิดพลาด  เกิดจากเรากาหนดอุตสาหกรรมให้แคบ ๆ ตามผลิตภัณฑ์หรือ บริการปัจจุบันของเราในวันนี้ เท่านั้น
  • 13. 3. ไม่สามารถระบุการแข่งขันที่เกิดขึ้นใหม่ได้  เราไม่เห็นการแข่งขันที่เกิดขึ้นใหม่ เพราะพวกเขาไม่ได้ทาในสิ่ง ที่เราทา  พวกเขากาลังใช้ประโยชน์ จากมุมมองของเรา ที่มองไม่ออก "blinders-on"
  • 14. 4. ขาดการติดต่อกับลูกค้า  เราคิดว่า เรารู้ว่าลูกค้าของเราต้องการอะไร  เราให้บริการพวกเขามาหลายปี แล้ว และเชื่อมั่นในความภักดี ของพวกเขา  เราไม่แสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความต้องการ หรือความปรารถนาที่ยังไม่ได้รับการตอบสนอง
  • 15. 5. ให้ความสาคัญกับความสามารถที่มองเห็นได้ของคู่แข่งมาก เกินไป  เรามุ่งเน้นที่ข้อเสนอปัจจุบันของคู่แข่งของเรา และตั้งสมมติฐาน ว่าพวกเขาจะยังคงไม่เปลี่ยนแปลง  เราไม่ได้คิดเกี่ยวกับการวิจัยและการพัฒนาของพวกเขา ซึ่งอาจ เกิดขึ้นโดยการสร้างความแตกต่างให้กับผลิตภัณฑ์ บริการ หรือ รูปแบบธุรกิจ
  • 16. 6. ยอมตามข้อห้ามขององค์กร หรือข้อห้ามในการจากัดความคิด ของเรา  หลักปฏิบัติหรือนโยบาย อาจจากัดความคิดของเรา  เราไม่เคยตั้งคาถามถึงหลักปฏิบัติและนโยบายที่อาจล้าสมัย หรือไม่สอดคล้องกับเทคโนโลยี หรือกฎระเบียบในปัจจุบัน
  • 17. 7. ยึดติดอดีต  นี่เป็นวิธีที่เราทาอยู่เสมอ  เราให้ประวัติศาสตร์ของเรา มากาหนดอนาคตของเรา  สาระสาคัญคือ เราตกอยู่ในกับดักความแข็งแกร่ง มากกว่าการ ตั้งคาถามเกี่ยวกับสภาพที่เป็นอยู่
  • 18. ก่อนที่ระบุจุดบอด ลองมาดูสิ่งที่ "ไม่ควรทา"  1. อย่าเป็นทาสของกลยุทธ์  2. อย่าให้ความสาคัญกับความกลัว  3. อย่าไว้วางใจ
  • 19. 1. อย่าเป็นทาสของกลยุทธ์  ในโลกที่เทคโนโลยี รูปแบบธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และ สภาพแวดล้อมทางการเมืองทั่วโลก อยู่ในสถานะวิวัฒนาการ อย่างต่อเนื่อง องค์กรจาเป็นต้องมีความคล่องตัว  การยึดมั่นกับกลยุทธ์ที่สร้างขึ้นเมื่อหลายปีก่อนอย่างเป็นทาส สามารถนาองค์กรไปสู่เส้นทางล้าสมัยได้  องค์กรอุทิศเวลาหลายปี ให้กับบรรลุเป้ าหมายกลยุทธ์ที่ล้าสมัย องค์กรอาจอยู่ในฐานะล้มเหลว
  • 20. 1. อย่าเป็นทาสของกลยุทธ์ (ต่อ)  และหากองค์กรไม่ล้มเหลว การบรรลุกลยุทธ์ที่ล้าสมัย อาจ นาไปสู่ข้อสรุปว่า การพัฒนากลยุทธ์นั้น เป็นสิ่งที่ไร้ประโยชน์  ทุกวันนี้ องค์กรต้องมีการทบทวนและปรับเปลี่ยนแผนกลยุทธ์ อย่างสม่าเสมอ ให้เป็นไปตามเงื่อนไขและโอกาสต่าง ๆ  แนวทางควรมุ่งไปสู่ การคิดแบบเชิงกลยุทธ์ (strategic thinking) ไม่ใช่การวางแผนกลยุทธ์ที่เป็นเหตุการณ์ประจาปี
  • 21. 2. อย่าให้ความสาคัญกับความกลัว  แหล่งที่มาของการแข่งขันทั้งหมดเป็นสิ่งสาคัญ แต่ควรใช้ความ กลัวเป็นโอกาส (ความกลัวสามารถยับยั้งการคิดก้าวหน้าได้)  เผชิญหน้ากับความท้าทายขององค์กร และแสวงหาประโยชน์ จากแนวคิดเหล่านี้ ผ่านแนวคิดที่แปลกใหม่และแนวทางใหม่ ๆ ไม่ใช่การขยายความคิดเก่า ๆ  ให้สารวจความสามารถใหม่ ๆ ที่จาเป็นในการติดตามโอกาส  ทาการสมมติแนวคิดที่จะล้มเหลว แล้วค้นหาตัวเลือกเพื่อ หลีกเลี่ยงความล้มเหลวนั้น
  • 22. 3. อย่าไว้วางใจ  อย่าพึ่งพาแต่แหล่งข่าวที่เราให้น้าหนัก มากเกินควร  อย่าวางใจภูมิปัญญาของฝูงชน เพราะความคิดของกลุ่ม อาจ นาไปสู่การโอนอ่อนตามเส้นทางที่ปลอดภัย แทนที่จะแสดง ความคิดอย่างกล้าหาญ แต่ควรให้คุณค่าความคิดเห็นจากการ ระดมสมองทั้งหมด  อย่าเชื่อสัญชาตญาณ ให้แสวงหาข้อมูลและทาการวิเคราะห์ ความหมายอย่างรอบคอบ
  • 23. 3. อย่าไว้วางใจ (ต่อ)  อย่าไว้วางใจคนวางเฉย ซึ่งเป็นเรื่องง่ายที่จะปฏิเสธปัญหา ถือว่า สิ่งต่างๆ จะดีขึ้นได้เอง และมองสิ่งที่ปรากฏดีกว่าความเป็นจริง  อย่าไว้ใจผู้เชี่ยวชาญคนเดียว ผู้เชี่ยวชาญสามารถทาให้เข้าใจผิด และผู้เชี่ยวชาญต่างมีความเห็นแตกต่างกันออกไป ค้นหา ความคิดของผู้เชี่ยวชาญหลาย ๆ คน
  • 24. การระบุจุดบอด  1. สารวจเทคโนโลยีที่กาลังจะเกิดขึ้ น (Explore upcoming technologies)  2. ประเมินแนวโน้มทั่วโลก (Assess global trends)  3. ออกจากเขตสบาย ๆ ของคุณ (Get out of your comfort zone)  4. ค้นหาข้อมูลจากพนักงานอย่างกว้างขวาง (Seek employee input broadly)  5. พูดคุยกับลูกค้าของคุณ (Talk to your customers)  6. ขยายมุมมองของคุณ (Broaden your field of view)
  • 25. 1. สารวจเทคโนโลยีที่กาลังจะเกิดขึ้น  มีเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ สาหรับผลิตภัณฑ์ หรือบริการยุคใหม่ของคุณหรือไม่?  มีเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สามารถสร้างอุตสาหกรรมใหม่ ที่ท้าทาย คุณได้หรือไม่?  มีเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่สามารถเพิ่มเติมให้กับข้อเสนอพิเศษที่คุณ มีอยู่ได้หรือไม่?  ถ้าใช่ จะเป็นความเสี่ยงที่ชาญฉลาดในการลงทุนในช่วงต้น และ ใช้ประโยชน์จากการรับรู้ตราสินค้าของคุณเป็นรายแรกหรือไม่?
  • 26. 2. ประเมินแนวโน้มทั่วโลก  ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงทั่วโลก ด้านประชากรศาสตร์ สภาพแวดล้อมทางการเมือง กฎระเบียบ ความสามารถในการ ผลิตและการจัดซื้ อ และการตลาด  มีการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญใด ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อตลาดของ คุณ ในทางบวกหรือทางลบหรือไม่?
  • 27. 3. ออกจากเขตสบาย ๆ ของคุณ  ทาลายประเพณี เขย่าบรรทัดฐาน พยายามระบุและทดสอบ สมมติฐานของคุณ  นาทีมนาของคุณ สู่สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง  หาข่าวจากแหล่งอื่น ที่มีความสนใจแตกต่างจากช่องทางปกติ ของคุณ พูดคุยกับคนที่คุณไม่ค่อยมีปฏิสัมพันธ์  ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณเป็นนักฟิ สิกส์ ให้พูดคุยกับนักเศรษฐศาสตร์ หรือนักวิทยาศาสตร์ทางสังคม หรือวิศวกรอุตสาหกรรม ถาม คาถามให้ละเอียด พยายามพูดคุยกับคนใหม่ ๆ เป็นประจา
  • 28. 4. ค้นหาข้อมูลจากพนักงานอย่างกว้างขวาง  พูดคุยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงไปของเกม กับพนักงานทุกระดับ ขององค์กร แล้วดูปฏิกิริยาของพวกเขา แสวงหาความคิดอื่น ๆ จากพวกเขา  รวมคนจากส่วนต่างๆ และหน้าที่การงานต่างๆ ขององค์กร เพื่อ ระดมความคิด และแบ่งปันสิ่งที่ได้ยินหรืออ่านมา ที่นอกเหนือ ขอบเขตการทางาน
  • 29. 5. พูดคุยกับลูกค้าของคุณ  ถามลูกค้าเกี่ยวกับความต้องการ และความต้องการที่ยังไม่ได้รับ การตอบสนอง  พูดคุยกับลูกค้าของลูกค้า เพื่อทาความเข้าใจเพิ่มเติม  สังเกตปฏิกิริยาลูกค้าของคุณ เพื่อทาความเข้าใจกับพฤติกรรม และความผิดหวังของพวกเขา  มองหาการแก้ปัญหาที่สร้างสรรค์
  • 30. 6. ขยายมุมมองของคุณ  อย่าสันนิษฐานว่าบริษัทหรือองค์กร จะยังคงอยู่ในเขต อุตสาหกรรมปัจจุบัน ดูอุตสาหกรรมที่อยู่ติดกัน และ เปรียบเทียบสิ่งที่พวกเขากาลังทาอยู่  ถามตัวเองว่าคุณทาธุรกิจแบบไหน (เช่น การผลิตรถยนต์ หรือ การเคลื่อนย้ายผู้คน)?  เป้ าหมายหรือผลกระทบสูงสุด ของผลิตภัณฑ์หรือบริการของคุณ สาหรับผู้ใช้ คืออะไร?  แนวโน้มด้านเทคโนโลยีระดับโลก มีรูปแบบธุรกิจใหม่ที่คุณควร ติดตามหรือไม่?
  • 31. ข้อคิดสุดท้าย  หากต้องการหาจุดบอด ต้องมองในวงกว้าง ไม่ถูกจากัดด้วยอคติ และขอบเขตปัจจุบัน  เชื่อมั่นในสัญชาตญาณน้อยลง เพราะจะทาให้เกิดอคติ  แสวงหาแหล่งข้อมูลใหม่ๆ และแตกต่างกัน สังเคราะห์สิ่งที่ เรียนรู้ ตรวจสอบข้อสรุป วางแผนการดาเนินการ ติดตาม แนวโน้มและความก้าวหน้าต่อไป  มีความคล่องตัวอยู่ตลอดเวลา อย่ามองแค่ข้างหน้า มองให้รอบ ทุกมุม
  • 32. W Edwards Deming, US statistician, author (1900-1993)