SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
1 กุมภาพันธ์ 2557
Ken Blanchard
Mark Miller

Berrett-Koehler Publishers, Inc. San Francisco, 2007
เกรินนา
่
 หนังสือเล่มนี้ ใช้การเล่าเรืองราวของหัวหน้าแผนกคนหนึ่งคือ
่
Debbie เป็ นการเดินเรือง จากเดิมที่เธอเคยทาหน้าที่หวหน้า
่
ั
โครงการ แล้วได้รบการเลื่อนตาแหน่งเป็ นหัวหน้าฝ่ ายลูกค้า
ั
สัมพันธ์ แต่กลับไม่มีผลงานเท่าที่ควร
 จนกระทั ่งได้เข้ารับการพัฒนาอบรมในโครงการพี่เลี้ยง ซึ่งพี่เลี้ยง
ของเธอคือ Jeff ผูบริหารสูงสุดขององค์กร
้
 เขาได้ถายทอดความลับของผูนาที่ยงใหญ่ให้กบเธอ จนกระทั ่ง
่
้
ิ่
ั
เธอเข้าใจ นาไปใช้จนประสบความสาเร็จ และได้เลื่อนตาแหน่ง
เป็ น หัวหน้าโครงการฝึ กอบรมผูนาขององค์กร
้
ผูนาคือใคร
้
 ผูนาคือ ผูบงคับบัญชา
้
้ ั
 ผูนาคือ ผูที่ลกน้องต้องรายงานด้วย
้
้ ู
 ผูนาคือ ผูที่ทาสิ่งต่างๆ ให้เกิดขึ้นได้
้
้
 ผูนาคือ ผูที่ดารงตาแหน่งที่ได้รบมอบหมาย มีหน้าที่รบผิดชอบ
้
้
ั
ั
ผลลัพธ์ของผูที่อยูใต้บงคับบัญชา
้ ่ ั
เกี่ยวกับผูนา
้
 ผูนามีความเชื่อว่า การพัฒนาผูนา เป็ นกลยุทธ์สาคัญที่สุดของ
้
้
องค์กร เพราะองค์กรจะรุงเรืองหรือตกต ่า ขึ้นกับภาวะผูนา
่
้
 ผูนาเป็ นผูฟังที่ดี
้
้
 ผูนาเป็ นผูทอ่อนน้อม มักกล่าวว่า จะให้ผมรับใช้คณได้อย่างไร
้
้ ี่
ุ





ภาวะผูนา เสมือนก้อนภูเขาน้ าแข็งที่
้
ลอยอยูในทะเล มีสวนที่อยูเหนือน้ า
่
่
่
และส่วนที่อยูใต้น้ า
่
สิ่งที่อยูใต้น้ าคือคุณลักษณะของผูนา
่
้
สิ่งที่อยูเหนือน้ าคือทักษะการนา
่
ภาวะผูนาจึงแบ่งได้ 2 ส่วนคือ การ
้
เป็ นผูนา (Being) และการกระทา
้
อย่างผูนา (Doing)
้
ความลับของผูนาที่ยงใหญ่ คือ การรับใช้ โดยมีคาย่อคือ SERVE
้
ิ่
 ผูนามีคาถามที่สาคัญ ที่ใช้ถามตนเองอยูเสมอว่า เราเป็ นผูนาที่
้
่
้
รับใช้ผอื่น หรือ เป็ นผูนาที่ทาเพื่อตนเอง (Am I a serving leader
ู้
้
or a self-serving leader?)
 การเป็ นผูนาที่รบใช้ผอื่นไม่มีการสิ้นสุด คุณจะมีแนวทางต่าง ๆ
้
ั
ู้
มากมายที่จะช่วยเหลือผูอื่น เมื่อคุณได้ทา ทักษะการเป็ นผูนา
้
้
แบบผูรบใช้จะได้รบการพัฒนา ส่งผลให้คณเป็ นผูนาที่ดีข้ ึน
้ั
ั
ุ
้





อักษร S หมายถึงการมีวิสยทัศน์
ั
(See the Future) หรือ เห็นภาพใน
อนาคต
ภาวะผูนาคือ การนาผูคนจากที่แห่ง
้
้
หนึ่งไปสูที่อีกแห่งหนึ่ง
่
ข้อสาคัญคือ ทุกคนในทีมต้องรู ้
จุดหมายปลายทางด้วย
การมองไปในอนาคต
 วิสยทัศน์ที่ดี จะทาให้เกิดแรงบันดาลใจ มีแรงมีกาลังที่จะมุ่งสู่
ั
อนาคตที่สดใส เป็ นแรงผลักดันให้ทุกคนแสดงพฤติกรรมออกมา
 ถ้าผูนาไม่มีแรงปรารถนาอย่างแรงกล้า ที่จะมุ่งสูภาพในอนาคต
้
่
นั้น ทั้งทีมก็คงปล่อยวางด้วย
 การมองภาพอนาคต และบอกเล่าให้คนอื่นเข้าใจได้ดวย เป็ น
้
บทบาทที่สาคัญของผูนา
้
การมองไกลและมองใกล้
 การมองไกล (Heads Up) คือการมองไปในอนาคต และต้องดู
ทิศทางที่จะไปด้วย
 ผูนาต้องเจียดหาเวลาเพื่อมองภาพในอนาคต สามารถอธิบายให้
้
ผูอื่นเข้าใจ และเห็นภาพในอนาคตนั้นตามไปด้วย รวมถึงการ
้
พิจารณาดูโอกาสและอุปสรรค ที่อาจจะเกิดขึ้น
 ส่วนการทาให้วิสยทัศน์เป็ นจริงเรียกว่า มองใกล้ (Heads Down)
ั
 การให้บุคคลมีส่วนร่วมสร้างวิสยทัศน์ จะทาให้พวกเขาเกิดความ
ั
มุ่งมั ่น แต่เป็ นหน้าที่ของผูนาที่ตองสร้างวิสยทัศน์ให้สาเร็จ
้
้
ั
คาถามกระตุนเพื่อคิด
้
 จุดมุ่งหมายของทีมคุณคืออะไร
 อีก 5 ปี ข้างหน้า คุณต้องการให้ทีมของคุณเป็ นอย่างไร
 สมาชิกในทีมของคุณ มีกี่คนที่ตอบได้ว่า ทีมต้องการประสบ
ผลสาเร็จในเรืองอะไร
่
 ค่านิยมที่ตองการให้ทีมมีพฤติกรรมแสดงออกคืออะไร
้
 คุณมีวิธีการสื่อสารวิสยทัศน์ให้เพื่อนร่วมทีมอย่างไร
ั
ค่านิยม
 ถ้าค่านิยมมีการเผยแพร่ให้รูทั ่วกัน จะทาให้เป็ นสิ่งที่สามารถ
้
ทาซ้ าได้ ระลึกได้ เกิดผลดี และ ส่งผลลัพธ์ดานบวก
้
 ค่านิยมเป็ นเรืองใหญ่ เป็ นเสาหลักของวัฒนธรรมองค์กร ที่ผนา
่
ู้
ต้องการสร้างขึ้นมา (เช่น ลูกค้าต้องมาก่อน การให้ความร่วมมือ
กัน การเป็ นผูช่วยเหลือ การมีความคิดสร้างสรรค์ )
้
 โปรดระลึกไว้ว่า ค่านิยม คือความเชื่อที่ผลักดันให้เรามี
พฤติกรรมในการแสดงออก (Values are the beliefs that drive our
behavior.)




คาย่อของ E คือ สร้างความผูกพันและ
พัฒนาผูอื่น (Engage and Develop
้
Others)
การทางานให้สาเร็จ ต้องอาศัยบุคลากรที่
อยูรอบข้างด้วย คือบุคลากรที่มีความ
่
ผูกพัน เป็ นบุคลากรที่ถูกคน (right
people) และถูกกับบทบาทหรืองานทีทา
่
(in the right roles)
ความผูกพัน
 ความผูกพันมี 2 องค์ประกอบ สิ่งแรกคือการคัดเลือก
(Selection) ควรคัดเลือกบุคคลที่ถูกคนและถูกกับงาน ถ้าเลือก
ผิดคน นั ่นคือภาวะผูนาที่เกิดความผิดพลาด
้
 ประการที่สองคือการได้ความร่วมมือทั้งตัวและหัวใจ (hands,
heads and hearts)
 ถ้าบุคลากรเกิดความผูกพัน ประเด็นใดที่ผนาเสนอ บุคลากรก็จะ
ู้
ให้การสนับสนุน อยูขางเดียวกับผูนา
่ ้
้
สิ่งแวดล้อมในการสร้างความผูกพัน
 ในอดีต มีเงื่อนไขอะไรบ้างที่ทาให้
คุณรูสึกผูกพันอยูกบงาน เช่น การมี
้
่ ั
เป้ าประสงค์ชดเจน ได้รบการฝึ กฝน
ั
ั
มาเป็ นอย่างดี มีขอมูลสารสนเทศ
้
เมื่อต้องการ เจ้านายไว้วางใจ นาย
คอยอยูให้กาลังใจ รูสึกได้มีส่วน
่
้
ร่วม ได้เรียนรูและได้เติบโตขึ้น
้
(สรุปคือ รูสึกว่าตัวเองมีคุณค่าและ
้
ได้รบการยอมรับ)
ั

You felt valued and appreciated
การพัฒนาผูอื่น
้
 ผูนาที่ดี มีการลงทุนในการพัฒนาบุคลกร
้
 แผนพัฒนาบุคลากร (Personal Development Plan) หรือบาง
องค์กรใช้คาว่า แผนพัฒนาเป็ นรายบุคคล (Individual
Development Plans, or IDPs) เป็ นแผนในสร้างการเรียนรูและ
้
การเจริญเติบโต มีการฝึ กอบรมและสร้างโอกาสพัฒนา การหา
แหล่งความรูหรือการศึกษาให้กบบุคลากร
้
ั
 ผูนาที่ยงใหญ่ จะคอยมองหาคนเก่ง (talented people) เข้ามา
้
ิ่
ทางานในองค์กร
คาถามเพือกระตุนความคิด
่
้
 คุณใช้เวลามากเท่าใด ในการเสาะหาคนเก่งมาร่วมงานด้วย
 อะไรคือคุณสมบัตที่ตองการ ของบุคคลที่คณมองหาอยู่
ิ ้
ุ
 คุณสร้างความผูกพันให้กบทีมงานได้ดีเพียงใด
ั
 คุณได้ทาอะไรบ้างเพื่อสร้างความผูกพัน ให้ระบุมา 10 ประการ
 คุณได้ทาอะไรที่ทาให้ทีมงานมั ่นใจว่า เมื่อถึงเวลาการปฏิบตงาน
ั ิ
คุณจะคอยอยูช่วยเหลือพวกเขา
่
 คุณมีส่วนช่วยกระตุนการพัฒนาบุคลากรอย่างไร
้
การยกระดับจุดแข็ง
 ผูนาควรวิเคราะห์ว่า บุคคลผูน้นมีอะไรเป็ นจุดแข็ง ได้อยูใน
้
้ ั
่
ตาแหน่งที่ใช้จดแข็งอย่างเหมาะสมหรือไม่ ถ้าคิดว่าอยูถูก
ุ
่
ตาแหน่งแล้ว ให้คิดต่อไปว่าเขาสมควรได้รบการพัฒนาหรือ
ั
ฝึ กอบรมอะไรเพิ่มเติม และเขารูตวหรือไม่ว่า มีความรับผิดชอบ
้ ั
ในเรืองอะไรบ้าง
่
 ถ้าวางคนได้ถูกตาแหน่ง การพัฒนาบุคลากรไม่ใช่เรื่องยาก
 การได้ยกระดับจุดแข็งของผูอื่น เป็ นงานที่ผนาสมควรภาคภูมิใจ
้
ู้
(Helping people leverage their strengths is one of the most
rewarding parts of the leader’s role.)



R คือ การค้นพบใหม่อยูเสมอ
่
(Reinvent Continuously)
พลังของภาวะผูนาเกิดจากความ
้
ปรารถนาได้รบใช้ผอื่น อย่าลืมถาม
ั
ู้
ตนเองอยูเสมอว่า เราเป็ นผูนาที่รบ
่
้
ั
ใช้ผอื่น หรือทาเพื่อตนเอง (Am I a
ู้
serving leader or a self-serving
leader?)
การค้นพบใหม่อยูเสมอ
่
 ระดับแรก คือ บุคคล ผูนาสนใจที่จะเพิ่มพูนความรูและทักษะ
้
้
ของตนเองอยูเสมอ ผูนาที่ดีจะเป็ นผูเรียนรูที่ดี
่
้
้
้
 ระดับที่สอง คือ ระบบและกระบวนการ ผูนาคิดเสมอว่า จะ
้
ทางานให้ดข้ ึน มีความผิดพลาดน้อยลง ทางานได้เร็วขึ้น และทา
ี
ให้ถูกลงได้อย่างไร
 ระดับที่สาม คือ องค์กร ปั จจุบนองค์กรต้องมีความคล่องตัวและ
ั
มีความยืดหยุนในการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง เพราะ
่
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ
่
คาถามเพือกระตุนความคิด
่
้
 ตอนนี้คุณเป็ นพี่เลี้ยงให้กบใครอยู่
ั
 คุณอ่านหนังสือหรือฟั งเทปเรื่องอะไรอยู่
 ระบบหรือกระบวนการที่คณดูแลรับผิดชอบอยู่ มีอะไรที่ตอง
ุ
้
เปลี่ยนแปลงเพื่อทาให้มีผลงานที่ดีข้ ึน
 โครงสร้างหน่วยที่คุณเป็ นผูนาอยู่ มีอะไรที่ตองเปลี่ยนแปลงเพื่อ
้
้
ทาให้มีผลการดาเนินการที่ดีข้ ึน




V หมายถึง การให้คณค่ากับ
ุ
ผลลัพธ์และความสัมพันธ์
(Value Results and
Relationships)
ผูนาที่ยงใหญ่ทาทั้งสองอย่าง ไม่
้
ิ่
เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง เพราะ
ทั้งสองประการเป็ นปั จจัยให้เกิด
ความยั ่งยืน
ผลลัพธ์และสร้างความสัมพันธ์
 บททดสอบของผูนา มี 2 ประการคือ ผลลัพธ์เป็ นอย่างไร และมี
้
ผูตดตามมากน้อยเท่าใด เพราะถ้าไม่มีผตดตาม ผลลัพธ์ระยะ
้ ิ
ู้ ิ
ยาวเกิดขึ้นได้ยาก
 ผูนาต้องมีความคาดหวังสูงทั้งผลลัพธ์และสร้างความสัมพันธ์
้
 ถ้าเราดูแลลูกค้าและบุคลากรของเราให้ดี กาไรและผล
ประกอบการที่ดี จะเป็ นตัวบ่งบอกถึงการทาหน้าที่ของผูนา
้
การให้คณค่ากับผลลัพธ์
ุ
 ผูนาต้องมีความคาดหวังต่อผลลัพธ์สูง และมีเป้ าประสงค์ที่
้
ชัดเจน
 การแก้ปัญหาที่ทาให้ผลดาเนินการออกมาไม่ดี เป็ นความ
รับผิดชอบอย่างสูงของผูนา
้
 และเมื่อทางานได้สาเร็จ ควรมีการเลี้ยงฉลอง
การให้คณค่าต่อความสัมพันธ์
ุ
 John Maxwell กล่าวว่า ผูคน
้
จะไม่ให้ความร่วมมือ จนกว่า
เขาจะรูความในใจของคุณ
้
(People will not give you
their hand until they can see
your heart.)
ความสาเร็จ
 ผูนาต้องเข้าใจคานิยามของคาว่า ความสาเร็จ ถ้าความสาเร็จ
้
ขึ้นกับผลลัพธ์และความสัมพันธ์ ก็ตองกล้าเสี่ยงกับการสร้าง
้
ความสัมพันธ์
 ถามตนเองว่า นอกจากหน้าที่การงานแล้ว เราจะช่วยเหลือเรือง
่
อื่น ๆ ของเขาได้อย่างไร โดยรูจกชีวิตของเขานอกเหนือจากชีวิต
้ั
การทางานด้วย หัดถามว่า มีเรื่องอื่นที่ตองการให้ช่วยหรือไม่
้
 ผูคนไม่สนใจว่าคุณรูเรืองมากเพียงใด จนกว่าเขาจะรูว่าคุณเอาใจ
้
้ ่
้
ใส่เขามากเพียงใด (People don’t care how much you know, until
they know how much you care.)
คาถามเพือกระตุนความคิด
่
้
 คุณมุ่งเน้นเรืองผลลัพธ์อย่างจริงจังเพียงใด
่
 มีผคนเท่าใด ที่บอกว่าคุณได้ทุ่มเทเอาใจใส่ดูแลเขาเป็ นพิเศษ
ู้
 ใน 30 วันที่ผ่านมา คุณมีการแสดงออกถึงการทางานได้สาเร็จ
อย่างไร





E หมายถึง การดารงคุณค่าในตน
(Embody the Values)
ผูนาที่ยงใหญ่ทุกคนต้องสร้าง
้
ิ่
ความไว้วางใจ (Trust) ให้เกิด
ขึ้นกับผูที่ตดตาม
้ ิ
วิธีสร้างความไว้วางใจของผูนามี
้
หลายหลาก วิธีหนึ่งคือ การยึดถือ
ค่านิยมของตนไว้อย่างมั ่นคง
ความไว้วางใจ
 ภาวะผูนาที่แท้จริงสร้างอยูบนความไว้วางใจ (Trust)
้
่
 ผูนาต้องยึดมั ่นในค่านิยมที่ตนเองมีความเชื่อ
้
 ความไว้วางใจเกิดจากการสร้างขึ้นมา ผูนาที่ไม่มีผไว้ใจ ไม่มีทาง
้
ู้
ได้เป็ นผูนาที่ยงใหญ่ เพราะผูคนจะเดินตามผูนาที่เขาไว้วางใจได้
้
ิ่
้
้
เท่านั้น
 คุณต้องยึดมั ่นในหลักการเพื่อจะได้นาอย่างมีประสิทธิผล
เปลี่ยนใจ
 การจะเป็ นผูนาแบบผูรบใช้ หรือจะเป็ นผูนาเพื่อตนเอง เกิดจาก
้
้ั
้
การเรียนรู ้ โดยมีผช้ ีนาหรือมีผเป็ นแบบอย่างให้ดู
ู้
ู้
 ส่วนการตัดสินใจเลือกว่าต้องการเป็ นผูนาประเภทใดนั้น ขึ้นอยู่
้
กับใจ ไม่ได้ข้ ึนกับเวลา ผูนาที่เป็ นแบบผูรบใช้ จะขึ้นกับการ
้
้ั
เปลี่ยนใจ (change of heart) ของตนเองว่า จะทาเพื่อตนเองหรือ
จะทาเพื่อผูอื่น
้
คาถามเพือกระตุนความคิด
่
้
 คุณมีแนวทางการนาค่านิยมขององค์กรให้ทีมปฏิบตได้อย่างไร
ั ิ
 ในระยะ 30 วันที่ผ่านมานี้ คุณมีวิธีสื่อสารค่านิยมองค์กรให้กบ
ั
ทีมอย่างไร
 คุณมีวิธีการปรับปรุงการปฏิบตงานประจาวัน ให้มีความ
ั ิ
สอดคล้องกับค่านิยมขององค์กรได้อย่างไร
 คุณมีวิธีการให้รางวัลกับผูที่ปฏิบตตามค่านิยมอย่างไร
้
ั ิ
ตัวอย่างของผูนาแบบผูรบใช้
้
้ั
 Nelson Mandela
 Jimmy Carter
 Martin Luther King, Jr.
 Jesus of Nazareth
Nelson Mandela
 เขาถูกจาคุกโดยการตัดสินที่ผิดพลาดถึง 28 ปี เมื่อถูกปลดปล่อย
ออกมา เขาไม่ได้โกรธแค้น
 เมื่อเขาเป็ นอิสระ เขาปรารถนาจะช่วยผูอื่น และได้เชิญพัสดี มา
้
ร่วมงานในพิธีสาบานตน ในการเป็ นประธานาธิบดีผิวสีคนแรก
ของประเทศอาฟริกาใต้
 เพราะเขาเป็ นผูมีวิสยทัศน์
้ ั
Jimmy Carter
 เขาไม่ได้เป็ นผูนาที่ยงใหญ่ตอนเป็ นประธานาธิบดีของอเมริกา
้
ิ่
 หลังจากพ้นตาแหน่ง เขาได้อุทิศตน เป็ นหัวหน้าทีมสร้างบ้าน
ให้กบผูยากไร้นบพันหลัง
ั ้
ั
 เขาได้รบรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ในการเจรจาช่วยเหลือเพื่อ
ั
สร้างความสงบสุขให้เกิดบนโลกนี้
 เขาเป็ นตัวอย่างของผูนาที่เสียสละ และปรารถนาช่วยเหลือผูอื่น
้
้
Martin Luther King, Jr.
 เขาเป็ นผูนาของชาวผิวสีในอเมริกา ทีมีความฝั นที่ยิ่งใหญ่ คือ สัก
้
่
วันหนึ่ง ผูคนจะไม่ถูกตัดสินด้วยผิวของสี แต่ข้ ึนกับคุณสมบัตที่
้
ิ
เขามี (a dream that one day people wouldn’t be judged by ‘the
color of their skin, but by the content of their character.’ )
 เขาเป็ นผูมองไปในอนาคต สร้างความผูกพัน และยึดมั ่นใน
้
ค่านิยม
Jesus of Nazareth
 พระองค์ได้เลือกสาวก 12 คน แล้วพัฒนาพวกเขา ให้เป็ นผูนาใน
้
การเผยแพร่ศาสนา หลังจากพระองค์ส้ ินชีวิตแล้ว
 พระองค์มีหวใจของการรับใช้ เมื่อผูคนถามพระองค์ว่านาอย่างไร
ั
้
ทรงตอบว่า โดยการติดตาม เมื่อผูคนถามว่าจะเป็ นที่หนึ่งได้
้
อย่างไร ทรงตอบว่า โดยการเป็ นคนสุดท้าย
 พระองค์เป็ นสัญลักษณ์ของผูนาแบบผูรบใช้ ในการทานอาหาร
้
้ั
คามื้อสุดท้าย พระองค์ได้ทาการล้างเท้าให้กบเหล่าสาวกและ
่
ั
กล่าวว่า จงทากับผูอื่นเช่นเดียวกับที่เราทากับพวกเธอในตอนนี้
้
(Just as I have done for you, you must do for others.)
การทบทวน SERVE
 ผูที่ตองการเป็ นผูนาที่ยงใหญ่ ต้องเป็ นผูที่ปรารถนาจะช่วยผูอื่น
้ ้
้
ิ่
้
้
 ประการแรก เขาต้องเป็ นผูที่มีวิสยทัศน์ (See the Future)
้
ั
สามารถอธิบายให้ผอื่นได้เห็นจุดหมายและข้อดีได้
ู้
 อักษร E ตัวแรกใน SERVE หมายถึง การสร้างความผูกพันและ
การพัฒนา (Engage and Develop Others) ความผูกพันมีสองส่วน
คือ การคัดเลือกถูกคนให้ถูกกับงาน และการได้ท้งตัวและหัวใจ
ั
(hands, hearts and heads)




อักษร R คือการค้นพบใหม่เสมอ (Reinvent Continuously) สิ่งที่
ผูนาจะต้องกระทา 3 ระดับ คือ 1.) ระดับบุคคล หมายถึงผูนา
้
้
ต้องมีการเรียนรูอยูตลอดเวลา 2.) ค้นพบระบบและกระบวนการ
้ ่
ในการทางานให้ดีข้ ึน 3.) โครงสร้างองค์กร ที่ตองมีการ
้
ปรับเปลี่ยนตามสภาพสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
อักษร V คือการให้คณค่ากับผลลัพธ์และความสัมพันธ์ (Value
ุ
Results and Relationships) ผูนาต้องให้ความสาคัญทั้งคู่ การ
้
สร้างความสัมพันธ์เกิดได้โดย การตั้งใจฟั ง ให้เวลา ใส่ใจ และ
ชื่นชมความพยายามของบุคคล


อักษร E ตัวสุดท้ายคือการยึดมั ่นในค่านิยม (Embody the Values)
ถ้าเราสูญเสียความน่าเชื่อถือ ศักยภาพผูนาจะมีจากัด นั ่นคือ
้
ผูนาไม่เพียงแต่พด แต่ตองแสดงตนเป็ นตัวอย่างในค่านิยมนั้น
้
ู
้
การผ่องถ่ายอานาจ
 การได้ช่วยผูอื่นประสบความสาเร็จในการเป็ นผูนารุนต่อไป ถือว่า
้
้ ่
เป็ นเกียรติยศของผูนาที่ยงใหญ่ (The ability to develop capable
้
ิ่
successors is a hallmark of great leaders.)


Albert Einstein

(1879–1955) German-Swiss-American mathematical physicist, famous for his
theories of relativity.
Buddha, The Dhammapada
Indian philosopher & religious leader (563 BC - 483 BC)

More Related Content

Similar to ความลับ ผู้นำที่ยิ่งใหญ่รู้และปฏิบัติ The secret

The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allKruKaiNui
 
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self maruay songtanin
 
พัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการ
พัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการพัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการ
พัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการtra thailand
 
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
 การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptxmaruay songtanin
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตProud N. Boonrak
 
ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership
ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership
ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership maruay songtanin
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture maruay songtanin
 
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership maruay songtanin
 
การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่สอง Super motivation 2
การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่สอง Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่สอง Super motivation 2
การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่สอง Super motivation 2 maruay songtanin
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ผู้นำที่ปรับตัวได้ดี Leadershift
 ผู้นำที่ปรับตัวได้ดี Leadershift ผู้นำที่ปรับตัวได้ดี Leadershift
ผู้นำที่ปรับตัวได้ดี Leadershiftmaruay songtanin
 
การทำให้สำเร็จ Execution
การทำให้สำเร็จ Execution การทำให้สำเร็จ Execution
การทำให้สำเร็จ Execution maruay songtanin
 
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การwanna2728
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325CUPress
 

Similar to ความลับ ผู้นำที่ยิ่งใหญ่รู้และปฏิบัติ The secret (20)

The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
 
Teams work
Teams workTeams work
Teams work
 
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
 
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
พัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการ
พัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการพัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการ
พัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการ
 
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
 การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
Individual behavior
Individual behaviorIndividual behavior
Individual behavior
 
ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership
ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership
ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
 
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
 
การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่สอง Super motivation 2
การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่สอง Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่สอง Super motivation 2
การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่สอง Super motivation 2
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ผู้นำที่ปรับตัวได้ดี Leadershift
 ผู้นำที่ปรับตัวได้ดี Leadershift ผู้นำที่ปรับตัวได้ดี Leadershift
ผู้นำที่ปรับตัวได้ดี Leadershift
 
การทำให้สำเร็จ Execution
การทำให้สำเร็จ Execution การทำให้สำเร็จ Execution
การทำให้สำเร็จ Execution
 
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
 

More from maruay songtanin

010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...maruay songtanin
 
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfmaruay songtanin
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
 
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

ความลับ ผู้นำที่ยิ่งใหญ่รู้และปฏิบัติ The secret

  • 2. Ken Blanchard Mark Miller Berrett-Koehler Publishers, Inc. San Francisco, 2007
  • 3. เกรินนา ่  หนังสือเล่มนี้ ใช้การเล่าเรืองราวของหัวหน้าแผนกคนหนึ่งคือ ่ Debbie เป็ นการเดินเรือง จากเดิมที่เธอเคยทาหน้าที่หวหน้า ่ ั โครงการ แล้วได้รบการเลื่อนตาแหน่งเป็ นหัวหน้าฝ่ ายลูกค้า ั สัมพันธ์ แต่กลับไม่มีผลงานเท่าที่ควร  จนกระทั ่งได้เข้ารับการพัฒนาอบรมในโครงการพี่เลี้ยง ซึ่งพี่เลี้ยง ของเธอคือ Jeff ผูบริหารสูงสุดขององค์กร ้  เขาได้ถายทอดความลับของผูนาที่ยงใหญ่ให้กบเธอ จนกระทั ่ง ่ ้ ิ่ ั เธอเข้าใจ นาไปใช้จนประสบความสาเร็จ และได้เลื่อนตาแหน่ง เป็ น หัวหน้าโครงการฝึ กอบรมผูนาขององค์กร ้
  • 4. ผูนาคือใคร ้  ผูนาคือ ผูบงคับบัญชา ้ ้ ั  ผูนาคือ ผูที่ลกน้องต้องรายงานด้วย ้ ้ ู  ผูนาคือ ผูที่ทาสิ่งต่างๆ ให้เกิดขึ้นได้ ้ ้  ผูนาคือ ผูที่ดารงตาแหน่งที่ได้รบมอบหมาย มีหน้าที่รบผิดชอบ ้ ้ ั ั ผลลัพธ์ของผูที่อยูใต้บงคับบัญชา ้ ่ ั
  • 5. เกี่ยวกับผูนา ้  ผูนามีความเชื่อว่า การพัฒนาผูนา เป็ นกลยุทธ์สาคัญที่สุดของ ้ ้ องค์กร เพราะองค์กรจะรุงเรืองหรือตกต ่า ขึ้นกับภาวะผูนา ่ ้  ผูนาเป็ นผูฟังที่ดี ้ ้  ผูนาเป็ นผูทอ่อนน้อม มักกล่าวว่า จะให้ผมรับใช้คณได้อย่างไร ้ ้ ี่ ุ
  • 6.    ภาวะผูนา เสมือนก้อนภูเขาน้ าแข็งที่ ้ ลอยอยูในทะเล มีสวนที่อยูเหนือน้ า ่ ่ ่ และส่วนที่อยูใต้น้ า ่ สิ่งที่อยูใต้น้ าคือคุณลักษณะของผูนา ่ ้ สิ่งที่อยูเหนือน้ าคือทักษะการนา ่ ภาวะผูนาจึงแบ่งได้ 2 ส่วนคือ การ ้ เป็ นผูนา (Being) และการกระทา ้ อย่างผูนา (Doing) ้
  • 7. ความลับของผูนาที่ยงใหญ่ คือ การรับใช้ โดยมีคาย่อคือ SERVE ้ ิ่  ผูนามีคาถามที่สาคัญ ที่ใช้ถามตนเองอยูเสมอว่า เราเป็ นผูนาที่ ้ ่ ้ รับใช้ผอื่น หรือ เป็ นผูนาที่ทาเพื่อตนเอง (Am I a serving leader ู้ ้ or a self-serving leader?)  การเป็ นผูนาที่รบใช้ผอื่นไม่มีการสิ้นสุด คุณจะมีแนวทางต่าง ๆ ้ ั ู้ มากมายที่จะช่วยเหลือผูอื่น เมื่อคุณได้ทา ทักษะการเป็ นผูนา ้ ้ แบบผูรบใช้จะได้รบการพัฒนา ส่งผลให้คณเป็ นผูนาที่ดีข้ ึน ้ั ั ุ ้
  • 8.    อักษร S หมายถึงการมีวิสยทัศน์ ั (See the Future) หรือ เห็นภาพใน อนาคต ภาวะผูนาคือ การนาผูคนจากที่แห่ง ้ ้ หนึ่งไปสูที่อีกแห่งหนึ่ง ่ ข้อสาคัญคือ ทุกคนในทีมต้องรู ้ จุดหมายปลายทางด้วย
  • 9. การมองไปในอนาคต  วิสยทัศน์ที่ดี จะทาให้เกิดแรงบันดาลใจ มีแรงมีกาลังที่จะมุ่งสู่ ั อนาคตที่สดใส เป็ นแรงผลักดันให้ทุกคนแสดงพฤติกรรมออกมา  ถ้าผูนาไม่มีแรงปรารถนาอย่างแรงกล้า ที่จะมุ่งสูภาพในอนาคต ้ ่ นั้น ทั้งทีมก็คงปล่อยวางด้วย  การมองภาพอนาคต และบอกเล่าให้คนอื่นเข้าใจได้ดวย เป็ น ้ บทบาทที่สาคัญของผูนา ้
  • 10. การมองไกลและมองใกล้  การมองไกล (Heads Up) คือการมองไปในอนาคต และต้องดู ทิศทางที่จะไปด้วย  ผูนาต้องเจียดหาเวลาเพื่อมองภาพในอนาคต สามารถอธิบายให้ ้ ผูอื่นเข้าใจ และเห็นภาพในอนาคตนั้นตามไปด้วย รวมถึงการ ้ พิจารณาดูโอกาสและอุปสรรค ที่อาจจะเกิดขึ้น  ส่วนการทาให้วิสยทัศน์เป็ นจริงเรียกว่า มองใกล้ (Heads Down) ั  การให้บุคคลมีส่วนร่วมสร้างวิสยทัศน์ จะทาให้พวกเขาเกิดความ ั มุ่งมั ่น แต่เป็ นหน้าที่ของผูนาที่ตองสร้างวิสยทัศน์ให้สาเร็จ ้ ้ ั
  • 11. คาถามกระตุนเพื่อคิด ้  จุดมุ่งหมายของทีมคุณคืออะไร  อีก 5 ปี ข้างหน้า คุณต้องการให้ทีมของคุณเป็ นอย่างไร  สมาชิกในทีมของคุณ มีกี่คนที่ตอบได้ว่า ทีมต้องการประสบ ผลสาเร็จในเรืองอะไร ่  ค่านิยมที่ตองการให้ทีมมีพฤติกรรมแสดงออกคืออะไร ้  คุณมีวิธีการสื่อสารวิสยทัศน์ให้เพื่อนร่วมทีมอย่างไร ั
  • 12. ค่านิยม  ถ้าค่านิยมมีการเผยแพร่ให้รูทั ่วกัน จะทาให้เป็ นสิ่งที่สามารถ ้ ทาซ้ าได้ ระลึกได้ เกิดผลดี และ ส่งผลลัพธ์ดานบวก ้  ค่านิยมเป็ นเรืองใหญ่ เป็ นเสาหลักของวัฒนธรรมองค์กร ที่ผนา ่ ู้ ต้องการสร้างขึ้นมา (เช่น ลูกค้าต้องมาก่อน การให้ความร่วมมือ กัน การเป็ นผูช่วยเหลือ การมีความคิดสร้างสรรค์ ) ้  โปรดระลึกไว้ว่า ค่านิยม คือความเชื่อที่ผลักดันให้เรามี พฤติกรรมในการแสดงออก (Values are the beliefs that drive our behavior.)
  • 13.   คาย่อของ E คือ สร้างความผูกพันและ พัฒนาผูอื่น (Engage and Develop ้ Others) การทางานให้สาเร็จ ต้องอาศัยบุคลากรที่ อยูรอบข้างด้วย คือบุคลากรที่มีความ ่ ผูกพัน เป็ นบุคลากรที่ถูกคน (right people) และถูกกับบทบาทหรืองานทีทา ่ (in the right roles)
  • 14. ความผูกพัน  ความผูกพันมี 2 องค์ประกอบ สิ่งแรกคือการคัดเลือก (Selection) ควรคัดเลือกบุคคลที่ถูกคนและถูกกับงาน ถ้าเลือก ผิดคน นั ่นคือภาวะผูนาที่เกิดความผิดพลาด ้  ประการที่สองคือการได้ความร่วมมือทั้งตัวและหัวใจ (hands, heads and hearts)  ถ้าบุคลากรเกิดความผูกพัน ประเด็นใดที่ผนาเสนอ บุคลากรก็จะ ู้ ให้การสนับสนุน อยูขางเดียวกับผูนา ่ ้ ้
  • 15. สิ่งแวดล้อมในการสร้างความผูกพัน  ในอดีต มีเงื่อนไขอะไรบ้างที่ทาให้ คุณรูสึกผูกพันอยูกบงาน เช่น การมี ้ ่ ั เป้ าประสงค์ชดเจน ได้รบการฝึ กฝน ั ั มาเป็ นอย่างดี มีขอมูลสารสนเทศ ้ เมื่อต้องการ เจ้านายไว้วางใจ นาย คอยอยูให้กาลังใจ รูสึกได้มีส่วน ่ ้ ร่วม ได้เรียนรูและได้เติบโตขึ้น ้ (สรุปคือ รูสึกว่าตัวเองมีคุณค่าและ ้ ได้รบการยอมรับ) ั You felt valued and appreciated
  • 16. การพัฒนาผูอื่น ้  ผูนาที่ดี มีการลงทุนในการพัฒนาบุคลกร ้  แผนพัฒนาบุคลากร (Personal Development Plan) หรือบาง องค์กรใช้คาว่า แผนพัฒนาเป็ นรายบุคคล (Individual Development Plans, or IDPs) เป็ นแผนในสร้างการเรียนรูและ ้ การเจริญเติบโต มีการฝึ กอบรมและสร้างโอกาสพัฒนา การหา แหล่งความรูหรือการศึกษาให้กบบุคลากร ้ ั  ผูนาที่ยงใหญ่ จะคอยมองหาคนเก่ง (talented people) เข้ามา ้ ิ่ ทางานในองค์กร
  • 17. คาถามเพือกระตุนความคิด ่ ้  คุณใช้เวลามากเท่าใด ในการเสาะหาคนเก่งมาร่วมงานด้วย  อะไรคือคุณสมบัตที่ตองการ ของบุคคลที่คณมองหาอยู่ ิ ้ ุ  คุณสร้างความผูกพันให้กบทีมงานได้ดีเพียงใด ั  คุณได้ทาอะไรบ้างเพื่อสร้างความผูกพัน ให้ระบุมา 10 ประการ  คุณได้ทาอะไรที่ทาให้ทีมงานมั ่นใจว่า เมื่อถึงเวลาการปฏิบตงาน ั ิ คุณจะคอยอยูช่วยเหลือพวกเขา ่  คุณมีส่วนช่วยกระตุนการพัฒนาบุคลากรอย่างไร ้
  • 18. การยกระดับจุดแข็ง  ผูนาควรวิเคราะห์ว่า บุคคลผูน้นมีอะไรเป็ นจุดแข็ง ได้อยูใน ้ ้ ั ่ ตาแหน่งที่ใช้จดแข็งอย่างเหมาะสมหรือไม่ ถ้าคิดว่าอยูถูก ุ ่ ตาแหน่งแล้ว ให้คิดต่อไปว่าเขาสมควรได้รบการพัฒนาหรือ ั ฝึ กอบรมอะไรเพิ่มเติม และเขารูตวหรือไม่ว่า มีความรับผิดชอบ ้ ั ในเรืองอะไรบ้าง ่  ถ้าวางคนได้ถูกตาแหน่ง การพัฒนาบุคลากรไม่ใช่เรื่องยาก  การได้ยกระดับจุดแข็งของผูอื่น เป็ นงานที่ผนาสมควรภาคภูมิใจ ้ ู้ (Helping people leverage their strengths is one of the most rewarding parts of the leader’s role.)
  • 19.   R คือ การค้นพบใหม่อยูเสมอ ่ (Reinvent Continuously) พลังของภาวะผูนาเกิดจากความ ้ ปรารถนาได้รบใช้ผอื่น อย่าลืมถาม ั ู้ ตนเองอยูเสมอว่า เราเป็ นผูนาที่รบ ่ ้ ั ใช้ผอื่น หรือทาเพื่อตนเอง (Am I a ู้ serving leader or a self-serving leader?)
  • 20. การค้นพบใหม่อยูเสมอ ่  ระดับแรก คือ บุคคล ผูนาสนใจที่จะเพิ่มพูนความรูและทักษะ ้ ้ ของตนเองอยูเสมอ ผูนาที่ดีจะเป็ นผูเรียนรูที่ดี ่ ้ ้ ้  ระดับที่สอง คือ ระบบและกระบวนการ ผูนาคิดเสมอว่า จะ ้ ทางานให้ดข้ ึน มีความผิดพลาดน้อยลง ทางานได้เร็วขึ้น และทา ี ให้ถูกลงได้อย่างไร  ระดับที่สาม คือ องค์กร ปั จจุบนองค์กรต้องมีความคล่องตัวและ ั มีความยืดหยุนในการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง เพราะ ่ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ่
  • 21. คาถามเพือกระตุนความคิด ่ ้  ตอนนี้คุณเป็ นพี่เลี้ยงให้กบใครอยู่ ั  คุณอ่านหนังสือหรือฟั งเทปเรื่องอะไรอยู่  ระบบหรือกระบวนการที่คณดูแลรับผิดชอบอยู่ มีอะไรที่ตอง ุ ้ เปลี่ยนแปลงเพื่อทาให้มีผลงานที่ดีข้ ึน  โครงสร้างหน่วยที่คุณเป็ นผูนาอยู่ มีอะไรที่ตองเปลี่ยนแปลงเพื่อ ้ ้ ทาให้มีผลการดาเนินการที่ดีข้ ึน
  • 22.   V หมายถึง การให้คณค่ากับ ุ ผลลัพธ์และความสัมพันธ์ (Value Results and Relationships) ผูนาที่ยงใหญ่ทาทั้งสองอย่าง ไม่ ้ ิ่ เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง เพราะ ทั้งสองประการเป็ นปั จจัยให้เกิด ความยั ่งยืน
  • 23. ผลลัพธ์และสร้างความสัมพันธ์  บททดสอบของผูนา มี 2 ประการคือ ผลลัพธ์เป็ นอย่างไร และมี ้ ผูตดตามมากน้อยเท่าใด เพราะถ้าไม่มีผตดตาม ผลลัพธ์ระยะ ้ ิ ู้ ิ ยาวเกิดขึ้นได้ยาก  ผูนาต้องมีความคาดหวังสูงทั้งผลลัพธ์และสร้างความสัมพันธ์ ้  ถ้าเราดูแลลูกค้าและบุคลากรของเราให้ดี กาไรและผล ประกอบการที่ดี จะเป็ นตัวบ่งบอกถึงการทาหน้าที่ของผูนา ้
  • 24. การให้คณค่ากับผลลัพธ์ ุ  ผูนาต้องมีความคาดหวังต่อผลลัพธ์สูง และมีเป้ าประสงค์ที่ ้ ชัดเจน  การแก้ปัญหาที่ทาให้ผลดาเนินการออกมาไม่ดี เป็ นความ รับผิดชอบอย่างสูงของผูนา ้  และเมื่อทางานได้สาเร็จ ควรมีการเลี้ยงฉลอง
  • 25. การให้คณค่าต่อความสัมพันธ์ ุ  John Maxwell กล่าวว่า ผูคน ้ จะไม่ให้ความร่วมมือ จนกว่า เขาจะรูความในใจของคุณ ้ (People will not give you their hand until they can see your heart.)
  • 26. ความสาเร็จ  ผูนาต้องเข้าใจคานิยามของคาว่า ความสาเร็จ ถ้าความสาเร็จ ้ ขึ้นกับผลลัพธ์และความสัมพันธ์ ก็ตองกล้าเสี่ยงกับการสร้าง ้ ความสัมพันธ์  ถามตนเองว่า นอกจากหน้าที่การงานแล้ว เราจะช่วยเหลือเรือง ่ อื่น ๆ ของเขาได้อย่างไร โดยรูจกชีวิตของเขานอกเหนือจากชีวิต ้ั การทางานด้วย หัดถามว่า มีเรื่องอื่นที่ตองการให้ช่วยหรือไม่ ้  ผูคนไม่สนใจว่าคุณรูเรืองมากเพียงใด จนกว่าเขาจะรูว่าคุณเอาใจ ้ ้ ่ ้ ใส่เขามากเพียงใด (People don’t care how much you know, until they know how much you care.)
  • 27. คาถามเพือกระตุนความคิด ่ ้  คุณมุ่งเน้นเรืองผลลัพธ์อย่างจริงจังเพียงใด ่  มีผคนเท่าใด ที่บอกว่าคุณได้ทุ่มเทเอาใจใส่ดูแลเขาเป็ นพิเศษ ู้  ใน 30 วันที่ผ่านมา คุณมีการแสดงออกถึงการทางานได้สาเร็จ อย่างไร
  • 28.    E หมายถึง การดารงคุณค่าในตน (Embody the Values) ผูนาที่ยงใหญ่ทุกคนต้องสร้าง ้ ิ่ ความไว้วางใจ (Trust) ให้เกิด ขึ้นกับผูที่ตดตาม ้ ิ วิธีสร้างความไว้วางใจของผูนามี ้ หลายหลาก วิธีหนึ่งคือ การยึดถือ ค่านิยมของตนไว้อย่างมั ่นคง
  • 29. ความไว้วางใจ  ภาวะผูนาที่แท้จริงสร้างอยูบนความไว้วางใจ (Trust) ้ ่  ผูนาต้องยึดมั ่นในค่านิยมที่ตนเองมีความเชื่อ ้  ความไว้วางใจเกิดจากการสร้างขึ้นมา ผูนาที่ไม่มีผไว้ใจ ไม่มีทาง ้ ู้ ได้เป็ นผูนาที่ยงใหญ่ เพราะผูคนจะเดินตามผูนาที่เขาไว้วางใจได้ ้ ิ่ ้ ้ เท่านั้น  คุณต้องยึดมั ่นในหลักการเพื่อจะได้นาอย่างมีประสิทธิผล
  • 30. เปลี่ยนใจ  การจะเป็ นผูนาแบบผูรบใช้ หรือจะเป็ นผูนาเพื่อตนเอง เกิดจาก ้ ้ั ้ การเรียนรู ้ โดยมีผช้ ีนาหรือมีผเป็ นแบบอย่างให้ดู ู้ ู้  ส่วนการตัดสินใจเลือกว่าต้องการเป็ นผูนาประเภทใดนั้น ขึ้นอยู่ ้ กับใจ ไม่ได้ข้ ึนกับเวลา ผูนาที่เป็ นแบบผูรบใช้ จะขึ้นกับการ ้ ้ั เปลี่ยนใจ (change of heart) ของตนเองว่า จะทาเพื่อตนเองหรือ จะทาเพื่อผูอื่น ้
  • 31. คาถามเพือกระตุนความคิด ่ ้  คุณมีแนวทางการนาค่านิยมขององค์กรให้ทีมปฏิบตได้อย่างไร ั ิ  ในระยะ 30 วันที่ผ่านมานี้ คุณมีวิธีสื่อสารค่านิยมองค์กรให้กบ ั ทีมอย่างไร  คุณมีวิธีการปรับปรุงการปฏิบตงานประจาวัน ให้มีความ ั ิ สอดคล้องกับค่านิยมขององค์กรได้อย่างไร  คุณมีวิธีการให้รางวัลกับผูที่ปฏิบตตามค่านิยมอย่างไร ้ ั ิ
  • 33. Nelson Mandela  เขาถูกจาคุกโดยการตัดสินที่ผิดพลาดถึง 28 ปี เมื่อถูกปลดปล่อย ออกมา เขาไม่ได้โกรธแค้น  เมื่อเขาเป็ นอิสระ เขาปรารถนาจะช่วยผูอื่น และได้เชิญพัสดี มา ้ ร่วมงานในพิธีสาบานตน ในการเป็ นประธานาธิบดีผิวสีคนแรก ของประเทศอาฟริกาใต้  เพราะเขาเป็ นผูมีวิสยทัศน์ ้ ั
  • 34. Jimmy Carter  เขาไม่ได้เป็ นผูนาที่ยงใหญ่ตอนเป็ นประธานาธิบดีของอเมริกา ้ ิ่  หลังจากพ้นตาแหน่ง เขาได้อุทิศตน เป็ นหัวหน้าทีมสร้างบ้าน ให้กบผูยากไร้นบพันหลัง ั ้ ั  เขาได้รบรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ในการเจรจาช่วยเหลือเพื่อ ั สร้างความสงบสุขให้เกิดบนโลกนี้  เขาเป็ นตัวอย่างของผูนาที่เสียสละ และปรารถนาช่วยเหลือผูอื่น ้ ้
  • 35. Martin Luther King, Jr.  เขาเป็ นผูนาของชาวผิวสีในอเมริกา ทีมีความฝั นที่ยิ่งใหญ่ คือ สัก ้ ่ วันหนึ่ง ผูคนจะไม่ถูกตัดสินด้วยผิวของสี แต่ข้ ึนกับคุณสมบัตที่ ้ ิ เขามี (a dream that one day people wouldn’t be judged by ‘the color of their skin, but by the content of their character.’ )  เขาเป็ นผูมองไปในอนาคต สร้างความผูกพัน และยึดมั ่นใน ้ ค่านิยม
  • 36. Jesus of Nazareth  พระองค์ได้เลือกสาวก 12 คน แล้วพัฒนาพวกเขา ให้เป็ นผูนาใน ้ การเผยแพร่ศาสนา หลังจากพระองค์ส้ ินชีวิตแล้ว  พระองค์มีหวใจของการรับใช้ เมื่อผูคนถามพระองค์ว่านาอย่างไร ั ้ ทรงตอบว่า โดยการติดตาม เมื่อผูคนถามว่าจะเป็ นที่หนึ่งได้ ้ อย่างไร ทรงตอบว่า โดยการเป็ นคนสุดท้าย  พระองค์เป็ นสัญลักษณ์ของผูนาแบบผูรบใช้ ในการทานอาหาร ้ ้ั คามื้อสุดท้าย พระองค์ได้ทาการล้างเท้าให้กบเหล่าสาวกและ ่ ั กล่าวว่า จงทากับผูอื่นเช่นเดียวกับที่เราทากับพวกเธอในตอนนี้ ้ (Just as I have done for you, you must do for others.)
  • 37. การทบทวน SERVE  ผูที่ตองการเป็ นผูนาที่ยงใหญ่ ต้องเป็ นผูที่ปรารถนาจะช่วยผูอื่น ้ ้ ้ ิ่ ้ ้  ประการแรก เขาต้องเป็ นผูที่มีวิสยทัศน์ (See the Future) ้ ั สามารถอธิบายให้ผอื่นได้เห็นจุดหมายและข้อดีได้ ู้  อักษร E ตัวแรกใน SERVE หมายถึง การสร้างความผูกพันและ การพัฒนา (Engage and Develop Others) ความผูกพันมีสองส่วน คือ การคัดเลือกถูกคนให้ถูกกับงาน และการได้ท้งตัวและหัวใจ ั (hands, hearts and heads)
  • 38.   อักษร R คือการค้นพบใหม่เสมอ (Reinvent Continuously) สิ่งที่ ผูนาจะต้องกระทา 3 ระดับ คือ 1.) ระดับบุคคล หมายถึงผูนา ้ ้ ต้องมีการเรียนรูอยูตลอดเวลา 2.) ค้นพบระบบและกระบวนการ ้ ่ ในการทางานให้ดีข้ ึน 3.) โครงสร้างองค์กร ที่ตองมีการ ้ ปรับเปลี่ยนตามสภาพสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง อักษร V คือการให้คณค่ากับผลลัพธ์และความสัมพันธ์ (Value ุ Results and Relationships) ผูนาต้องให้ความสาคัญทั้งคู่ การ ้ สร้างความสัมพันธ์เกิดได้โดย การตั้งใจฟั ง ให้เวลา ใส่ใจ และ ชื่นชมความพยายามของบุคคล
  • 39.  อักษร E ตัวสุดท้ายคือการยึดมั ่นในค่านิยม (Embody the Values) ถ้าเราสูญเสียความน่าเชื่อถือ ศักยภาพผูนาจะมีจากัด นั ่นคือ ้ ผูนาไม่เพียงแต่พด แต่ตองแสดงตนเป็ นตัวอย่างในค่านิยมนั้น ้ ู ้
  • 40. การผ่องถ่ายอานาจ  การได้ช่วยผูอื่นประสบความสาเร็จในการเป็ นผูนารุนต่อไป ถือว่า ้ ้ ่ เป็ นเกียรติยศของผูนาที่ยงใหญ่ (The ability to develop capable ้ ิ่ successors is a hallmark of great leaders.)
  • 41.  Albert Einstein (1879–1955) German-Swiss-American mathematical physicist, famous for his theories of relativity.
  • 42. Buddha, The Dhammapada Indian philosopher & religious leader (563 BC - 483 BC)