SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
ผลงานวิส าหกิจ ชุม ชนกลุ่ม
    เกษตรกรทำา นาตะโหมด
ตำา บลตะโหมด อำา เภอตะโหมด
        จัง หวัด พัท ลุง




 สำานักงานกลุ่ม เกษตรกรทำา นาตะ
               โหมด
  ๓๒/๑ หมู่ท ี่ ๓ ตำา บลตะโหมด
        โทร. 074-632340
            E-mail: k-
      tamode@hotmail.com
ผลงานวิส าหกิจ ชุม ชนดีเ ด่น จัง หวัด พัท ลุง
                       ประจำา ปี 2555
    ชื่อ วิส าหกิจ ชุม ชน กลุ่ม เกษตรกรทำา นาตะ
                           โหมด
                         ข้อ มูล ทัว ไป
                                   ่
     ชื่อวิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรกรทำานาตะโหมด
 สถานทีตั้ง บ้านเลขที่ 32/1 หมูที่ 3 ตำาบลตะโหมด
          ่                             ่
อำาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง โทร. 074-632-340
    ได้รับอนุมติจดทะเบียนตาม พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจ
                  ั
ชุมชน พ.ศ.2548 เมือวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2549
                         ่
            รหัสทะเบียน 5-93-04-02/1-0003
                      สมาชิก 1,761 ราย
               ผู้มอำานาจทำาการแทน 2 คน คือ
                    ี
                        - นายอรุณ ไพชำานาญ
                         - นายสมนึก มณีรัตน์
ประวัติความเป็นมาของวิสาหกิจ
            ชุมชน
         กลุ่มเกษตรกรทำานาตะโหมด ได้จัดตั้งกลุ่มเมื่อ
วันที่ 9 กรกฎาคม 2517 มีสมาชิกครั้งแรก จำานวน
67 คน กิจการของกลุ่มได้เจริญก้าวหน้ามาตลอด มี
สมาชิกเพิมขึ้น มีเงินทุนเพิ่มขึ้น มีหน่วยเกษตรกรรม 3
           ่
0 หน่วย ส่งผลให้ชนะการประกวด ได้รับรางวัลกลุ่ม
เกษตรกรดีเด่นระดับประเทศ มาแล้ว 5 ครั้ง
        ต่อมาได้มพระราชบัญญัติสงเสริมวิสาหกิจ
                  ี                  ่
ชุมชน พ.ศ. 2548 กลุ่มเกษตรกรทำานาตะโหมดจึงได้
ขอจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ชื่อว่าวิสาหกิจชุมชน
กลุ่มเกษตรกรทำานาตะโหมด ได้รับอนุมติการจดั
ทะเบียนเมือวันที่ 18 มกราคม 2549 เพื่อให้รัฐ
             ่
ทราบข้อมูลและได้รับการรับรองตามกฎหมาย
สามารถมีสิทธิในการได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน
การพัฒนากิจการตามมาตรการทีคณะกรรมการส่ง
                                   ่
เสริมวิสาหกิจชุมชนกำาหนด จะนำาไปสู่ระบบเศรษฐกิจ
อาชีพของสมาชิก
           อาชีพหลัก ได้แก่ ทำาสวนยางพารา
           อาชีพรอง ได้แก่ ทำานา ทำาสวนผลไม้
ปีทางบัญชี เริ่มต้นวันที่ 1 กรกฎาคมปีนี้ และสิ้นสุดวัน
                ที่ 30 มิถุนายนปีถัดไป
           หมายเลขโทรศัพท์ 0-74695340
แผนผัง โครงสร้า งคณะกรรมการ


                                                            ที่ปรึกษา 2 คน คือ
ผู้ตรวจสอบกิจการ 1 คน            นายอรุณ ไพชำานาญ              นายวรรณ ขุน
          คือ                     ประธานกรรมการ                    จันทร์
นายวิรัตน์ ช่วยชุมชาติ                                      นายคล้าย รัชณา
                                                                    การ




นายแคล้ว นุ่มมีศรี       นายฉกาจ วงศ์     นายสมใจ รามแก้ว   นายสมนึก มณีรัตน์
   รองประธาน             ชนะไพศาล             กรรมการ          รองประธาน
                              กรรมการ




     นายสมยศ                      นายอนุชา เพ็ญจำารัส       นายอุทัย ยอดศรี
    ทองรักษ์                            ผู้จัดการ              กรรมการ
    เลขานุการ
ข้อ มูล การดำา เนิน งาน
•               วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำานาตะโหมด
    มีแนวคิดริเริ่มพัฒนาสมาชิก ด้วยการให้บริการ การส่ง
    เสริมการผลิต การลดต้นทุนการผลิต ลดการถูกเอารัด
    เอาเปรียบด้านราคาสินค้า สนับสนุนให้สมาชิกหลุดพ้น
    จากภาวะหนี้สนนอกระบบ การสร้างโอกาส สร้างราย
                    ิ
    ได้ มีการออมทรัพย์ มีการจัดทำาบัญชี และมีการจัด
    สวัสดิการ พร้อมจัดทำากิจกรรมต่างๆเพื่อสร้างความ
    อยู่ดกินดีของสมาชิก ซึงมีตัวชี้วัดของกลุ่ม คือ การ
         ี                 ่
    อยู่ดกินดี มีความเจริญก้าวหน้าและมีความมันคงของ
           ี                                     ่
    สมาชิก ดังนันกลุ่มจึงได้ดำาเนินการโครงการต่างๆเกิด
                  ้
    ผลงานกับสมาชิกทุกปี ซึงปีทางบัญชีของกลุ่ม ได้
                             ่
    กำาหนดไว้ ข้ามปี พ.ศ. โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1
1. ด้านการผลิตสินค้า
     1.1 เปลี่ยนนาร้างเป็นนาข้าว
     1.2 แปรรูปผลผลิตเกษตร(โรงสีข้าว)
     1.3 แปลงสาธิตทำานา 1 ไร่ ได้เงิน 1 แสน
บาท
     1.4 จัดทำาแปลงเศรษฐกิจพอเพียง
     1.5 จัดซื้อทีดิน
                  ่
     1.6 ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ
2. ด้านการบริการ
      2.1 รวบรวมผลผลิตการเกษตรของสมาชิกเพื่อ
จำาหน่าย
      2.2 บริการรถแทรกเตอร์ไถนา
      2.3 การระดมทุน
      2.4 การบริการสินเชือ่
      2.5 จัดหาปัจจัยการผลิตมาจำาหน่าย
      2.6 จัดตั้งร้านค้า
      2.7 ให้เช่าเต็นท์และเครื่องครัว
      2.8 ปั้มนำ้ามัน
      2.9 บริการเคาน์เตอร์แก่สมาชิก
      2.10 จัดสวัสดิการแก่สมาชิก
      2.11 บำารุงช่วยเหลือสาธารณประโยชน์ในชุมชน
      2.12 สร้างสำานักงานหลังใหม่
รายละเอียดของแต่ละกิจกรรม มี
              ดังนี้
• 1. ด้า นการผลิต สิน ค้า
  1.1 กิจ กรรมการเปลี่ย นนาร้า งเป็น นาข้า ว
  วัตถุประสงค์เพือฟืนฟูการทำานาให้สมาชิกที่หยุดทำานา
                  ่ ้
  มาแล้วหลายปี ให้หันกลับมาทำานากันใหม่ และปัจจุบัน
  มีการเปลี่ยนพืนทีนาเป็นพื้นทีสวนยางพารากันจำานวน
                 ้ ่           ่
  มาก วัตถุประสงค์เพืออนุรักษ์พื้นทีนาให้มอยูคู่ชุมชน มี
                      ่             ่     ี ่
  ข้าวที่สมาชิกผลิตเองไว้บริโภคในชุมชน มีสมาชิกเข้า
  ร่วม ดังนี้
• ปี 2552 สมาชิกเข้าร่วม 10 ราย เนื้อที่ 45 ไร่
• ปี 2553 สมาชิกเข้าร่วม 30 ราย เนื้อที่ 220 ไร่
• ปี 2554 สมาชิกเข้าร่วม 28 ราย เนื้อที่ 171 ไร่
• ปี 2555 สมาชิกเข้าร่วม - ราย เนื้อที่          - ไร่
              รวม 68 ราย เนือที่ 436 ไร่
                             ้
ทังนี้ สมาชิกมีการปลูกข้าว ดังนี้
      ้
    - นาปี 436 ไร่ (สังข์หยด 126 ไร่ เล็บนกปัตตานี
310 ไร่)
              ผลผลิตเฉลี่ย 400 กก./ไร่
                   ผลผลิตรวม 174,400 กก.
    - นาปรัง 80 ไร่ (ปทุมธานี 1 )
              ผลผลิตเฉลี่ย 600 กก./ไร่ ผลผลิตรวม
48,000 กก.
                     รวม ผลผลิต 222,400 กก.
          ชนิดพันธุ์ข้าวทีปลูก นาปี ได้แก่ สังข์หยด เล็บนก
                          ่
ปัตตานี ส่วนนาปรัง จะปลูกข้าวปทุมธานี 1 ผลผลิตส่วน
ใหญ่สมาชิกเก็บไว้บริโภคในครัวเรือนร้อยละ 65 และ
จำาหน่ายร้อยละ 35 ที่ผ่านมากลุ่มจะรวบรวมผลผลิตข้าว
เปลือกเก็บไว้นำามาสีแปรรูปเป็นข้าวสารจำาหน่ายใน
ชุมชน นอกจากนั้นทางกลุ่มยังส่งเสริมให้สมาชิกฟื้นฟู
พื้นทีนาร้างที่ยงเหลืออยูจำานวน 20 ไร่ให้เป็นนาข้าวเพิม
        ่        ั          ่                            ่
1.2 กิจ กรรมแปรรูป ผลผลิต เกษตร (โรงสีข ้า ว)
เริ่มดำาเนินการเมื่อ ปี 2554 โดยกลุ่มจัดซือเครื่องสีข้าว
                                          ้
ขนาดกำาลังผลิตขนาด 2 ตัน/วัน มีเครื่องคัดแยก
ข้าวสารด้วย วิธีการกลุ่มจะรับชื้อข้าวเปลือกจากสมาชิก
ในราคาที่สูงกว่าตลาดทั่วไป กก.ละ 2 บาท และนำามา
แปรรูปขายในชุมชน พร้อมทังให้บริการรับจ้างสีข้าวใน
                                ้
ชุมชน
                ปี 2554 ซื้อข้าวเปลือก 20,827 บาท นำา
มาแปรรูป ขายข้าวสารและปลายข้าว 38,720 บาท
                ปี 2555 ซื้อข้าวเปลือก    - บาท นำา
ข้าวเปลือกทีเหลือจากปีทแล้วมาแปรรูป ขายข้าวสาร
              ่             ี่
และปลายข้าว 47,500 บาท
• 1.3 กิจ กรรมการจัด ทำา แปลงสาธิต ทำา นา
  1 ไร่ไ ด้เ งิน 1 แสนบาท วัตถุประสงค์เพื่อ
  เป็นแปลงเรียนรู้ให้กับสมาชิก ใช้เป็นทางเลือก
  ในประกอบกิจกรรมในครัวเรือน ซึ่งกลุ่มได้จัด
  งบประมาณส่วนหนึ่งจัดทำาเป็นแปลงสาธิต 1 ไร่
  มีการปลูกข้าว เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ และปลูกผัก
• 1.4 กิจ กรรมเศรษฐกิจ พอเพีย ง ส่งเสริม
  ให้สมาชิกรู้จักการดำาเนินชีวิตตามแนว
  เศรษฐกิจพอเพียงโดยให้สมาชิกดำาเนินการที่
  บ้านเรือนและที่แปลงไร่นา มีการจัดทำาแปลง
  เกษตรทฤษฎีใหม่ มีการจัดทำาบัญชีครัวเรือน มี
  สมาชิกเข้าร่วม 20 คน
• 1.5 กิจ กรรมการจัด ชือ ที่ด ิน วัตถุประสงค์
                            ้
  เพื่อเตรียมไว้สำาหรับเป็นสถานที่จัดทำากิจกรรม
  ของกลุ่ม ที่ผานมากลุ่มได้จัดงบประมาณชื้อ
                ่
  ที่ดิน ไว้เป็นทรัพย์สินของกลุ่ม จำานวน 10
  แปลง เนื้อที่ 27 ไร่ มูลค่า 7,200,679 บาท
  สำาหรับในปี 2552-2555 มีการจัดซื้อที่ดิน 2
  แปลง ดังนี้
• ปี 2552 ซื้อที่ดิน 1 แปลงเนื้อที่ 2 งาน 85
  ตารางวา
      เป็นเงิน 780,000 บาท
• ปี 2554 ซื้อที่ดิน 1 แปลง เนื้อที่ 18 ไร่ 2 งาน
1.6 กิจ กรรมการปลูก ป่า เฉลิม พระเกีย รติ
วัตถุประสงค์เพืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
               ่
แวดล้อมในทีดินของกลุ่ม เนือที่ 7 ไร่
             ่              ้
2. ด้า นการบริก าร
    2.1 กิจ กรรมการรวบรวมผลผลิต เกษตร
ของสมาชิก เพื่อ จำา หน่า ย วัตถุประสงค์ เพื่อแก้
ปัญหาด้านการตลาด ยกระดับราคาสินค้าให้สูงขึ้น
แก้ปัญหาการถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้า โดย
กลุ่มรวบรวมรับซือผลผลิตจากสมาชิกในราคาทีเป็น
                  ้                           ่
ธรรม ผลผลิตเกษตรทีรวบรวม ได้แก่ ยางแผ่นดิบ
                      ่
ข้าวเปลือก ลองกอง และถัวหรั่ง นำาไปจำาหน่าย
                          ่
        ปี 2552 (1 ก.ค.51-30 มิย.52) จำาหน่าย
ปริมาณ และมูลค่า ดังนี้
    - ยางแผ่นดิบ          79,425 กก. มูลค่า
9,794,251 บาท
    - ข้าวเปลือก            2,000 กก. มูลค่า
32,200 บาท
            รวม ปริมาณ      81,425 กก. มูลค่า
9,826,451 บาท
ปี 2553 (1 ก.ค.52-30 มิย.53) จำาหน่าย
ปริมาณ และมูลค่า ดังนี้
   - ยางแผ่นดิบ       30,877 กก. มูลค่า
2,689,252 บาท
   - ข้าวเปลือก       500 กก. มูลค่า
11,400 บาท
   - ลองกอง          660 กก. มูลค่า
10,007 บาท
     รวม ปริมาณ      32,037 กก. มูลค่า
               2,710,659 บาท
ปี 2554 (1 ก.ค.53-30 มิย.54) จำาหน่ายปริมาณ
และมูลค่า ดังนี้
            - ยางแผ่นดิบ      30,117 กก. มูลค่า
  3,214,430 บาท
            - ข้าวเปลือก       5,193 กก. มูลค่า
    62,325 บาท
            - ลองกอง        413 กก. มูลค่า
 8,264 บาท
            - ถั่วหรั่ง    7,613 กก. มูลค่า
175,113 บาท
            รวม ปริมาณ      43,336 กก. มูลค่า
3,460,132 บาท
ปี 2555 (1 ก.ค.54-30 มิย.55) จำาหน่าย
ปริมาณ และมูลค่า ดังนี้
       - ยางแผ่นดิบ      17,624 กก. มูลค่า
1,988,777.50 บาท
       - ข้าวเปลือก          469 กก. มูลค่า
6,097        บาท
       - ลองกอง (ยังไม่ถึงฤดูกาลรับซื้อ)
       - ถัวหรั่ง
           ่               6,187 กก. มูลค่า
197,991.50 บาท
             รวม ปริมาณ     24,280 กก. มูลค่า
2,192,866         บาท
รวม ปี 2552-2555 ยางแผ่นดิบ 158,043 กก.
มูลค่า 17,686,710.50 บาท
          ข้าวเปลือก     8,162 กก. มูลค่า
112,022 บาท
           ลองกอง        1,073 กก. มูลค่า
18,271       บาท
           ถั่วหรั่ง    13,800 กก. มูลค่า
373,104.50 บาท
      รวมทังสิ้น ปริมาณ
           ้                 181,078 กก. มูลค่า
18,190,108 บาท
ทั้งนี้ ยางแผ่นดิบ กลุ่มจะรับซื้อจาก
สมาชิกสูงกว่าพ่อค้าทั่วไป ประมาณ 2
บาท/กก. สมาชิกได้เงินเพิ่มมากกว่าเกษตรกร
ทั่วไปในชุมชน ประมาณ 316,086 บาท ข้าว
เปลือกกลุ่มจะรับซื้อจากสมาชิกสูงกว่าพ่อค้า
ทั่วไป ประมาณ 2 บาท/กก. สมาชิกได้เงินเพิ่ม
มากกว่าเกษตรกรทั่วไปในชุมชน ประมาณ
16,604 บาท ลองกองกลุ่มจะรับซื้อจากสมาชิก
สูงกว่าพ่อค้าทั่วไป ประมาณ 2 บาท/กก.
สมาชิกได้เงินเพิ่มมากกว่าเกษตรกรทั่วไปใน
ชุมชน ประมาณ 36,542 บาท ถั่วหรั่ง กลุ่มจะ
ซื้อสูงกว่าพ่อค้าทั่วไป ประมาณ 2 บาท/กก.
สมาชิกได้เงินเพิ่มมากกว่าเกษตรกรทั่วไปใน
ชุมชน ประมาณ 27,600 บาท รวมสมาชิกได้
2.2 กิจ กรรมการบริก ารรถแทรกเตอร์
ไถนา จำานวน 1 คัน (ยี่ห้อคูโบต้า) เพื่อบริการ
ปรับพื้นที่ เตรียมดินทำานา ตัดหญ้าในสวนยาง
กลุ่มกำาหนดราคาบริการสมาชิกในราคาที่ถูก
กว่าของเอกชนทั่วไป เช่น
        2.2.1 การเตรียมดินทำาเทือกปลูกข้าว
กลุ่มกำาหนดค่าบริการไถและทำาเทือก ไร่ละ
800 บาท แต่เอกชนในท้องถิ่นกำาหนดค่า
บริการไร่ละ 1,000 บาท ทำาให้สมาชิกประหยัด
เงินได้ 200 บาท/ไร่
2.2.2 ค่าบริการตัดหญ้าในสวน
ยางพารา กลุ่มกำาหนดไร่ละ 250 บาท เอกชน
กำาหนด ไร่ละ 300 บาท ทำาให้สมาชิกสามารถ
ประหยัดเงินได้ 50 บาท/ไร่ ที่ผานมากลุ่มได้รับ
                                ่
ค่าบริการ ดังนี้
      ปี 2552                      -   บาท
      ปี 2553          ได้รับค่าบริการ
83,129 บาท
      ปี 2554          ได้รับค่าบริการ
120,600 บาท
      ปี 2555          ได้รับค่าบริการ
84,400 บาท
      รวมทั้งสิ้น      ได้รับค่าบริการ
288,129 บาท
2.3 กิจ กรรมการระดมทุน
          2.3.1 ลงหุน วัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกได้
                    ้
ถือหุ้นๆละ 50 บาท มีการปันผลตามหุ้น เมือสิ้นปีบัญชี
                                            ่
ร้อยละ 10
   ปี 2552 จำานวน 396,596 หุน มีทนเรือนหุ้น
                                ้       ุ
สะสม 19,829,800 บาท
   ปี 2553 จำานวน 453,510 หุน มีทนเรือนหุ้น
                                  ้       ุ
สะสม 22,675,500 บาท
   ปี 2554 จำานวน 524,264 หุน มีทนเรือนหุ้น
                                    ้         ุ
สะสม 26,213,200 บาท
   ปี 2555 จำานวน 604,474 หุน มีทนเรือนหุน
                                      ้         ุ ้
สะสม 30,223,700 บาท
ให้สมาชิก และบุคคลทัวไปรู้จักประหยัด ออมทรัพย์ไว้
                        ่
ใช้ในยามจำาเป็น กลุ่มฯรับเงินฝากสมาชิก โดยให้
ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์พิเศษร้อยละ 3.5 ต่อปี เงิน
ฝากออมทรัพย์ ร้อยละ 2.5 ต่อปี และเงินฝากเผื่อเรียก
ร้อยละ 1.5 ต่อปี ซึ่งสูงกว่าธนาคารทัวไปทีให้ดอกเบี้ย
                                    ่    ่
ไม่เกิน
    ร้อยละ 1.5 ต่อปี
          ปี 2552 มียอดเงินฝาก
101,779,021.86 บาท
          ปี 2553 มียอดเงินฝาก
130,706,266.13 บาท
          ปี 2554 มียอดเงินฝาก
193,256,259.35 บาท
          ปี 2555 มียอดเงินฝาก
191,260,322.33 บาท
           ทังนี้ การฝากเงินออมทรัพย์ สมาชิกได้รับ
             ้
2.3.3 ขอกู้เ งิน กลุ่มขอกู้เงินกองทุน
สงเคราะห์เกษตรกร ผ่านกรมส่งเสริม
สหกรณ์ ไม่มีดอกเบีย ครั้งละ 1 ปี ส่งคืนเงิน
                       ้
ต้นครบตามจำานวนที่กู้ทุกปี วัตถุประสงค์เพื่อ
นำาไปซื้อสินค้าปัจจัยการผลิตบริการสมาชิก
ดังนี้
        ปี 2552 จำานวน 500,000 บาท
        ปี 2553 จำานวน             - บาท
        ปี 2554 จำานวน       800,000 บาท
        ปี 2555 จำานวน             - บาท
2.4 กิจ กรรมธุร กิจ สิน เชื่อ วัตถุประสงค์เพือเป็น
                                                ่
ทุนในการประกอบอาชีพ ลดปัญหาการกูเงินนอก  ้
ระบบ โดยให้สมาชิกกู้ระยะสั้น ระยะปานกลาง และ
ระยะยาว คิดดอกเบี้ย ร้อยละ 9 ต่อปี
     ปี 2552 สมาชิกกู้เงิน 98,121,825 บาท
กำาไร 5,385,792.99 บาท
     ปี 2553 สมาชิกกู้เงิน 101,790,228 บาท
กำาไร 6,181,235.82 บาท
     ปี 2554 สมาชิกกู้เงิน 106,130,293 บาท
กำาไร 4,412,625.09 บาท
     ปี 2555 สมาชิกกู้เงิน 123,693,593 บาท
กำาไร 7,570,786.91 บาท
2.5 กิจ กรรมการจัด หาปัจ จัย การผลิต มาบริ
การจำา หน่า ยแก่ส มาชิก วัตถุประสงค์เพื่อให้
สมาชิกมีความสะดวก คล่องตัวในการประกอบอาชีพ
ลดต้นทุนของสมาชิก โดยการจัดหาปัจจัยการผลิต 3
รายการ ได้แก่ 1) ปุ๋ย(ปุ๋ยอินทรียและปุ๋ยเคมี) 2) วัสดุ
                                 ์
อุปกรณ์การเกษตร 3) เคมีเกษตร มาจำาหน่ายให้
สมาชิก ทีผ่านมากลุ่มลงทุนซื้อมาจำาหน่าย ดังนี้
           ่
       ปี 2552 กลุ่มซื้อมาจำาหน่ายแก่สมาชิก
เงิน 5,303,890.81 บาท
       ปี 2553 กลุ่มซื้อมาจำาหน่ายแก่สมาชิก
เงิน 5,758,516.34 บาท
       ปี 2554 กลุ่มซื้อมาจำาหน่ายแก่สมาชิก
เงิน 8,394,262.80 บาท
       ปี 2555 กลุ่มซื้อมาจำาหน่ายแก่สมาชิก
เงิน 7,503,710 บาท
2.6 กิจ กรรมการจัด ตั้ง ร้า นค้า จำานวน 1
แห่ง วัตถุประสงค์เพือจัดหาสินค้าอุปโภคและบริโภค
                      ่
มาจำาหน่ายให้กับสมาชิกและบุคคลทัวไป ทีผ่านมาก
                                    ่      ่
ลุ่มได้ลงทุนซื้อสินค้ามาจำาหน่ายให้กบสมาชิก ดังนี้
                                      ั
      ปี 2552 กลุ่มซื้อสินค้ามาจำาหน่ายแก่สมาชิก
     เงิน 3,252,557.55 บาท
      ปี 2553 กลุ่มซื้อสินค้ามาจำาหน่ายแก่สมาชิก
     เงิน 2,935,371.28 บาท
      ปี 2554 กลุ่มซื้อสินค้ามาจำาหน่ายแก่สมาชิก
     เงิน 3,736,598.30 บาท
      ปี 2555 กลุ่มซื้อสินค้ามาจำาหน่ายแก่สมาชิก
     เงิน 1,804,895.61 บาท
2.7 กิจ กรรมการให้บ ริก ารเช่า เต็น ท์ โต๊ะ
และเครื่อ งครัว วัตถุประสงค์เพื่อบริการสมาชิกที่
จัดงานในครอบครัว ช่วยแบ่งเบาภาระสมาชิกที่มี
การจัดงานต่างๆ จะได้ไม่ต้องเช่าของเอกชนใน
ราคาแพง เช่น งานแต่งงาน งานบวช งานขึ้นบ้าน
ใหม่ และงานศพ เป็นต้น โดยการจัดหาเต็นท์ โต๊ะ
เก้าอี้ และเครื่องครัวต่างๆ ให้บริการแก่สมาชิก ครั้ง
ละ 3 วัน เงิน 7,000 บาท และบุคคลทัวไป ครั้งละ
                                       ่
10,000 บาท ค่าบริการทีผ่านมา ดังนี้
                           ่
         ปี 2552 ได้รับค่าบริการ     เป็นจำานวนเงิน
362,518 บาท
         ปี 2553 ได้รับค่าบริการ     เป็นจำานวนเงิน
280,580 บาท
         ปี 2554 ได้รับค่าบริการ     เป็นจำานวนเงิน
349,869 บาท
         ปี 2555 ได้รับค่าบริการ      เป็นจำานวนเงิน
วัตถุประสงค์เพือให้สมาชิกและบุคคลทัวไปได้ใช้
                ่                       ่
นำ้ามันทีมคุณภาพ และราคาเป็นธรรม เพราะปัจจุบัน
         ่ ี
นำ้ามันไม่ค่อยมีคุณภาพ มีนำ้ามันเถื่อน นำ้ามันผสม
กลุ่มฯจึงติดต่อกับบริษทบางจากปิโตรเลียม จำากัด
                       ั
(มหาชน) จำานวน 1 แห่ง โดยการทำาบัตรเครดิตให้
กับสมาชิกเติมแต่ละครั้ง ยอดจำาหน่ายประมาณ 50,
000 บาท/วัน ซึงมีส่วนเฉลี่ยคืนตามส่วนธุรกิจนำ้ามัน
                     ่
ให้กับสมาชิก ลิตรละ 15 สตางค์
    ยอดขายปีทผ่านมา ดังนี้
                  ี่
       ปี 2552 ยอดขาย เป็นจำานวนเงิน
9,043,796.43 บาท
       ปี 2553 ยอดขาย เป็นจำานวนเงิน
11,311,025.22 บาท
        ปี 2554 ยอดขาย เป็นจำานวนเงิน
13,737,800.13 บาท
       ปี 2555 ยอดขาย        เป็นจำานวนเงิน
2.9 กิจ กรรมการบริก ารเคาน์เ ตอร์แ ก่
สมาชิก วัตถุประสงค์เพื่อบริการสมาชิกที่มา
ติดต่อทำาธุรกรรมกับกลุ่ม ซึ่งสมาชิกมีจำานวน
มากทำาให้มีผู้มาขอรับบริการทุกวัน ทางกลุ่ม
ได้จัดจ้างผูจัดการ 1 คน และพนักงาน 15 คน
            ้
รวม 16 คน มีการปฏิบัติงาน ณ ที่ทำาการกลุ่ม
ทุกวัน เว้นวันหยุดราชการ เช่น การขอกู้เงิน
การฝากเงิน การถอนเงิน การจำานอง การ
เปลี่ยนแปลงหลักฐานข้อมูลสมาชิก
2.10 กิจ กรรมการจัด สวัส ดิก ารแก่ส มาชิก
วัตถุประสงค์เพือสงเคราะห์สมาชิกด้านต่างๆ เช่น
               ่
สงเคราะห์ศพ สมาชิกไม่เกิน 5 ปี 8,000 บาท/ราย
สมาชิก 5 ปีชึ้นไป 10,000 บาท/ราย ค่ารักษาพยาบาล
กรณีนอนโรงพยาบาล 200 บาท/คืน หรือไม่เกิน
2,000 บาท/ปี ซึ่งกลุ่มมีทนสวัสดิการสมาชิกและ
                         ุ
ครอบครัว ดังนี้
      ปี 2552         จำานวนเงิน 625,351.78 บาท
      ปี 2553         จำานวนเงิน 635,834.78 บาท

     ปี 2554       จำานวนเงิน   581,627.78 บาท
     ปี 2555       จำานวนเงิน   609,627.78 บาท
2.11 กิจ กรรมการบำา รุง ช่ว ยเหลือ
สาธารณประโยชน์ใ นชุม ชน วัตถุประสงค์เพื่อช่วย
เหลือกิจกรรมสาธารณประโยชน์ในชุมชน เช่น วัด
มัสยิด โรงเรียน และหน่วยงานต่างๆ ซึ่งกลุ่มมีทน
                                             ุ
สาธารณประโยชน์ ดังนี้
       ปี 2552    จัดสรร 466,129.97 บาท เบิก
จ่าย 353,697 บาท
       ปี 2553    จัดสรร 457,530.97 บาท เบิก
จ่าย 49,322 บาท
       ปี 2554    จัดสรร 428,885.97 บาท เบิก
จ่าย 55,645 บาท
       ปี 2555    จัดสรร 456,885.97 บาท เบิก
จ่าย 65,078 บาท
2.12 กิจ กรรมการจัด สร้า งสำา นัก งานหลัง
ใหม่ วัตถุประสงค์เพื่อก่อสร้างอาคารสำานักงาน
หลังใหม่ไว้ประสานงานและให้บริการสมาชิก
ด้านต่างๆรองรับกับความเจริญเติบโตของกลุ่ม
และให้ดูดีมีมาตรฐาน โดยใช้เงินทุนสำารองของ
กลุ่ม จำานวน 1 หลัง 3 ชัน พร้อมห้องประชุมงบ
                        ้
ประมาณ 10,000,000 บาท บัดนี้ทางกลุ่มได้เริ่ม
ดำาเนินการแล้ว โดยเตรียมสถานที่ก่อสร้างและ
ได้จ้างเขียนแบบแปลนไว้เรียบร้อยแล้ว คาดว่า
จะก่อสร้างเสร็จสิน ในปี 2556
                 ้
ประเด็น การพิจ ารณาผลงาน
1. ความคิด ริเ ริ่ม
  1.1 มีระบบการเรียนรู้
      1.1.1 การประชุม มีการประชุมพบปะกัน
  ดังนี้
           - ประชุมคณะกรรมการทุกเดือน
           - ประชุมหน่วยเกษตรกรรม 30 หน่วย
  เกษตรกรรม
           - ประชุมใหญ่สามัญประจำาปีทุกปี
1.1.2 การทัศนศึกษาดูงานภายนอก
    - ปี 2554 โครงการทำานา 1 ไร่ได้เงิน 1
แสนบาท ณจังหวัดนครปฐม
    - ปี 2555 งานวันทุเรียนโลก ณ จังหวัด
ระยอง
  1.1.3 เป็นสถานที่ฝึกงาน/ดูงานของนักศึกษา
จาสถาบันการศึกษาต่างๆ
  1.1.4 การทดสอบศึกษาวิจัย
1.2 มีแนวคิดการจัดการทุน
       1.2.1 ลงหุน เงินหุนชำาระแล้วสะสม ปี 2555
                 ้          ้
จำานวน 604,474 หุน   ้
  เงิน 30,223,700 บาท
       1.2.2 รับฝากเงินออมทรัพย์ ฝากออมทรัพย์
พิเศษ และฝากเผื่อเรียก ปี 2555 รวมเงิน
191,260,322.33 บาท
       1.2.3 บริการเงินกู้ให้สินเชื่อแก่สมาชิก ปี
2555 เงิน 123,693,593 บาท
       1.2.4 ขอกู้เงิน ซึ่งมีการขอกู้เงินกองทุน
สงเคราะห์เกษตรกรไม่ทุกปี ขึ้นอยูกับความจำาเป็น
                                    ่
           - ปี 2554 กู้จำานวน 800,000 บาท
           - ปี 2555 กู้จำานวน          -   บาท
ไม้ และทำานา ระบบกิจกรรมเกิดขึนจากการประกอบกิจการมี
                                    ้
ความหลากหลายและเกื้อกูลกัน เริ่มต้นจากรวบรวมผลผลิต
การเกษตรมาจำาหน่าย เช่น ยางแผ่นดิบ เมื่อมีเงินไม่พอ ได้มีการ
ระดมทุนทั้งเงินหุ้นและเงินออม เพื่อใช้ในการรวบรวมผลผลิต
เมื่อเงินออมมากขึ้น ได้นำาไปใช้ในการจัดซื้อปัจจัยการผลิตและ
ให้สนเชื่อแก่สมาชิก หากเงินไม่พอก็จะขอกู้ยืมจากสถาบันการ
      ิ
เงินมาบริการสมาชิก มีการจัดซื้อปัจจัยการผลิตและสินค้า
อุปโภคบริโภคมาจำาหน่าย กำาไรที่ได้จากการประกอบกิจการนำา
มาใช้จ่ายในการบริหารจัดการ เป็นค่าตอบแทนพนักงาน ค่า
ปันผลตามหุ้นและเฉลี่ยคืน และจัดสวัสดิการ มีการเก็บเงิน
ทุนสำารองไว้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากนั้นนำาเงินมาประกอบกิจการ
บริการต่างๆ เพิ่มขึ้น เช่น รวบรวมข้าวเปลือก ลองกอง ถั่งหรั่ง
รถไถนา โรงสีข้าว เต็นท์พร้อมเครื่องครัว ปั๊มนำ้ามัน ก่อสร้าง
สำานักงานให้บริการเค๊าเตอร์ มีการส่งเสริมให้สมาชิกเพิ่มรายได้
เช่น เปลี่ยนนาร้างเป็นนาข้าว ปลูกผัก และจัดทำาแปลงทำานา 1
ไร่ได้เงิน 1 แสนบาท มีการสนับสนุนให้สมาชิกเกิดการเรียนรู้
โดยการอบรมดูงาน ในการดำาเนินงานของกลุ่มยืนอยู่บนพืนฐาน    ้
ของการเรียนรู้ มีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามาผสมผสานเพือ    ่
ให้ดำาเนินการและแก้ไขปัญหาได้ เช่น บุคคลผู้เป็นกรรมการจะ
1.4 มีการจัดระบบสวัสดิการ ซึ่งในปี 2555
มีทุนสวัสดิการ 609,627.78 บาท นำาไปใช้
จ่าย
       1.4.1 เงินสวัสดิการช่วยเหลือชุมชน วัด
มัสยิด หน่วยงานต่างๆ 50,000 บาท/ปี
       1.4.2 สงเคราะห์ศพ คูสมรส ของ
                              ่
สมาชิกแรกเข้า-5ปี 8,000 บาท/ศพ สมาชิก
5 ปีขึ้นไป 10,000 บาท
       1.4.3 ค่าเฝ้าสมาชิกผูป่วยที่โรง
                            ้
พยาบาล คืนละ 200 บาท แต่รวมกันไม่
เกิน2,000 บาท/คน
1.5 มีการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ
       1.5.1 จัดทำาแปลงเรียนรู้การทำานา 1 ไร่ ได้เงิน 1
แสนบาท (งบของกลุ่ม)
       1.5.2 การเตรียมการก่อสร้างทีทำาการหลังใหม่
                                     ่
(งบของกลุ่ม)
       1.5.3 ขอสนับสนุนรถเกี่ยวนวดข้าว 1 คัน เน้น
บริการเกี่ยวข้าวสังข์หยดของสมาชิกและเกษตรกรทัวไป    ่
ในจังหวัดพัทลุง (งบแผนพัฒนาจังหวัดพัทลุง ปี 2556
เงิน 1,600,000 บาท)
2. ความสามารถในการบริห ารจัด การ
        2.1 ด้านการวางแผน
       2.1.1 มีแผนประกอบการประจำาปี 2555 แผน
พัฒนา 3 ปี(ปี 2556-2558)
       2.1.2 มีการประชุมวางแผนร่วมกับหน่วย
เกษตรกรรม
       2.1.3 มีแผนการจัดประชุมหน่วยเกษตรกรรม
อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง ช่วงเดือนพฤษภาคม2555
ก่อนปิดบัญชีประจำาปี
               2.1.4 มีแผนประชุมใหญ่สามัญประจำาปี
ทุกปีๆละ 1 ครั้ง ช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคม
               2.1.5 มีแผนการปรับปรุงพืนที่นาร้างให้
                                       ้
เป็นนาข้าวเพิมขึ้น
             ่
2.2 ด้านทรัพยากรและการเงิน
               2.2.1 มีทรัพยากร ได้แก่
ยางพารา ข้าว ผลไม้ของสมาชิก ทีดินและบุคลากร
                                 ่
ของกลุ่ม
              2.2.2 มีการออมเงินฝากเงิน และ
ใช้จ่ายเงินของสมาชิกอย่างต่อเนือง
                               ่
2.3 ด้านระบบบัญชี
           2.3.1 มีการจัดทำาบัญชีเป็นปัจจุบัน สิ้นสุด
ทางบัญชี วันที่ 30 มิถนายน ของทุกปี
                        ุ
           2.3.2 ได้รับการตรวจสอบจากสำานักงาน
ตรวจบัญชีสหกรณ์พทลุงทุกปี มีการจัดทำาและรับรอง
                    ั
งบดุลทุกปี
           2.3.3 มีการเปิดเผยข้อมูลทางบัญชีในวัน
ประชุมสามัญใหญ่ประจำาปีทกปี และเปิดโอกาสให้
                           ุ
สมาชิกตรวจสอบได้ทกเวลาุ
2.4 ด้านโครงสร้างและบทบาทหน้าที่
         2.4.1 มีคณะกรรมการกลุ่ม จำานวน 7 คน
             (นายอรุณ ไพชำานาญ ประธาน) มีผู้
จัดการกลุ่ม 1 คน
         2.4.2 มีการมอบหมายให้คณะกรรมการแต่ละ
คนรับผิดชอบงาน
     2.5 ด้านการกำาหนดระเบียบหรือข้อตกลง
       2.5.1 มีข้อบังคับกลุ่มเกษตรกร เป็นไปตาม
กฎหมาย และมีการกำาหนดระเบียบการปฏิบัติ จากมติ
ทีประชุมใหญ่สามัญประจำาปี
  ่
2.6 ด้านการบริหารธุรกิจ
         2.6.1 การให้บริการทั้งด้านการรวบรวมผลผลิต
การซื้อปัจจัยการผลิต การบริการเงินกู้และบริการอื่น
ตรงกับความต้องการของสมาชิก เนื่องสินค้าส่วนใหญ่ที่
กลุ่มสั่งซื้อมาจำาหน่าย มาจากการเสนอความต้องการ
ของสมาชิก โดยมีหน่วยเกษตรกรรมเป็นแหล่งรับข้อมูล
และมีเคาน์เตอร์เซอร์วิสรับบริการ ณ ที่ทำาการกลุ่ม
         2.6.2 คุณภาพของสินค้าและบริการ มีคุณภาพ
ตรงตามทีสมาชิกต้องการ เช่น ปุ๋ยมีคุณภาพ การรับ
             ่
ฝากเงินออมทรัพย์ถกต้องและรวดเร็ว นำ้ามันเชื้อเพลิง
                      ู
ของ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำากัด(มหาชน) เป็นต้น
2.6.3 การคิดราคาจำาหน่ายหรือบริการแก่สมาชิก
ดังนี้
        - ราคาถูกกว่าท้องตลาดทั่วไป เช่น ค่าจ้างรถแรก
เตอร์ไถนา ถูกกว่า 200 บาท/ไร่
   ปุ๋ยราคาถูก การให้เช่าเต็นท์พร้อมอุปกรณ์ถูกกว่า
3,000 บาท/ครั้ง นำ้ามันเชื้อเพลิงทีได้รับเฉลี่ยคืนลิตรละ 15
                                   ่
สต.
       - ราคาดีกว่าตลาดทัวไป เช่น การรวบรวมยางแผ่น
                           ่
ดิบ สูงกว่า 2 บาท/กก. รวบรวมข้าวเปลือก สูงกว่า 2 บาท/
กก. ลองกอง สูงกว่า 2 บาท/กก. ถั่วหรั่ง สูงกว่า 2
บาท/กก.
       2.6.4 ผลผลิตทีรวบรวม กลุ่มส่งจำาหน่ายเป้าหมายที่
                      ่
แน่นอน
       2.6.5 มีกำาไรจากการทำาธุรกิจทุกปี
       2.6.6 มีการจัดสวัสดิการแก่สมาชิก คณะกรรมการ
และชุมชนอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยจัดสรรอัตราตามข้อ
2.7 ด้านการจัดการข้อมูล
        2.7.1 มีการรวบรวมข้อมูลและจัดเก็บอย่างเป็น
ระบบ โดยจัดเก็บไว้ในเอกสาร และคอมพิวเตอร์
       2.7.2 มีการจ้างพนักงานด้านต่างๆ จำานวน 16 คน
 ที่รับผิดชอบการดำาเนินงานที่สำานักงาน ที่จุดบริการ
ธุรกิจ พร้อมจัดทำาข้อมูลด้านต่างๆไว้พร้อม
      2.7.3 มีการใช้ประโยชน์ข้อมูล เช่น การกำาหนด
แผนทิศทางการดำาเนินงานกิจกรรม การกำาหนดราคา
สินค้าและบริการ การแจ้งให้สมาชิกทราบในวันประชุม
การสรุปบัญชีรับจ่ายและงบดุล เป็นต้น
2.8 ด้านการสื่อสาร
      2.8.1 มีการติดต่อสือสารทางโทรศัพท์
                         ่
พบปะพูดคุยเป็นการส่วนตัว และแจ้งที่
ประชุม
     2.8.2 การประชาสัมพันธ์ เช่น มีป้าย
โป๊สเตอร์บอกข่าวสมาชิก
     2.8.3 มีเว็บไซต์ของกลุ่ม ได้แก่
www.cooppthai.com/tot
 e-mail : K-tamode@hotmail.com
3. บทบาทและการมีส ่ว นร่ว มของสมาชิก ต่อ
สถาบัน
      3.1 มีสวนร่วมขั้นตอนต่างๆ
              ่
       3.1.1 สมาชิกมีสวนร่วมการตัดสินใจใน
                       ่
วันประชุมใหญ่ประจำาปี และวันประชุมหน่วย
เกษตรกรรม
       3.1.2 ร่วมกันกำาหนดวิสยทัศน์ของกลุ่ม
                             ั
ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรก้าวหน้า พัฒนาก้าวไกล
กลุ่มจะทำาธุรกิจภาคการเกษตรให้เดินคู่ขนานไป
กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
       3.1.3 สมาชิกมีส่วนร่วม ให้ความร่วมมือ
และสนับสนุนกิจกรรมของกลุ่มทุกกิจกรรม
3.2 มีส่วนร่วมการพัฒนาสมาชิก
        3.2.1 ลดภาระหนี้สินนอกระบบให้กับสมาชิก โดยให้
บริการเงินกู้
        3.2.2 ส่งเสริมการเรียนรู้ให้เกิดรายได้ในครัวเรือน
สมาชิก เช่น โครงการฟืนฟูนาร้าง โครงการทำานา 1 ไร่ ได้เงิน 1
                        ้
แสนบาท
        3.2.3 กลุมมีเงินทุนเพื่อการฟื้นฟูอาชีพสมาชิก โดยให้
                   ่
สมาชิกร่วมเสนอความคิดเห็นและวางแผนกับคณะกรรมการ และ
ใช้เงินทุนในการฟืนฟูอาชีพ ดังนี้
                     ้
                       ปี 2552 เงิน        -    บาท
                       ปี 2553 เงิน 108,234.62 บาท
                       ปี 2554 เงิน 110,575.37 บาท
                       ปี 2555 เงิน 609,627.78 บาท
        3.2.4 กลุมมีทุนสะสมเพื่อสวัสดิการสมาชิกและครอบครัว
                 ่
                       ปี 2552 เงิน        -    บาท
                       ปี 2553 เงิน 635,834.78 บาท
                       ปี 2554 เงิน 581,627.78 บาท
                       ปี 2555 เงิน 609,627.78 บาท
4. ความมัน คงและฐานะทางเศรษฐกิจ
                ่
       4.1 กิจกรรมของกลุ่ม มีความหลากหลาย
ประกอบด้วย 17 กิจกรรม ลดความเสี่ยงต่อการ
ดำาเนินธุรกิจกลุ่ม
       4.2 สมาชิกและชุมชน ได้รับสวัสดิการจาก
กลุ่มทุกปี
       4.3 สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น จากการจ่ายค่า
ตอบแทนค่าหุน ปันผลตามส่วนธุรกิจ จากการจัด
              ้
ซื้อปัจจัยการผลิตราคาถูกกว่าท้องตลาด การ
รวบรวมสินค้าจำาหน่ายทีได้รับราคาสูงกว่าตลาด
                        ่
ทัวไป การบริการรถไถนาและการเช่าเต็นท์ทราคา
  ่                                         ี่
ถูกกว่า พร้อมทั้งมีรายได้จากเงินสวัสดิการ
4.4 หนี้นอกระบบของสมาชิกลดลง และหนีสมาชิก   ้
สามารถจัดการได้
       4.5 สมาชิกมีเงินออมจากการฝากออมทรัพย์กับ
กลุ่ม
       4.6 กลุ่มมีเงินทุนสำารอง ปี 2555 จำานวน
16,911,028.21 บาท สำาหรับประกอบการได้อย่างต่อ
เนื่อง
       4.7 กิจการเติบโตอย่างต่อเนือง มีกจกรรมเพิมขึ้น
                                    ่     ิ        ่
มีสมาชิกเพิมขึ้น
             ่
       4.8 มีการเตรียมการสืบทอดอนาคต โดยถ่ายทอด
ความรู้ภมปัญญาการบริหารจัดการกลุ่ม จากรุ่นก่อนสู่รุ่น
         ู ิ
หลัง เปิดโอกาสให้คนหนุ่มมาเป็นกรรมการ เช่น นาย
สมยศ ทองรักษ์ จากตำาแหน่งพนักงานสินเชื่อ มาจนถึง
ตำาแหน่งเลขานุการกลุ่ม มีการแต่งผู้นำากลุ่มรุ่นก่อน เช่น
นายวรรณ ขุนจันทร์ อดีตผู้จัดการกลุ่ม นายคล้าย รัช
ฌาการ อดีตประธานกรรม เป็นทีปรึกษา เป็นต้น เพื่อ
                                  ่
ปี 2554
            สินทรัพย์   245,593,770.03 บาท
            หนี้สน
                 ิ            195,070,860.72
บาท
            ทุนของกลุ่มฯ      50,522,909.31
บาท
            ทุนเรือนหุน 26,213,200.00 บาท
                       ้
            ทุนสำารอง 15,122,113.82 บาท
            ทุนอื่นๆ         3,473,994.10 บาท
            กำาไรสุทธิ        5,713,601.39 บาท
   ปี 2555  สิ้นปีทางบัญชีแล้ว แต่ยงไม่มการตรวจ
                                   ั    ี
สอบบัญชี
     4.10 กลุ่มฯมีการบริหารและจัดการกิจกรรมอย่าง
ต่อเนืองมาเป็นเวลา 38 ปีและมีความเข้มแข็งยิงขึ้น
      ่                                    ่
ยืนหยัดอยูได้ทกสภาวะ แม้ว่าบางช่วงประเทศประสบ
          ่    ุ
กับภาวะเศรษฐกิจตกตำ่า แต่กลุ่มยังบริการและช่วย
5. การทำา กิจ กรรมด้า นสาธารณประโยชน์แ ละ
อนุร ัก ษ์ท รัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ง แวดล้อ ม
       5.1 ปลุกจิตสำานึกสมาชิกเสียสละ อนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น ส่งเสริม
สมาชิกใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ลดการใช้ปุ๋ยเคมี
           5.2 กระบวนการผลิตไม่ทำาลาย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น
       - กิจกรรมเกษตรผสมผสาน ในแปลงทำานา 1 ไร่
ได้เงิน 1 แสนบาท
       - โครงการเศรษฐกิจพอเพียง
       - บริการรถแทรกเตอร์ สำาหรับตัดหญ้าในสวน
ยางพารา แทนการฉีดพ่นด้วยสารเคมี
5.3 การส่งเสริม รักษาและใส่ใจสิ่งแวดล้อม
เช่น การปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ เนื้อที่ 7 ไร่
        5.4 การทำากิจกรรมสาธารณประโยชน์ เช่น
จัดสรรกำาไร ช่วยเหลือ วัด มัสยิด โรงเรียน
        5.5 มีการยอมรับในชุมชน
       5.5.1 ชนะเลิศการประกวดได้รับรางวัลกลุ่ม
เกษตรกรดีเด่นระดับประเทศ ปี 2555 รับโล่ 1 อัน
พร้อมเงินรางวัล 100,000 บาท ซึ่งได้รับ
พระราชทาน ในวันจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เมือวัน  ่
ที่ 9 พฤษภาคม 2555 (ทีผ่านมากลุ่มได้รับรางวัลนี้
                         ่
มาแล้ว 5 ครั้ง ในปี 2526 ปี 2529 ปี 2535 ปี
2548
และปี 2555)
       5.5.2 วัดตะโหมด และโรงเรียนประชาบำารุง
ให้การยอมรับในการนำาเงินไปฝากออมทรัพย์
กลุ่มเกษตรกรทำานาตะโหมด
“กลุ่มเกษตรกร ก้าวหน้า พัฒนาก้าวไกล”

More Related Content

Similar to ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะ

4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)Nutthakorn Songkram
 
Research and development of community product quality among
Research and development of community product quality amongResearch and development of community product quality among
Research and development of community product quality amongssuser1ea4a9
 
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)Nutthakorn Songkram
 
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)Nutthakorn Songkram
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเจื๋อง เมืองลื้อ
 
ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]
ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]
ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]kasetpcc
 
Green net introduction
Green net introductionGreen net introduction
Green net introductionT_Greennet
 
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)Nutthakorn Songkram
 
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journeyประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journeyImage plus Communication
 
งานนำเสนอ;b0yp
งานนำเสนอ;b0ypงานนำเสนอ;b0yp
งานนำเสนอ;b0ypgueste88ac6
 
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)Nutthakorn Songkram
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยวราภรณ์ ทรัพย์รวงทอง
 
โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1Be Bear
 
โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1menah_14
 
130115 cassava fk-by_prim
130115 cassava fk-by_prim130115 cassava fk-by_prim
130115 cassava fk-by_primFarmkaset
 
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพงโครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพงploy27866
 
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeVitsanu Nittayathammakul
 
ป่าชุมชน ห้วยหินลาด
ป่าชุมชน ห้วยหินลาดป่าชุมชน ห้วยหินลาด
ป่าชุมชน ห้วยหินลาดDow P.
 

Similar to ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะ (20)

4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
Research and development of community product quality among
Research and development of community product quality amongResearch and development of community product quality among
Research and development of community product quality among
 
History th
History thHistory th
History th
 
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
 
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]
ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]
ตัวอย่างนำเสนองานที่มีสถิติเข้ามา [โหมดความเข้ากันได้]
 
Green net introduction
Green net introductionGreen net introduction
Green net introduction
 
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
 
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journeyประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
 
งานนำเสนอ;b0yp
งานนำเสนอ;b0ypงานนำเสนอ;b0yp
งานนำเสนอ;b0yp
 
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
 
โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1
 
โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1
 
130115 cassava fk-by_prim
130115 cassava fk-by_prim130115 cassava fk-by_prim
130115 cassava fk-by_prim
 
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพงโครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
 
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
 
ป่าชุมชน ห้วยหินลาด
ป่าชุมชน ห้วยหินลาดป่าชุมชน ห้วยหินลาด
ป่าชุมชน ห้วยหินลาด
 

ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะ

  • 1. ผลงานวิส าหกิจ ชุม ชนกลุ่ม เกษตรกรทำา นาตะโหมด ตำา บลตะโหมด อำา เภอตะโหมด จัง หวัด พัท ลุง สำานักงานกลุ่ม เกษตรกรทำา นาตะ โหมด ๓๒/๑ หมู่ท ี่ ๓ ตำา บลตะโหมด โทร. 074-632340 E-mail: k- tamode@hotmail.com
  • 2. ผลงานวิส าหกิจ ชุม ชนดีเ ด่น จัง หวัด พัท ลุง ประจำา ปี 2555 ชื่อ วิส าหกิจ ชุม ชน กลุ่ม เกษตรกรทำา นาตะ โหมด ข้อ มูล ทัว ไป ่ ชื่อวิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรกรทำานาตะโหมด สถานทีตั้ง บ้านเลขที่ 32/1 หมูที่ 3 ตำาบลตะโหมด ่ ่ อำาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง โทร. 074-632-340 ได้รับอนุมติจดทะเบียนตาม พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจ ั ชุมชน พ.ศ.2548 เมือวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2549 ่ รหัสทะเบียน 5-93-04-02/1-0003 สมาชิก 1,761 ราย ผู้มอำานาจทำาการแทน 2 คน คือ ี - นายอรุณ ไพชำานาญ - นายสมนึก มณีรัตน์
  • 3. ประวัติความเป็นมาของวิสาหกิจ ชุมชน กลุ่มเกษตรกรทำานาตะโหมด ได้จัดตั้งกลุ่มเมื่อ วันที่ 9 กรกฎาคม 2517 มีสมาชิกครั้งแรก จำานวน 67 คน กิจการของกลุ่มได้เจริญก้าวหน้ามาตลอด มี สมาชิกเพิมขึ้น มีเงินทุนเพิ่มขึ้น มีหน่วยเกษตรกรรม 3 ่ 0 หน่วย ส่งผลให้ชนะการประกวด ได้รับรางวัลกลุ่ม เกษตรกรดีเด่นระดับประเทศ มาแล้ว 5 ครั้ง ต่อมาได้มพระราชบัญญัติสงเสริมวิสาหกิจ ี ่ ชุมชน พ.ศ. 2548 กลุ่มเกษตรกรทำานาตะโหมดจึงได้ ขอจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ชื่อว่าวิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรกรทำานาตะโหมด ได้รับอนุมติการจดั ทะเบียนเมือวันที่ 18 มกราคม 2549 เพื่อให้รัฐ ่ ทราบข้อมูลและได้รับการรับรองตามกฎหมาย สามารถมีสิทธิในการได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนากิจการตามมาตรการทีคณะกรรมการส่ง ่ เสริมวิสาหกิจชุมชนกำาหนด จะนำาไปสู่ระบบเศรษฐกิจ
  • 4. อาชีพของสมาชิก อาชีพหลัก ได้แก่ ทำาสวนยางพารา อาชีพรอง ได้แก่ ทำานา ทำาสวนผลไม้ ปีทางบัญชี เริ่มต้นวันที่ 1 กรกฎาคมปีนี้ และสิ้นสุดวัน ที่ 30 มิถุนายนปีถัดไป หมายเลขโทรศัพท์ 0-74695340
  • 5. แผนผัง โครงสร้า งคณะกรรมการ ที่ปรึกษา 2 คน คือ ผู้ตรวจสอบกิจการ 1 คน นายอรุณ ไพชำานาญ นายวรรณ ขุน คือ ประธานกรรมการ จันทร์ นายวิรัตน์ ช่วยชุมชาติ นายคล้าย รัชณา การ นายแคล้ว นุ่มมีศรี นายฉกาจ วงศ์ นายสมใจ รามแก้ว นายสมนึก มณีรัตน์ รองประธาน ชนะไพศาล กรรมการ รองประธาน กรรมการ นายสมยศ นายอนุชา เพ็ญจำารัส นายอุทัย ยอดศรี ทองรักษ์ ผู้จัดการ กรรมการ เลขานุการ
  • 6. ข้อ มูล การดำา เนิน งาน • วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำานาตะโหมด มีแนวคิดริเริ่มพัฒนาสมาชิก ด้วยการให้บริการ การส่ง เสริมการผลิต การลดต้นทุนการผลิต ลดการถูกเอารัด เอาเปรียบด้านราคาสินค้า สนับสนุนให้สมาชิกหลุดพ้น จากภาวะหนี้สนนอกระบบ การสร้างโอกาส สร้างราย ิ ได้ มีการออมทรัพย์ มีการจัดทำาบัญชี และมีการจัด สวัสดิการ พร้อมจัดทำากิจกรรมต่างๆเพื่อสร้างความ อยู่ดกินดีของสมาชิก ซึงมีตัวชี้วัดของกลุ่ม คือ การ ี ่ อยู่ดกินดี มีความเจริญก้าวหน้าและมีความมันคงของ ี ่ สมาชิก ดังนันกลุ่มจึงได้ดำาเนินการโครงการต่างๆเกิด ้ ผลงานกับสมาชิกทุกปี ซึงปีทางบัญชีของกลุ่ม ได้ ่ กำาหนดไว้ ข้ามปี พ.ศ. โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1
  • 7. 1. ด้านการผลิตสินค้า 1.1 เปลี่ยนนาร้างเป็นนาข้าว 1.2 แปรรูปผลผลิตเกษตร(โรงสีข้าว) 1.3 แปลงสาธิตทำานา 1 ไร่ ได้เงิน 1 แสน บาท 1.4 จัดทำาแปลงเศรษฐกิจพอเพียง 1.5 จัดซื้อทีดิน ่ 1.6 ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ
  • 8.
  • 9. 2. ด้านการบริการ 2.1 รวบรวมผลผลิตการเกษตรของสมาชิกเพื่อ จำาหน่าย 2.2 บริการรถแทรกเตอร์ไถนา 2.3 การระดมทุน 2.4 การบริการสินเชือ่ 2.5 จัดหาปัจจัยการผลิตมาจำาหน่าย 2.6 จัดตั้งร้านค้า 2.7 ให้เช่าเต็นท์และเครื่องครัว 2.8 ปั้มนำ้ามัน 2.9 บริการเคาน์เตอร์แก่สมาชิก 2.10 จัดสวัสดิการแก่สมาชิก 2.11 บำารุงช่วยเหลือสาธารณประโยชน์ในชุมชน 2.12 สร้างสำานักงานหลังใหม่
  • 10.
  • 11. รายละเอียดของแต่ละกิจกรรม มี ดังนี้ • 1. ด้า นการผลิต สิน ค้า 1.1 กิจ กรรมการเปลี่ย นนาร้า งเป็น นาข้า ว วัตถุประสงค์เพือฟืนฟูการทำานาให้สมาชิกที่หยุดทำานา ่ ้ มาแล้วหลายปี ให้หันกลับมาทำานากันใหม่ และปัจจุบัน มีการเปลี่ยนพืนทีนาเป็นพื้นทีสวนยางพารากันจำานวน ้ ่ ่ มาก วัตถุประสงค์เพืออนุรักษ์พื้นทีนาให้มอยูคู่ชุมชน มี ่ ่ ี ่ ข้าวที่สมาชิกผลิตเองไว้บริโภคในชุมชน มีสมาชิกเข้า ร่วม ดังนี้ • ปี 2552 สมาชิกเข้าร่วม 10 ราย เนื้อที่ 45 ไร่ • ปี 2553 สมาชิกเข้าร่วม 30 ราย เนื้อที่ 220 ไร่ • ปี 2554 สมาชิกเข้าร่วม 28 ราย เนื้อที่ 171 ไร่ • ปี 2555 สมาชิกเข้าร่วม - ราย เนื้อที่ - ไร่ รวม 68 ราย เนือที่ 436 ไร่ ้
  • 12. ทังนี้ สมาชิกมีการปลูกข้าว ดังนี้ ้ - นาปี 436 ไร่ (สังข์หยด 126 ไร่ เล็บนกปัตตานี 310 ไร่) ผลผลิตเฉลี่ย 400 กก./ไร่ ผลผลิตรวม 174,400 กก. - นาปรัง 80 ไร่ (ปทุมธานี 1 ) ผลผลิตเฉลี่ย 600 กก./ไร่ ผลผลิตรวม 48,000 กก. รวม ผลผลิต 222,400 กก. ชนิดพันธุ์ข้าวทีปลูก นาปี ได้แก่ สังข์หยด เล็บนก ่ ปัตตานี ส่วนนาปรัง จะปลูกข้าวปทุมธานี 1 ผลผลิตส่วน ใหญ่สมาชิกเก็บไว้บริโภคในครัวเรือนร้อยละ 65 และ จำาหน่ายร้อยละ 35 ที่ผ่านมากลุ่มจะรวบรวมผลผลิตข้าว เปลือกเก็บไว้นำามาสีแปรรูปเป็นข้าวสารจำาหน่ายใน ชุมชน นอกจากนั้นทางกลุ่มยังส่งเสริมให้สมาชิกฟื้นฟู พื้นทีนาร้างที่ยงเหลืออยูจำานวน 20 ไร่ให้เป็นนาข้าวเพิม ่ ั ่ ่
  • 13. 1.2 กิจ กรรมแปรรูป ผลผลิต เกษตร (โรงสีข ้า ว) เริ่มดำาเนินการเมื่อ ปี 2554 โดยกลุ่มจัดซือเครื่องสีข้าว ้ ขนาดกำาลังผลิตขนาด 2 ตัน/วัน มีเครื่องคัดแยก ข้าวสารด้วย วิธีการกลุ่มจะรับชื้อข้าวเปลือกจากสมาชิก ในราคาที่สูงกว่าตลาดทั่วไป กก.ละ 2 บาท และนำามา แปรรูปขายในชุมชน พร้อมทังให้บริการรับจ้างสีข้าวใน ้ ชุมชน ปี 2554 ซื้อข้าวเปลือก 20,827 บาท นำา มาแปรรูป ขายข้าวสารและปลายข้าว 38,720 บาท ปี 2555 ซื้อข้าวเปลือก - บาท นำา ข้าวเปลือกทีเหลือจากปีทแล้วมาแปรรูป ขายข้าวสาร ่ ี่ และปลายข้าว 47,500 บาท
  • 14.
  • 15. • 1.3 กิจ กรรมการจัด ทำา แปลงสาธิต ทำา นา 1 ไร่ไ ด้เ งิน 1 แสนบาท วัตถุประสงค์เพื่อ เป็นแปลงเรียนรู้ให้กับสมาชิก ใช้เป็นทางเลือก ในประกอบกิจกรรมในครัวเรือน ซึ่งกลุ่มได้จัด งบประมาณส่วนหนึ่งจัดทำาเป็นแปลงสาธิต 1 ไร่ มีการปลูกข้าว เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ และปลูกผัก
  • 16.
  • 17. • 1.4 กิจ กรรมเศรษฐกิจ พอเพีย ง ส่งเสริม ให้สมาชิกรู้จักการดำาเนินชีวิตตามแนว เศรษฐกิจพอเพียงโดยให้สมาชิกดำาเนินการที่ บ้านเรือนและที่แปลงไร่นา มีการจัดทำาแปลง เกษตรทฤษฎีใหม่ มีการจัดทำาบัญชีครัวเรือน มี สมาชิกเข้าร่วม 20 คน
  • 18. • 1.5 กิจ กรรมการจัด ชือ ที่ด ิน วัตถุประสงค์ ้ เพื่อเตรียมไว้สำาหรับเป็นสถานที่จัดทำากิจกรรม ของกลุ่ม ที่ผานมากลุ่มได้จัดงบประมาณชื้อ ่ ที่ดิน ไว้เป็นทรัพย์สินของกลุ่ม จำานวน 10 แปลง เนื้อที่ 27 ไร่ มูลค่า 7,200,679 บาท สำาหรับในปี 2552-2555 มีการจัดซื้อที่ดิน 2 แปลง ดังนี้ • ปี 2552 ซื้อที่ดิน 1 แปลงเนื้อที่ 2 งาน 85 ตารางวา เป็นเงิน 780,000 บาท • ปี 2554 ซื้อที่ดิน 1 แปลง เนื้อที่ 18 ไร่ 2 งาน
  • 19.
  • 20. 1.6 กิจ กรรมการปลูก ป่า เฉลิม พระเกีย รติ วัตถุประสงค์เพืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง ่ แวดล้อมในทีดินของกลุ่ม เนือที่ 7 ไร่ ่ ้
  • 21. 2. ด้า นการบริก าร 2.1 กิจ กรรมการรวบรวมผลผลิต เกษตร ของสมาชิก เพื่อ จำา หน่า ย วัตถุประสงค์ เพื่อแก้ ปัญหาด้านการตลาด ยกระดับราคาสินค้าให้สูงขึ้น แก้ปัญหาการถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้า โดย กลุ่มรวบรวมรับซือผลผลิตจากสมาชิกในราคาทีเป็น ้ ่ ธรรม ผลผลิตเกษตรทีรวบรวม ได้แก่ ยางแผ่นดิบ ่ ข้าวเปลือก ลองกอง และถัวหรั่ง นำาไปจำาหน่าย ่ ปี 2552 (1 ก.ค.51-30 มิย.52) จำาหน่าย ปริมาณ และมูลค่า ดังนี้ - ยางแผ่นดิบ 79,425 กก. มูลค่า 9,794,251 บาท - ข้าวเปลือก 2,000 กก. มูลค่า 32,200 บาท รวม ปริมาณ 81,425 กก. มูลค่า 9,826,451 บาท
  • 22. ปี 2553 (1 ก.ค.52-30 มิย.53) จำาหน่าย ปริมาณ และมูลค่า ดังนี้ - ยางแผ่นดิบ 30,877 กก. มูลค่า 2,689,252 บาท - ข้าวเปลือก 500 กก. มูลค่า 11,400 บาท - ลองกอง 660 กก. มูลค่า 10,007 บาท รวม ปริมาณ 32,037 กก. มูลค่า 2,710,659 บาท
  • 23. ปี 2554 (1 ก.ค.53-30 มิย.54) จำาหน่ายปริมาณ และมูลค่า ดังนี้ - ยางแผ่นดิบ 30,117 กก. มูลค่า 3,214,430 บาท - ข้าวเปลือก 5,193 กก. มูลค่า 62,325 บาท - ลองกอง 413 กก. มูลค่า 8,264 บาท - ถั่วหรั่ง 7,613 กก. มูลค่า 175,113 บาท รวม ปริมาณ 43,336 กก. มูลค่า 3,460,132 บาท
  • 24. ปี 2555 (1 ก.ค.54-30 มิย.55) จำาหน่าย ปริมาณ และมูลค่า ดังนี้ - ยางแผ่นดิบ 17,624 กก. มูลค่า 1,988,777.50 บาท - ข้าวเปลือก 469 กก. มูลค่า 6,097 บาท - ลองกอง (ยังไม่ถึงฤดูกาลรับซื้อ) - ถัวหรั่ง ่ 6,187 กก. มูลค่า 197,991.50 บาท รวม ปริมาณ 24,280 กก. มูลค่า 2,192,866 บาท
  • 25. รวม ปี 2552-2555 ยางแผ่นดิบ 158,043 กก. มูลค่า 17,686,710.50 บาท ข้าวเปลือก 8,162 กก. มูลค่า 112,022 บาท ลองกอง 1,073 กก. มูลค่า 18,271 บาท ถั่วหรั่ง 13,800 กก. มูลค่า 373,104.50 บาท รวมทังสิ้น ปริมาณ ้ 181,078 กก. มูลค่า 18,190,108 บาท
  • 26. ทั้งนี้ ยางแผ่นดิบ กลุ่มจะรับซื้อจาก สมาชิกสูงกว่าพ่อค้าทั่วไป ประมาณ 2 บาท/กก. สมาชิกได้เงินเพิ่มมากกว่าเกษตรกร ทั่วไปในชุมชน ประมาณ 316,086 บาท ข้าว เปลือกกลุ่มจะรับซื้อจากสมาชิกสูงกว่าพ่อค้า ทั่วไป ประมาณ 2 บาท/กก. สมาชิกได้เงินเพิ่ม มากกว่าเกษตรกรทั่วไปในชุมชน ประมาณ 16,604 บาท ลองกองกลุ่มจะรับซื้อจากสมาชิก สูงกว่าพ่อค้าทั่วไป ประมาณ 2 บาท/กก. สมาชิกได้เงินเพิ่มมากกว่าเกษตรกรทั่วไปใน ชุมชน ประมาณ 36,542 บาท ถั่วหรั่ง กลุ่มจะ ซื้อสูงกว่าพ่อค้าทั่วไป ประมาณ 2 บาท/กก. สมาชิกได้เงินเพิ่มมากกว่าเกษตรกรทั่วไปใน ชุมชน ประมาณ 27,600 บาท รวมสมาชิกได้
  • 27. 2.2 กิจ กรรมการบริก ารรถแทรกเตอร์ ไถนา จำานวน 1 คัน (ยี่ห้อคูโบต้า) เพื่อบริการ ปรับพื้นที่ เตรียมดินทำานา ตัดหญ้าในสวนยาง กลุ่มกำาหนดราคาบริการสมาชิกในราคาที่ถูก กว่าของเอกชนทั่วไป เช่น 2.2.1 การเตรียมดินทำาเทือกปลูกข้าว กลุ่มกำาหนดค่าบริการไถและทำาเทือก ไร่ละ 800 บาท แต่เอกชนในท้องถิ่นกำาหนดค่า บริการไร่ละ 1,000 บาท ทำาให้สมาชิกประหยัด เงินได้ 200 บาท/ไร่
  • 28. 2.2.2 ค่าบริการตัดหญ้าในสวน ยางพารา กลุ่มกำาหนดไร่ละ 250 บาท เอกชน กำาหนด ไร่ละ 300 บาท ทำาให้สมาชิกสามารถ ประหยัดเงินได้ 50 บาท/ไร่ ที่ผานมากลุ่มได้รับ ่ ค่าบริการ ดังนี้ ปี 2552 - บาท ปี 2553 ได้รับค่าบริการ 83,129 บาท ปี 2554 ได้รับค่าบริการ 120,600 บาท ปี 2555 ได้รับค่าบริการ 84,400 บาท รวมทั้งสิ้น ได้รับค่าบริการ 288,129 บาท
  • 29. 2.3 กิจ กรรมการระดมทุน 2.3.1 ลงหุน วัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกได้ ้ ถือหุ้นๆละ 50 บาท มีการปันผลตามหุ้น เมือสิ้นปีบัญชี ่ ร้อยละ 10 ปี 2552 จำานวน 396,596 หุน มีทนเรือนหุ้น ้ ุ สะสม 19,829,800 บาท ปี 2553 จำานวน 453,510 หุน มีทนเรือนหุ้น ้ ุ สะสม 22,675,500 บาท ปี 2554 จำานวน 524,264 หุน มีทนเรือนหุ้น ้ ุ สะสม 26,213,200 บาท ปี 2555 จำานวน 604,474 หุน มีทนเรือนหุน ้ ุ ้ สะสม 30,223,700 บาท
  • 30. ให้สมาชิก และบุคคลทัวไปรู้จักประหยัด ออมทรัพย์ไว้ ่ ใช้ในยามจำาเป็น กลุ่มฯรับเงินฝากสมาชิก โดยให้ ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์พิเศษร้อยละ 3.5 ต่อปี เงิน ฝากออมทรัพย์ ร้อยละ 2.5 ต่อปี และเงินฝากเผื่อเรียก ร้อยละ 1.5 ต่อปี ซึ่งสูงกว่าธนาคารทัวไปทีให้ดอกเบี้ย ่ ่ ไม่เกิน ร้อยละ 1.5 ต่อปี ปี 2552 มียอดเงินฝาก 101,779,021.86 บาท ปี 2553 มียอดเงินฝาก 130,706,266.13 บาท ปี 2554 มียอดเงินฝาก 193,256,259.35 บาท ปี 2555 มียอดเงินฝาก 191,260,322.33 บาท ทังนี้ การฝากเงินออมทรัพย์ สมาชิกได้รับ ้
  • 31. 2.3.3 ขอกู้เ งิน กลุ่มขอกู้เงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกร ผ่านกรมส่งเสริม สหกรณ์ ไม่มีดอกเบีย ครั้งละ 1 ปี ส่งคืนเงิน ้ ต้นครบตามจำานวนที่กู้ทุกปี วัตถุประสงค์เพื่อ นำาไปซื้อสินค้าปัจจัยการผลิตบริการสมาชิก ดังนี้ ปี 2552 จำานวน 500,000 บาท ปี 2553 จำานวน - บาท ปี 2554 จำานวน 800,000 บาท ปี 2555 จำานวน - บาท
  • 32. 2.4 กิจ กรรมธุร กิจ สิน เชื่อ วัตถุประสงค์เพือเป็น ่ ทุนในการประกอบอาชีพ ลดปัญหาการกูเงินนอก ้ ระบบ โดยให้สมาชิกกู้ระยะสั้น ระยะปานกลาง และ ระยะยาว คิดดอกเบี้ย ร้อยละ 9 ต่อปี ปี 2552 สมาชิกกู้เงิน 98,121,825 บาท กำาไร 5,385,792.99 บาท ปี 2553 สมาชิกกู้เงิน 101,790,228 บาท กำาไร 6,181,235.82 บาท ปี 2554 สมาชิกกู้เงิน 106,130,293 บาท กำาไร 4,412,625.09 บาท ปี 2555 สมาชิกกู้เงิน 123,693,593 บาท กำาไร 7,570,786.91 บาท
  • 33. 2.5 กิจ กรรมการจัด หาปัจ จัย การผลิต มาบริ การจำา หน่า ยแก่ส มาชิก วัตถุประสงค์เพื่อให้ สมาชิกมีความสะดวก คล่องตัวในการประกอบอาชีพ ลดต้นทุนของสมาชิก โดยการจัดหาปัจจัยการผลิต 3 รายการ ได้แก่ 1) ปุ๋ย(ปุ๋ยอินทรียและปุ๋ยเคมี) 2) วัสดุ ์ อุปกรณ์การเกษตร 3) เคมีเกษตร มาจำาหน่ายให้ สมาชิก ทีผ่านมากลุ่มลงทุนซื้อมาจำาหน่าย ดังนี้ ่ ปี 2552 กลุ่มซื้อมาจำาหน่ายแก่สมาชิก เงิน 5,303,890.81 บาท ปี 2553 กลุ่มซื้อมาจำาหน่ายแก่สมาชิก เงิน 5,758,516.34 บาท ปี 2554 กลุ่มซื้อมาจำาหน่ายแก่สมาชิก เงิน 8,394,262.80 บาท ปี 2555 กลุ่มซื้อมาจำาหน่ายแก่สมาชิก เงิน 7,503,710 บาท
  • 34. 2.6 กิจ กรรมการจัด ตั้ง ร้า นค้า จำานวน 1 แห่ง วัตถุประสงค์เพือจัดหาสินค้าอุปโภคและบริโภค ่ มาจำาหน่ายให้กับสมาชิกและบุคคลทัวไป ทีผ่านมาก ่ ่ ลุ่มได้ลงทุนซื้อสินค้ามาจำาหน่ายให้กบสมาชิก ดังนี้ ั ปี 2552 กลุ่มซื้อสินค้ามาจำาหน่ายแก่สมาชิก เงิน 3,252,557.55 บาท ปี 2553 กลุ่มซื้อสินค้ามาจำาหน่ายแก่สมาชิก เงิน 2,935,371.28 บาท ปี 2554 กลุ่มซื้อสินค้ามาจำาหน่ายแก่สมาชิก เงิน 3,736,598.30 บาท ปี 2555 กลุ่มซื้อสินค้ามาจำาหน่ายแก่สมาชิก เงิน 1,804,895.61 บาท
  • 35. 2.7 กิจ กรรมการให้บ ริก ารเช่า เต็น ท์ โต๊ะ และเครื่อ งครัว วัตถุประสงค์เพื่อบริการสมาชิกที่ จัดงานในครอบครัว ช่วยแบ่งเบาภาระสมาชิกที่มี การจัดงานต่างๆ จะได้ไม่ต้องเช่าของเอกชนใน ราคาแพง เช่น งานแต่งงาน งานบวช งานขึ้นบ้าน ใหม่ และงานศพ เป็นต้น โดยการจัดหาเต็นท์ โต๊ะ เก้าอี้ และเครื่องครัวต่างๆ ให้บริการแก่สมาชิก ครั้ง ละ 3 วัน เงิน 7,000 บาท และบุคคลทัวไป ครั้งละ ่ 10,000 บาท ค่าบริการทีผ่านมา ดังนี้ ่ ปี 2552 ได้รับค่าบริการ เป็นจำานวนเงิน 362,518 บาท ปี 2553 ได้รับค่าบริการ เป็นจำานวนเงิน 280,580 บาท ปี 2554 ได้รับค่าบริการ เป็นจำานวนเงิน 349,869 บาท ปี 2555 ได้รับค่าบริการ เป็นจำานวนเงิน
  • 36. วัตถุประสงค์เพือให้สมาชิกและบุคคลทัวไปได้ใช้ ่ ่ นำ้ามันทีมคุณภาพ และราคาเป็นธรรม เพราะปัจจุบัน ่ ี นำ้ามันไม่ค่อยมีคุณภาพ มีนำ้ามันเถื่อน นำ้ามันผสม กลุ่มฯจึงติดต่อกับบริษทบางจากปิโตรเลียม จำากัด ั (มหาชน) จำานวน 1 แห่ง โดยการทำาบัตรเครดิตให้ กับสมาชิกเติมแต่ละครั้ง ยอดจำาหน่ายประมาณ 50, 000 บาท/วัน ซึงมีส่วนเฉลี่ยคืนตามส่วนธุรกิจนำ้ามัน ่ ให้กับสมาชิก ลิตรละ 15 สตางค์ ยอดขายปีทผ่านมา ดังนี้ ี่ ปี 2552 ยอดขาย เป็นจำานวนเงิน 9,043,796.43 บาท ปี 2553 ยอดขาย เป็นจำานวนเงิน 11,311,025.22 บาท ปี 2554 ยอดขาย เป็นจำานวนเงิน 13,737,800.13 บาท ปี 2555 ยอดขาย เป็นจำานวนเงิน
  • 37. 2.9 กิจ กรรมการบริก ารเคาน์เ ตอร์แ ก่ สมาชิก วัตถุประสงค์เพื่อบริการสมาชิกที่มา ติดต่อทำาธุรกรรมกับกลุ่ม ซึ่งสมาชิกมีจำานวน มากทำาให้มีผู้มาขอรับบริการทุกวัน ทางกลุ่ม ได้จัดจ้างผูจัดการ 1 คน และพนักงาน 15 คน ้ รวม 16 คน มีการปฏิบัติงาน ณ ที่ทำาการกลุ่ม ทุกวัน เว้นวันหยุดราชการ เช่น การขอกู้เงิน การฝากเงิน การถอนเงิน การจำานอง การ เปลี่ยนแปลงหลักฐานข้อมูลสมาชิก
  • 38. 2.10 กิจ กรรมการจัด สวัส ดิก ารแก่ส มาชิก วัตถุประสงค์เพือสงเคราะห์สมาชิกด้านต่างๆ เช่น ่ สงเคราะห์ศพ สมาชิกไม่เกิน 5 ปี 8,000 บาท/ราย สมาชิก 5 ปีชึ้นไป 10,000 บาท/ราย ค่ารักษาพยาบาล กรณีนอนโรงพยาบาล 200 บาท/คืน หรือไม่เกิน 2,000 บาท/ปี ซึ่งกลุ่มมีทนสวัสดิการสมาชิกและ ุ ครอบครัว ดังนี้ ปี 2552 จำานวนเงิน 625,351.78 บาท ปี 2553 จำานวนเงิน 635,834.78 บาท ปี 2554 จำานวนเงิน 581,627.78 บาท ปี 2555 จำานวนเงิน 609,627.78 บาท
  • 39. 2.11 กิจ กรรมการบำา รุง ช่ว ยเหลือ สาธารณประโยชน์ใ นชุม ชน วัตถุประสงค์เพื่อช่วย เหลือกิจกรรมสาธารณประโยชน์ในชุมชน เช่น วัด มัสยิด โรงเรียน และหน่วยงานต่างๆ ซึ่งกลุ่มมีทน ุ สาธารณประโยชน์ ดังนี้ ปี 2552 จัดสรร 466,129.97 บาท เบิก จ่าย 353,697 บาท ปี 2553 จัดสรร 457,530.97 บาท เบิก จ่าย 49,322 บาท ปี 2554 จัดสรร 428,885.97 บาท เบิก จ่าย 55,645 บาท ปี 2555 จัดสรร 456,885.97 บาท เบิก จ่าย 65,078 บาท
  • 40. 2.12 กิจ กรรมการจัด สร้า งสำา นัก งานหลัง ใหม่ วัตถุประสงค์เพื่อก่อสร้างอาคารสำานักงาน หลังใหม่ไว้ประสานงานและให้บริการสมาชิก ด้านต่างๆรองรับกับความเจริญเติบโตของกลุ่ม และให้ดูดีมีมาตรฐาน โดยใช้เงินทุนสำารองของ กลุ่ม จำานวน 1 หลัง 3 ชัน พร้อมห้องประชุมงบ ้ ประมาณ 10,000,000 บาท บัดนี้ทางกลุ่มได้เริ่ม ดำาเนินการแล้ว โดยเตรียมสถานที่ก่อสร้างและ ได้จ้างเขียนแบบแปลนไว้เรียบร้อยแล้ว คาดว่า จะก่อสร้างเสร็จสิน ในปี 2556 ้
  • 41. ประเด็น การพิจ ารณาผลงาน 1. ความคิด ริเ ริ่ม 1.1 มีระบบการเรียนรู้ 1.1.1 การประชุม มีการประชุมพบปะกัน ดังนี้ - ประชุมคณะกรรมการทุกเดือน - ประชุมหน่วยเกษตรกรรม 30 หน่วย เกษตรกรรม - ประชุมใหญ่สามัญประจำาปีทุกปี
  • 42.
  • 43. 1.1.2 การทัศนศึกษาดูงานภายนอก - ปี 2554 โครงการทำานา 1 ไร่ได้เงิน 1 แสนบาท ณจังหวัดนครปฐม - ปี 2555 งานวันทุเรียนโลก ณ จังหวัด ระยอง 1.1.3 เป็นสถานที่ฝึกงาน/ดูงานของนักศึกษา จาสถาบันการศึกษาต่างๆ 1.1.4 การทดสอบศึกษาวิจัย
  • 44.
  • 45. 1.2 มีแนวคิดการจัดการทุน 1.2.1 ลงหุน เงินหุนชำาระแล้วสะสม ปี 2555 ้ ้ จำานวน 604,474 หุน ้ เงิน 30,223,700 บาท 1.2.2 รับฝากเงินออมทรัพย์ ฝากออมทรัพย์ พิเศษ และฝากเผื่อเรียก ปี 2555 รวมเงิน 191,260,322.33 บาท 1.2.3 บริการเงินกู้ให้สินเชื่อแก่สมาชิก ปี 2555 เงิน 123,693,593 บาท 1.2.4 ขอกู้เงิน ซึ่งมีการขอกู้เงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกรไม่ทุกปี ขึ้นอยูกับความจำาเป็น ่ - ปี 2554 กู้จำานวน 800,000 บาท - ปี 2555 กู้จำานวน - บาท
  • 46. ไม้ และทำานา ระบบกิจกรรมเกิดขึนจากการประกอบกิจการมี ้ ความหลากหลายและเกื้อกูลกัน เริ่มต้นจากรวบรวมผลผลิต การเกษตรมาจำาหน่าย เช่น ยางแผ่นดิบ เมื่อมีเงินไม่พอ ได้มีการ ระดมทุนทั้งเงินหุ้นและเงินออม เพื่อใช้ในการรวบรวมผลผลิต เมื่อเงินออมมากขึ้น ได้นำาไปใช้ในการจัดซื้อปัจจัยการผลิตและ ให้สนเชื่อแก่สมาชิก หากเงินไม่พอก็จะขอกู้ยืมจากสถาบันการ ิ เงินมาบริการสมาชิก มีการจัดซื้อปัจจัยการผลิตและสินค้า อุปโภคบริโภคมาจำาหน่าย กำาไรที่ได้จากการประกอบกิจการนำา มาใช้จ่ายในการบริหารจัดการ เป็นค่าตอบแทนพนักงาน ค่า ปันผลตามหุ้นและเฉลี่ยคืน และจัดสวัสดิการ มีการเก็บเงิน ทุนสำารองไว้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากนั้นนำาเงินมาประกอบกิจการ บริการต่างๆ เพิ่มขึ้น เช่น รวบรวมข้าวเปลือก ลองกอง ถั่งหรั่ง รถไถนา โรงสีข้าว เต็นท์พร้อมเครื่องครัว ปั๊มนำ้ามัน ก่อสร้าง สำานักงานให้บริการเค๊าเตอร์ มีการส่งเสริมให้สมาชิกเพิ่มรายได้ เช่น เปลี่ยนนาร้างเป็นนาข้าว ปลูกผัก และจัดทำาแปลงทำานา 1 ไร่ได้เงิน 1 แสนบาท มีการสนับสนุนให้สมาชิกเกิดการเรียนรู้ โดยการอบรมดูงาน ในการดำาเนินงานของกลุ่มยืนอยู่บนพืนฐาน ้ ของการเรียนรู้ มีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามาผสมผสานเพือ ่ ให้ดำาเนินการและแก้ไขปัญหาได้ เช่น บุคคลผู้เป็นกรรมการจะ
  • 47. 1.4 มีการจัดระบบสวัสดิการ ซึ่งในปี 2555 มีทุนสวัสดิการ 609,627.78 บาท นำาไปใช้ จ่าย 1.4.1 เงินสวัสดิการช่วยเหลือชุมชน วัด มัสยิด หน่วยงานต่างๆ 50,000 บาท/ปี 1.4.2 สงเคราะห์ศพ คูสมรส ของ ่ สมาชิกแรกเข้า-5ปี 8,000 บาท/ศพ สมาชิก 5 ปีขึ้นไป 10,000 บาท 1.4.3 ค่าเฝ้าสมาชิกผูป่วยที่โรง ้ พยาบาล คืนละ 200 บาท แต่รวมกันไม่ เกิน2,000 บาท/คน
  • 48.
  • 49. 1.5 มีการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ 1.5.1 จัดทำาแปลงเรียนรู้การทำานา 1 ไร่ ได้เงิน 1 แสนบาท (งบของกลุ่ม) 1.5.2 การเตรียมการก่อสร้างทีทำาการหลังใหม่ ่ (งบของกลุ่ม) 1.5.3 ขอสนับสนุนรถเกี่ยวนวดข้าว 1 คัน เน้น บริการเกี่ยวข้าวสังข์หยดของสมาชิกและเกษตรกรทัวไป ่ ในจังหวัดพัทลุง (งบแผนพัฒนาจังหวัดพัทลุง ปี 2556 เงิน 1,600,000 บาท)
  • 50. 2. ความสามารถในการบริห ารจัด การ 2.1 ด้านการวางแผน 2.1.1 มีแผนประกอบการประจำาปี 2555 แผน พัฒนา 3 ปี(ปี 2556-2558) 2.1.2 มีการประชุมวางแผนร่วมกับหน่วย เกษตรกรรม 2.1.3 มีแผนการจัดประชุมหน่วยเกษตรกรรม อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง ช่วงเดือนพฤษภาคม2555 ก่อนปิดบัญชีประจำาปี 2.1.4 มีแผนประชุมใหญ่สามัญประจำาปี ทุกปีๆละ 1 ครั้ง ช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคม 2.1.5 มีแผนการปรับปรุงพืนที่นาร้างให้ ้ เป็นนาข้าวเพิมขึ้น ่
  • 51. 2.2 ด้านทรัพยากรและการเงิน 2.2.1 มีทรัพยากร ได้แก่ ยางพารา ข้าว ผลไม้ของสมาชิก ทีดินและบุคลากร ่ ของกลุ่ม 2.2.2 มีการออมเงินฝากเงิน และ ใช้จ่ายเงินของสมาชิกอย่างต่อเนือง ่
  • 52. 2.3 ด้านระบบบัญชี 2.3.1 มีการจัดทำาบัญชีเป็นปัจจุบัน สิ้นสุด ทางบัญชี วันที่ 30 มิถนายน ของทุกปี ุ 2.3.2 ได้รับการตรวจสอบจากสำานักงาน ตรวจบัญชีสหกรณ์พทลุงทุกปี มีการจัดทำาและรับรอง ั งบดุลทุกปี 2.3.3 มีการเปิดเผยข้อมูลทางบัญชีในวัน ประชุมสามัญใหญ่ประจำาปีทกปี และเปิดโอกาสให้ ุ สมาชิกตรวจสอบได้ทกเวลาุ
  • 53. 2.4 ด้านโครงสร้างและบทบาทหน้าที่ 2.4.1 มีคณะกรรมการกลุ่ม จำานวน 7 คน (นายอรุณ ไพชำานาญ ประธาน) มีผู้ จัดการกลุ่ม 1 คน 2.4.2 มีการมอบหมายให้คณะกรรมการแต่ละ คนรับผิดชอบงาน 2.5 ด้านการกำาหนดระเบียบหรือข้อตกลง 2.5.1 มีข้อบังคับกลุ่มเกษตรกร เป็นไปตาม กฎหมาย และมีการกำาหนดระเบียบการปฏิบัติ จากมติ ทีประชุมใหญ่สามัญประจำาปี ่
  • 54. 2.6 ด้านการบริหารธุรกิจ 2.6.1 การให้บริการทั้งด้านการรวบรวมผลผลิต การซื้อปัจจัยการผลิต การบริการเงินกู้และบริการอื่น ตรงกับความต้องการของสมาชิก เนื่องสินค้าส่วนใหญ่ที่ กลุ่มสั่งซื้อมาจำาหน่าย มาจากการเสนอความต้องการ ของสมาชิก โดยมีหน่วยเกษตรกรรมเป็นแหล่งรับข้อมูล และมีเคาน์เตอร์เซอร์วิสรับบริการ ณ ที่ทำาการกลุ่ม 2.6.2 คุณภาพของสินค้าและบริการ มีคุณภาพ ตรงตามทีสมาชิกต้องการ เช่น ปุ๋ยมีคุณภาพ การรับ ่ ฝากเงินออมทรัพย์ถกต้องและรวดเร็ว นำ้ามันเชื้อเพลิง ู ของ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำากัด(มหาชน) เป็นต้น
  • 55. 2.6.3 การคิดราคาจำาหน่ายหรือบริการแก่สมาชิก ดังนี้ - ราคาถูกกว่าท้องตลาดทั่วไป เช่น ค่าจ้างรถแรก เตอร์ไถนา ถูกกว่า 200 บาท/ไร่ ปุ๋ยราคาถูก การให้เช่าเต็นท์พร้อมอุปกรณ์ถูกกว่า 3,000 บาท/ครั้ง นำ้ามันเชื้อเพลิงทีได้รับเฉลี่ยคืนลิตรละ 15 ่ สต. - ราคาดีกว่าตลาดทัวไป เช่น การรวบรวมยางแผ่น ่ ดิบ สูงกว่า 2 บาท/กก. รวบรวมข้าวเปลือก สูงกว่า 2 บาท/ กก. ลองกอง สูงกว่า 2 บาท/กก. ถั่วหรั่ง สูงกว่า 2 บาท/กก. 2.6.4 ผลผลิตทีรวบรวม กลุ่มส่งจำาหน่ายเป้าหมายที่ ่ แน่นอน 2.6.5 มีกำาไรจากการทำาธุรกิจทุกปี 2.6.6 มีการจัดสวัสดิการแก่สมาชิก คณะกรรมการ และชุมชนอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยจัดสรรอัตราตามข้อ
  • 56. 2.7 ด้านการจัดการข้อมูล 2.7.1 มีการรวบรวมข้อมูลและจัดเก็บอย่างเป็น ระบบ โดยจัดเก็บไว้ในเอกสาร และคอมพิวเตอร์ 2.7.2 มีการจ้างพนักงานด้านต่างๆ จำานวน 16 คน ที่รับผิดชอบการดำาเนินงานที่สำานักงาน ที่จุดบริการ ธุรกิจ พร้อมจัดทำาข้อมูลด้านต่างๆไว้พร้อม 2.7.3 มีการใช้ประโยชน์ข้อมูล เช่น การกำาหนด แผนทิศทางการดำาเนินงานกิจกรรม การกำาหนดราคา สินค้าและบริการ การแจ้งให้สมาชิกทราบในวันประชุม การสรุปบัญชีรับจ่ายและงบดุล เป็นต้น
  • 57. 2.8 ด้านการสื่อสาร 2.8.1 มีการติดต่อสือสารทางโทรศัพท์ ่ พบปะพูดคุยเป็นการส่วนตัว และแจ้งที่ ประชุม 2.8.2 การประชาสัมพันธ์ เช่น มีป้าย โป๊สเตอร์บอกข่าวสมาชิก 2.8.3 มีเว็บไซต์ของกลุ่ม ได้แก่ www.cooppthai.com/tot e-mail : K-tamode@hotmail.com
  • 58. 3. บทบาทและการมีส ่ว นร่ว มของสมาชิก ต่อ สถาบัน 3.1 มีสวนร่วมขั้นตอนต่างๆ ่ 3.1.1 สมาชิกมีสวนร่วมการตัดสินใจใน ่ วันประชุมใหญ่ประจำาปี และวันประชุมหน่วย เกษตรกรรม 3.1.2 ร่วมกันกำาหนดวิสยทัศน์ของกลุ่ม ั ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรก้าวหน้า พัฒนาก้าวไกล กลุ่มจะทำาธุรกิจภาคการเกษตรให้เดินคู่ขนานไป กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3.1.3 สมาชิกมีส่วนร่วม ให้ความร่วมมือ และสนับสนุนกิจกรรมของกลุ่มทุกกิจกรรม
  • 59. 3.2 มีส่วนร่วมการพัฒนาสมาชิก 3.2.1 ลดภาระหนี้สินนอกระบบให้กับสมาชิก โดยให้ บริการเงินกู้ 3.2.2 ส่งเสริมการเรียนรู้ให้เกิดรายได้ในครัวเรือน สมาชิก เช่น โครงการฟืนฟูนาร้าง โครงการทำานา 1 ไร่ ได้เงิน 1 ้ แสนบาท 3.2.3 กลุมมีเงินทุนเพื่อการฟื้นฟูอาชีพสมาชิก โดยให้ ่ สมาชิกร่วมเสนอความคิดเห็นและวางแผนกับคณะกรรมการ และ ใช้เงินทุนในการฟืนฟูอาชีพ ดังนี้ ้ ปี 2552 เงิน - บาท ปี 2553 เงิน 108,234.62 บาท ปี 2554 เงิน 110,575.37 บาท ปี 2555 เงิน 609,627.78 บาท 3.2.4 กลุมมีทุนสะสมเพื่อสวัสดิการสมาชิกและครอบครัว ่ ปี 2552 เงิน - บาท ปี 2553 เงิน 635,834.78 บาท ปี 2554 เงิน 581,627.78 บาท ปี 2555 เงิน 609,627.78 บาท
  • 60. 4. ความมัน คงและฐานะทางเศรษฐกิจ ่ 4.1 กิจกรรมของกลุ่ม มีความหลากหลาย ประกอบด้วย 17 กิจกรรม ลดความเสี่ยงต่อการ ดำาเนินธุรกิจกลุ่ม 4.2 สมาชิกและชุมชน ได้รับสวัสดิการจาก กลุ่มทุกปี 4.3 สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น จากการจ่ายค่า ตอบแทนค่าหุน ปันผลตามส่วนธุรกิจ จากการจัด ้ ซื้อปัจจัยการผลิตราคาถูกกว่าท้องตลาด การ รวบรวมสินค้าจำาหน่ายทีได้รับราคาสูงกว่าตลาด ่ ทัวไป การบริการรถไถนาและการเช่าเต็นท์ทราคา ่ ี่ ถูกกว่า พร้อมทั้งมีรายได้จากเงินสวัสดิการ
  • 61. 4.4 หนี้นอกระบบของสมาชิกลดลง และหนีสมาชิก ้ สามารถจัดการได้ 4.5 สมาชิกมีเงินออมจากการฝากออมทรัพย์กับ กลุ่ม 4.6 กลุ่มมีเงินทุนสำารอง ปี 2555 จำานวน 16,911,028.21 บาท สำาหรับประกอบการได้อย่างต่อ เนื่อง 4.7 กิจการเติบโตอย่างต่อเนือง มีกจกรรมเพิมขึ้น ่ ิ ่ มีสมาชิกเพิมขึ้น ่ 4.8 มีการเตรียมการสืบทอดอนาคต โดยถ่ายทอด ความรู้ภมปัญญาการบริหารจัดการกลุ่ม จากรุ่นก่อนสู่รุ่น ู ิ หลัง เปิดโอกาสให้คนหนุ่มมาเป็นกรรมการ เช่น นาย สมยศ ทองรักษ์ จากตำาแหน่งพนักงานสินเชื่อ มาจนถึง ตำาแหน่งเลขานุการกลุ่ม มีการแต่งผู้นำากลุ่มรุ่นก่อน เช่น นายวรรณ ขุนจันทร์ อดีตผู้จัดการกลุ่ม นายคล้าย รัช ฌาการ อดีตประธานกรรม เป็นทีปรึกษา เป็นต้น เพื่อ ่
  • 62. ปี 2554 สินทรัพย์ 245,593,770.03 บาท หนี้สน ิ 195,070,860.72 บาท ทุนของกลุ่มฯ 50,522,909.31 บาท ทุนเรือนหุน 26,213,200.00 บาท ้ ทุนสำารอง 15,122,113.82 บาท ทุนอื่นๆ 3,473,994.10 บาท กำาไรสุทธิ 5,713,601.39 บาท ปี 2555 สิ้นปีทางบัญชีแล้ว แต่ยงไม่มการตรวจ ั ี สอบบัญชี 4.10 กลุ่มฯมีการบริหารและจัดการกิจกรรมอย่าง ต่อเนืองมาเป็นเวลา 38 ปีและมีความเข้มแข็งยิงขึ้น ่ ่ ยืนหยัดอยูได้ทกสภาวะ แม้ว่าบางช่วงประเทศประสบ ่ ุ กับภาวะเศรษฐกิจตกตำ่า แต่กลุ่มยังบริการและช่วย
  • 63. 5. การทำา กิจ กรรมด้า นสาธารณประโยชน์แ ละ อนุร ัก ษ์ท รัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ง แวดล้อ ม 5.1 ปลุกจิตสำานึกสมาชิกเสียสละ อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น ส่งเสริม สมาชิกใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ลดการใช้ปุ๋ยเคมี 5.2 กระบวนการผลิตไม่ทำาลาย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น - กิจกรรมเกษตรผสมผสาน ในแปลงทำานา 1 ไร่ ได้เงิน 1 แสนบาท - โครงการเศรษฐกิจพอเพียง - บริการรถแทรกเตอร์ สำาหรับตัดหญ้าในสวน ยางพารา แทนการฉีดพ่นด้วยสารเคมี
  • 64. 5.3 การส่งเสริม รักษาและใส่ใจสิ่งแวดล้อม เช่น การปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ เนื้อที่ 7 ไร่ 5.4 การทำากิจกรรมสาธารณประโยชน์ เช่น จัดสรรกำาไร ช่วยเหลือ วัด มัสยิด โรงเรียน 5.5 มีการยอมรับในชุมชน 5.5.1 ชนะเลิศการประกวดได้รับรางวัลกลุ่ม เกษตรกรดีเด่นระดับประเทศ ปี 2555 รับโล่ 1 อัน พร้อมเงินรางวัล 100,000 บาท ซึ่งได้รับ พระราชทาน ในวันจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เมือวัน ่ ที่ 9 พฤษภาคม 2555 (ทีผ่านมากลุ่มได้รับรางวัลนี้ ่ มาแล้ว 5 ครั้ง ในปี 2526 ปี 2529 ปี 2535 ปี 2548 และปี 2555) 5.5.2 วัดตะโหมด และโรงเรียนประชาบำารุง ให้การยอมรับในการนำาเงินไปฝากออมทรัพย์
  • 65.