SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
งานนาเสนอ
เทคโนโลยีช่วยแก้ไขการมีบุตรยาก
งานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว302044)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครูชานาญการ(คศ.2) สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 กรุงเทพมหานคร
สมาชิก
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 833 กลุ่มที่ 2
เรียงจากซ้ายไปขวา
1. นายจีระศักดิ์ ขจรรัตนวณิชย์ เลขที่ 15
2. นายเฉลิมพล สัมปทานุกุล เลขที่ 17
3. นายพันแสงสร อุมะนันท์ เลขที่ 25
4. นายภวินท์ รุ่งสถาพร เลขที่ 27
คานา
งานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 833
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยมีจุดประสงค์ในการจัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการนาเสนอข้อมูลในหัวข้อของ เทคโนโลยี
ช่วยแก้ไขการมีบุตรยาก
ทางคณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานนาเสนอนี้จะสามารถเป็นประโยชน์ให้แก่นักเรียนและบุคคลที่มี
ความสนใจในหัวข้อเหล่านี้ไม่มากก็น้อย
คณะผู้จัดทา
สารบัญ หน้า
เทคโนโลยีช่วยแก้ไขการมีบุตรยากแบบต่างๆ 1
IUI (Intra Uterine Insemination) 2
IVF (In Vitro Fertilization) 3-4
GIFT (Gamete Intra Fallopian Transfer) 5
ZIFT (Zygote Intra Fallopian Transfer) 6
ICSI 7
บรรณานุกรม 8
กิตติกรรมประกาศ 9
ภาคผนวก 10-12
เทคโนโลยีช่วยแก้ไขการมีบุตรยากแบบต่างๆ
1.IUI ( IntraUterine Insemination )
2.IVF (In Vitro Fertilization )
3.GIFT ( Gamete IntraFallopian Transfer )
4.ZIFT ( Zygote IntraFallopian Transfer )
5.การทาอิ๊กซี่ ICSI
1
IUI (Intra Uterine Insemination)
หลักการ : การนาเชื้ออสุจิที่ได้จากการเตรียมและคัดเชื้อมาฉีดเข้าไปภายในโพรงมดลูกในช่วงที่มีการตกไข่เงื่อนไข
1.ท่อนาไข่ใช้การได้อย่างน้อย 1 ข้าง
2.มดลูกยังคงสามารถฝังตัวได้อยู่
ขั้นตอนการทา IUI
1.การเตรียมตัวของฝ่ายหญิง แพทย์จะให้ยาฉีดหรือยาทานเพื่อกระตุ้นการตกไข่หลายใบ(บางคนอาจไม่จาเป็นต้องใช้
ยา) จะเริ่มใช้ยาในวันที่ 3 หลังจากที่ประจาเดือนมา จากนั้นแพทย์จะนัดทาอัลตราซาวด์ตรวจดูขนาดของไข่ และเมื่อไข่มี
ขนาดที่พอเหมาะ แพทย์จะฉีดยากระตุ้นให้ไข่ตก หลังจากนั้น 24-40 ชั่วโมง แพทย์จะทาการฉีดน้าเชื้ออสุจิเข้าสู่โพรง
มดลูก ซึ่งเป็นเวลาที่ไข่ตกพอดี
2.การเตรียมตัวของฝ่ายชาย แพทย์จะนัดเก็บเชื้ออสุจิ ในวันที่นัดฉีดเชื้อเข้าสู่โพรงมดลูก ซึ่งจาเป็นต้องงดการมี
เพศสัมพันธ์ 2-3 วันก่อนวันนัด ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 1-2 ชั่วโมง ในการคัดกรองน้าเชื้อ
3.ขั้นตอนการฉีดน้าเชื้อ แพทย์จะนาน้าเชื้อที่ผ่านการคัดกรองแล้ว บรรจุในท่อพลาสติกขนาดเล็กมาก สอดผ่านปาก
มดลูกและฉีดเข้าไปในโพรงมดลูก ขั้นตอนนี้ใช้เวลาไม่กี่นาที หลังจากนั้นให้นอนพัก 15-30 นาที ก็สามารรถกลับบ้านได้
และทาตัวได้ตามปกติ แต่งดการมีเพศสัมพันธ์ ในวันที่ฉีดเชื้อเข้าโพรงมดลูก ส่วนวันอื่นๆ สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้
ตามปกติ
2
IVF (In Vitro Fertilization)
หลักการ : การนาไข่และอสุจิมาปฏิสนธิภายนอกร่างกายจนเจริญเป็นตัวอ่อนแล้วจึงย้ายกลับเข้าสู่โพรงมดลูก
เงื่อนไข : มดลูกยังคงสามารถฝังตัวได้อยู่
3
ขั้นตอนการทา IVF
การกระตุ้นไข่
แพทย์จะตรวจเลือดเพื่อดูฮอร์โมน (AMH) และอัลตราซาวด์ เพื่อตรวจดูความพร้อมก่อนกระตุ้น ในวันที่ 2-3 ของประจาเดือน และทาการสั่งยาฉีดทางหน้าท้องทุกวันเพื่อ
กระตุ้นไข่ของท่าน โดยจะใช้เวลา 10 – 12 วัน โดยประมาณ
การเฝ้าสังเกตอาการ
ท่านจาเป็นจะต้องเข้ารับการตรวจเลือดและอัลตราซาวด์ เพื่อสังเกตผลของการฉีดยากระตุ้นไข่เพื่อประเมินภาวะตอบสนองของร่างกายและแพทย์อาจมีการปรับขนาดของยา
อย่างเหมาะสมเพื่อให้มีประสิทธิภาพ
ไข่ที่เจริญสมบูรณ์
เมื่อแพทย์พิจารณาขนาดไข่ของท่านเหมาะสมในการใช้งานท่านจะได้รับการฉีดฮอร์โมนเพื่อกระตุ้นให้ไข่ตก 35-37 ชั่วโมงก่อนการเก็บไข่
การเก็บไข่
ขั้นตอนในการเก็บใข่จะกระทาในห้องผ่าตัด โดยท่านจะได้รับยาและสารน้าทางหลอดเลือดดาหลังจากที่ท่านได้รับยาสลบอ่อน ๆ แล้วแพทย์จะทาการเก็บไข่ทางช่องคลอดควบคู่
ไปกับการดูภาพอัลตราซาวด์ โดยใช้เวลาในการเก็บประมาณ 15 นาที
และหลังจากนั้นท่านจะต้องนอนพักเพื่อสังเกตอาการในห้องฟักฟื้น ใช้เวลาโดยรวมประมาณ 3 ชั่วโมง
การเก็บสเปิร์ม
ในวันที่เก็บไข่ ฝ่ายชายจะต้องทาการเก็บสเปิร์มเพื่อใช้ในการปฎิสนธิ หากฝ่ายชายไม่สะดวกสามารถใช้สเปิร์มแช่แข็ง
การปฏิสนธิ
ผู้เชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงตัวอ่อนจะทาการคัดเลือกสเปิร์มที่แข็งแรง เพื่อปฏิสนธิกับไข่ในห้องทดลอง
รายงานตัวอ่อน
ท่านจะได้รับรายงานตัวอ่อน พร้อมคาอธิบายจากผู้ดูแลในวันถัดไป
การย้ายตัวอ่อน
การย้ายตัวอ่อนรอบสด แพทย์จะให้ยาเตรียมมดลูกเพื่อทาการใส่ตัวอ่อนเข้าสู่โพรงมดลูกของท่านประมาณ 2 ถึง 5 วันหลังเก็บไข่
การย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็ง เพื่อเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์ แพทย์จะแนะนาให้ท่านแช่แข็ง ตัวอ่อน เพื่อให้มดลูกได้พักประมาณ 2-3 เดือนหลังจากการกระตุ้นไข่ แพทย์จะให้
ยาเตรียมมดลูก และวางแผนการใส่ตัวอ่อนรอบแช่แข็งให้ท่าน
การแช่แข็งตัวอ่อน
สามารถทาการแช่แข็งตัวอ่อนที่เหลืออยู่เพื่อนาไปใช้ในการทาเด็กหลอดแก้วในอนาคตได้
การตรวจการตั้งครรภ์
ประมาณ 10 วันหลังการย้ายตัวอ่อน สามารถทาการเจาะเลือดเพื่อตรวจการตั้งครรภ์ได้
หากผลลัพธ์เป็นบวก แพทย์จะให้คาแนะนาในการใช้ยาต่อเนื่องหรือการปฏิบัติตัว ท่านสามารถฝากครรภ์และคลอดธรรมชาติเหมือนการตั้งครรภ์ตามธรรมชาติได้
หากผลลัพธ์เป็นลบ ท่านจะได้รับการตรวจสอบหาสาเหตุและแนวทางการรักษาเพื่อเพิ่มโอกาสในครั้งต่อไป
4
GIFT (Gamete Intra Fallopian Transfer)
หลักการ : การนาไข่และอสุจิมารวมกันแล้วฉีดเข้าไปในท่อนาไข่ ให้เกิดปฏิสนธิ แบ่งตัว และฝังตัวขึ้นเองตามธรรมชาติ
เงื่อนไข :
1.ท่อนาไข่ใช้การได้อย่างน้อย 1 ข้าง
2.มดลูกยังคงสามารถฝังตัวได้อยู่
ขั้นตอนการทากิฟท์
1.เจาะเลือดในวันที่ 2-3 ในรอบประจาเดือน เพื่อตรวจระดับฮอร์โมนสาหรับใช้ยากระตุ้นไข่ แพทย์จะให้ยากระตุ้นไข่
ตามความเหมาะสมในแต่ละคน โดยอาจใช้ยาพ่นเข้าทางจมูกและยาฉีด หรือใช้เป็นยาฉีดอย่างเดียว โดยเฉลี่ยแล้ว
ฝ่ายหญิงจะได้รับยากระตุ้นไข่เป็นเวลา 10 วัน
2.ติดตามการเจริญเติบโตของรังไข่ โดยการอัลตร้าซาวด์ทางช่องคลอด และตรวจระดับฮอร์โมนเป็นระยะ เมื่อไข่มีขนาด
โตเต็มที่จะฉีดยากระตุ้นการตกไข่ ไข่จะตกภายใน 34-36 ชั่วโมง
3.เก็บไข่ โดยใช้เข็มเจาะผ่านหนังช่องคลอด หรือผ่านผนังหน้าท้องเพื่อดูดเอาไข่ออกมา
4.เก็บน้าเชื้ออสุจิ
5.นาเอาไข่และอสุจิที่เตรียมไว้ใส่กลับเข้าไปในท่อนาไข่ โดยการกรีดแผลเล็กๆที่หน้าท้อง 3 ตาแหน่ง
6.แพทย์ให้ฮอร์โมนเพื่อช่วยตัวอ่อนฝังตัว
7.หลังจากทากิฟท์ 12 วัน สามารถตรวจการตั้งครรภ์โดยการเจาะเลือดตรวจระดับ HCG
5
ZIFT (Zygote Intra Fallopian Transfer)
หลักการ : การนาไข่และอสุจิมาปฏิสนธิภายนอกร่างกายจนเจริญเป็นตัวอ่อนระยะ 1 เซลล์แล้วฉีดกลับเข้าไปในท่อนาไข่
เงื่อนไข :
1.ท่อนาไข่ใช้การได้อย่างน้อย 1 ข้าง
2.มดลูกยังคงสามารถฝังตัวได้อยู่
ขั้นตอนการทาซิฟท์
1. ใช้ยาเพื่อกระตุ้นให้มีการเจริญของไข่ครั้งละหลายๆ ใบ
2. ควบคุมการสุกของไข่ ควรได้อย่างน้อย 3-4 ใบ
3. ทาการเก็บไข่ที่สุกแล้ว โดยใช้เข็มดูดผ่านทางผนังช่องคลอด
4. นาอสุจิที่เตรียมแล้วผสมกับไข่
5. เก็บไว้ในตู้เลี้ยงตัวอ่อนนาน 16-18 ชั่วโมง ดูผลการปฏิสนธิ
6. 48-72 ชั่วโมงหลังเก็บไข่ ตัวอ่อนจะมีการแบ่งตัว และพร้อมที่จะ
ใส่กลับเข้าไปทางท่อนาไข่ เพื่อรอการฝังตัว
7. หลังจากการที่ย้ายตัวอ่อนแล้วจะมีการฉีดฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
เพื่อช่วยในการฝังตัว
8. ประมาณ 2 สัปดาห์จากที่ย้ายตัวอ่อนจะทาการตรวจเลือดเพื่อดูการ
ตั้งครรภ์
6
ICSI
การทาอิ๊กซี่ คือ วิธีการรักษาภาวะมีบุตรยาก ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง โดยเฉพาะฝ่าย
ชายที่มีปัญหาน้าเชื้อน้อย ตัวอสุจิไม่ค่อยเคลื่อนไหว
หรืออสุจิมีลักษณะพิการผิดรูปร่าง ซึ่งมีขั้นตอนคล้ายกับการทาเด็กหลอดแก้ว
การรักษาด้วยวิธีอิ๊กซี่ Intracytoplasmic Sperm Injection (ICSI)
เป็นวิธีการรักษาผู้ที่มีบุตรยาก
โดยการปฏิสนธินอกร่างกาย สาหรับผู้ชายที่มีจานวนอสุจิไม่มากก็สามารถทาได้
ขั้นตอนการทาอิ๊กซี่
1.ทาการกระตุ้นไข่ในฝ่ายหญิง โดยเริ่มฉีดยาตั้งแต่วันที่ 2 ของรอบเดือน ฉีดไป 10 วัน เพื่อกระตุ้นให้ไข่ตกมากกว่า 1 ใบ
2.ติดตามตรวจอัลตราซาวด์และเจาะเลือดเพื่อดูขนาดไข่ เมื่อไข่มีขนาดโตได้ที่ จะทาการดูดไข่ออกมาเก็บผ่านทางช่องคลอด
และเก็บน้าเชื้อฝ่ายชายในวันเดียวกัน
3.ใช้เทคนิคในห้องปฏิบัติการเลือกตัวอ่อน โดยใช้เข็มแก้วขนาดเล็กดูดเลือกตัวสเปิร์มที่แข็งแรงที่สุด แล้วใช้เข็มนั้นเจาะ และ
ฉีดตัวสเปิร์มเข้าไปในไข่โดยตรง แล้วให้เกิดการปฏิสนธิขึ้นมา
4.นาไข่ที่ผสมแล้วไปเลี้ยงต่อในห้องปฏิบัติการประมาณ 3-5 วัน หลังจากนั้นจะนาตัวอ่อนย้ายกลับเข้าสู่โพรงมดลูก เพื่อให้
เจริญเติบโตเป็นทารกต่อไป
7
บรรณานุกรม
https://bit.ly/37xelev
https://bit.ly/2QHHCfP
https://www.safefertilitycenter.com/TH/getting-started-ivf/
https://www.honestdocs.co/what-is-iui-how-to-take-care-before-after
http://www.jetanin.com/th/service/archive_detail/22
Star,C.2553. ชีววิทยา1. (ทีมคณาจารย์ ภาควิชาชีววิทยา ม.ขอนแก่น,แปล). พิมพ์ครั้งที่ 3. เจเอสที
พับลิชชิ่ง จากัด, กรุงเทพ.
8
กิตติกรรมประกาศ
งานนาเสนอนี้จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ หากสมาชิกในกลุ่มขาดความสามัคคีและไม่ได้รับการ
ช่วยเหลือจาก อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ที่คอยให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ
และชี้แนะแนวทางในการทางาน พร้อมทั้งช่วยแก้ไขและชี้แนะในส่วนที่ผิดพลาด ทางคณะ
ผู้จัดทาจึงขอขอบพระคุณอาจารย์เป็นอย่างสูงที่ช่วยทาให้งานนาเสนอนี้สาเร็จลุล่วง
คณะผู้จัดทา
9
ภาคผนวก
10
11
สมาชิกกลุ่มหาข้อมูล สมาชิกทาโปสเตอร์ให้ความรู้
สมาชิกกลุ่มจัดทางานนาเสนอ สมาชิกหาข้อมูล
Thankyou

More Related Content

Similar to Technology for helping birth

N sdis 143_60_5
N sdis 143_60_5N sdis 143_60_5
N sdis 143_60_5
Wichai Likitponrak
 

Similar to Technology for helping birth (20)

Herbarium group1 343
Herbarium group1 343Herbarium group1 343
Herbarium group1 343
 
การทำหมันในเพศชายและหญิง 335
การทำหมันในเพศชายและหญิง 335การทำหมันในเพศชายและหญิง 335
การทำหมันในเพศชายและหญิง 335
 
343 pre4
343 pre4343 pre4
343 pre4
 
Menopause
MenopauseMenopause
Menopause
 
Herbarium.ppt
Herbarium.pptHerbarium.ppt
Herbarium.ppt
 
การนับระยะปลอดภัย
การนับระยะปลอดภัยการนับระยะปลอดภัย
การนับระยะปลอดภัย
 
Skill manual removal of placenta
Skill manual removal of placentaSkill manual removal of placenta
Skill manual removal of placenta
 
N sdis 143_60_5
N sdis 143_60_5N sdis 143_60_5
N sdis 143_60_5
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่
 
Women contraceptive group1 343
Women contraceptive group1 343Women contraceptive group1 343
Women contraceptive group1 343
 
Herbarium Group2 Room825
Herbarium Group2 Room825Herbarium Group2 Room825
Herbarium Group2 Room825
 
Herbarium g8 825
Herbarium g8 825Herbarium g8 825
Herbarium g8 825
 
Female contraception g5 342
Female contraception g5 342Female contraception g5 342
Female contraception g5 342
 
Herbarium g8 825 starfruit
Herbarium g8 825 starfruitHerbarium g8 825 starfruit
Herbarium g8 825 starfruit
 
Menstruation Cycle
Menstruation CycleMenstruation Cycle
Menstruation Cycle
 
Mango 341-2563
Mango 341-2563Mango 341-2563
Mango 341-2563
 
Period cycle
Period cyclePeriod cycle
Period cycle
 
656 pre7
656 pre7656 pre7
656 pre7
 
341 pre2
341 pre2 341 pre2
341 pre2
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 

Technology for helping birth

  • 2. ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูชานาญการ(คศ.2) สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 กรุงเทพมหานคร
  • 3. สมาชิก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 833 กลุ่มที่ 2 เรียงจากซ้ายไปขวา 1. นายจีระศักดิ์ ขจรรัตนวณิชย์ เลขที่ 15 2. นายเฉลิมพล สัมปทานุกุล เลขที่ 17 3. นายพันแสงสร อุมะนันท์ เลขที่ 25 4. นายภวินท์ รุ่งสถาพร เลขที่ 27
  • 4. คานา งานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 833 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยมีจุดประสงค์ในการจัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการนาเสนอข้อมูลในหัวข้อของ เทคโนโลยี ช่วยแก้ไขการมีบุตรยาก ทางคณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานนาเสนอนี้จะสามารถเป็นประโยชน์ให้แก่นักเรียนและบุคคลที่มี ความสนใจในหัวข้อเหล่านี้ไม่มากก็น้อย คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญ หน้า เทคโนโลยีช่วยแก้ไขการมีบุตรยากแบบต่างๆ 1 IUI (Intra Uterine Insemination) 2 IVF (In Vitro Fertilization) 3-4 GIFT (Gamete Intra Fallopian Transfer) 5 ZIFT (Zygote Intra Fallopian Transfer) 6 ICSI 7 บรรณานุกรม 8 กิตติกรรมประกาศ 9 ภาคผนวก 10-12
  • 6. เทคโนโลยีช่วยแก้ไขการมีบุตรยากแบบต่างๆ 1.IUI ( IntraUterine Insemination ) 2.IVF (In Vitro Fertilization ) 3.GIFT ( Gamete IntraFallopian Transfer ) 4.ZIFT ( Zygote IntraFallopian Transfer ) 5.การทาอิ๊กซี่ ICSI 1
  • 7. IUI (Intra Uterine Insemination) หลักการ : การนาเชื้ออสุจิที่ได้จากการเตรียมและคัดเชื้อมาฉีดเข้าไปภายในโพรงมดลูกในช่วงที่มีการตกไข่เงื่อนไข 1.ท่อนาไข่ใช้การได้อย่างน้อย 1 ข้าง 2.มดลูกยังคงสามารถฝังตัวได้อยู่ ขั้นตอนการทา IUI 1.การเตรียมตัวของฝ่ายหญิง แพทย์จะให้ยาฉีดหรือยาทานเพื่อกระตุ้นการตกไข่หลายใบ(บางคนอาจไม่จาเป็นต้องใช้ ยา) จะเริ่มใช้ยาในวันที่ 3 หลังจากที่ประจาเดือนมา จากนั้นแพทย์จะนัดทาอัลตราซาวด์ตรวจดูขนาดของไข่ และเมื่อไข่มี ขนาดที่พอเหมาะ แพทย์จะฉีดยากระตุ้นให้ไข่ตก หลังจากนั้น 24-40 ชั่วโมง แพทย์จะทาการฉีดน้าเชื้ออสุจิเข้าสู่โพรง มดลูก ซึ่งเป็นเวลาที่ไข่ตกพอดี 2.การเตรียมตัวของฝ่ายชาย แพทย์จะนัดเก็บเชื้ออสุจิ ในวันที่นัดฉีดเชื้อเข้าสู่โพรงมดลูก ซึ่งจาเป็นต้องงดการมี เพศสัมพันธ์ 2-3 วันก่อนวันนัด ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 1-2 ชั่วโมง ในการคัดกรองน้าเชื้อ 3.ขั้นตอนการฉีดน้าเชื้อ แพทย์จะนาน้าเชื้อที่ผ่านการคัดกรองแล้ว บรรจุในท่อพลาสติกขนาดเล็กมาก สอดผ่านปาก มดลูกและฉีดเข้าไปในโพรงมดลูก ขั้นตอนนี้ใช้เวลาไม่กี่นาที หลังจากนั้นให้นอนพัก 15-30 นาที ก็สามารรถกลับบ้านได้ และทาตัวได้ตามปกติ แต่งดการมีเพศสัมพันธ์ ในวันที่ฉีดเชื้อเข้าโพรงมดลูก ส่วนวันอื่นๆ สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้ ตามปกติ 2
  • 8. IVF (In Vitro Fertilization) หลักการ : การนาไข่และอสุจิมาปฏิสนธิภายนอกร่างกายจนเจริญเป็นตัวอ่อนแล้วจึงย้ายกลับเข้าสู่โพรงมดลูก เงื่อนไข : มดลูกยังคงสามารถฝังตัวได้อยู่ 3
  • 9. ขั้นตอนการทา IVF การกระตุ้นไข่ แพทย์จะตรวจเลือดเพื่อดูฮอร์โมน (AMH) และอัลตราซาวด์ เพื่อตรวจดูความพร้อมก่อนกระตุ้น ในวันที่ 2-3 ของประจาเดือน และทาการสั่งยาฉีดทางหน้าท้องทุกวันเพื่อ กระตุ้นไข่ของท่าน โดยจะใช้เวลา 10 – 12 วัน โดยประมาณ การเฝ้าสังเกตอาการ ท่านจาเป็นจะต้องเข้ารับการตรวจเลือดและอัลตราซาวด์ เพื่อสังเกตผลของการฉีดยากระตุ้นไข่เพื่อประเมินภาวะตอบสนองของร่างกายและแพทย์อาจมีการปรับขนาดของยา อย่างเหมาะสมเพื่อให้มีประสิทธิภาพ ไข่ที่เจริญสมบูรณ์ เมื่อแพทย์พิจารณาขนาดไข่ของท่านเหมาะสมในการใช้งานท่านจะได้รับการฉีดฮอร์โมนเพื่อกระตุ้นให้ไข่ตก 35-37 ชั่วโมงก่อนการเก็บไข่ การเก็บไข่ ขั้นตอนในการเก็บใข่จะกระทาในห้องผ่าตัด โดยท่านจะได้รับยาและสารน้าทางหลอดเลือดดาหลังจากที่ท่านได้รับยาสลบอ่อน ๆ แล้วแพทย์จะทาการเก็บไข่ทางช่องคลอดควบคู่ ไปกับการดูภาพอัลตราซาวด์ โดยใช้เวลาในการเก็บประมาณ 15 นาที และหลังจากนั้นท่านจะต้องนอนพักเพื่อสังเกตอาการในห้องฟักฟื้น ใช้เวลาโดยรวมประมาณ 3 ชั่วโมง การเก็บสเปิร์ม ในวันที่เก็บไข่ ฝ่ายชายจะต้องทาการเก็บสเปิร์มเพื่อใช้ในการปฎิสนธิ หากฝ่ายชายไม่สะดวกสามารถใช้สเปิร์มแช่แข็ง การปฏิสนธิ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงตัวอ่อนจะทาการคัดเลือกสเปิร์มที่แข็งแรง เพื่อปฏิสนธิกับไข่ในห้องทดลอง รายงานตัวอ่อน ท่านจะได้รับรายงานตัวอ่อน พร้อมคาอธิบายจากผู้ดูแลในวันถัดไป การย้ายตัวอ่อน การย้ายตัวอ่อนรอบสด แพทย์จะให้ยาเตรียมมดลูกเพื่อทาการใส่ตัวอ่อนเข้าสู่โพรงมดลูกของท่านประมาณ 2 ถึง 5 วันหลังเก็บไข่ การย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็ง เพื่อเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์ แพทย์จะแนะนาให้ท่านแช่แข็ง ตัวอ่อน เพื่อให้มดลูกได้พักประมาณ 2-3 เดือนหลังจากการกระตุ้นไข่ แพทย์จะให้ ยาเตรียมมดลูก และวางแผนการใส่ตัวอ่อนรอบแช่แข็งให้ท่าน การแช่แข็งตัวอ่อน สามารถทาการแช่แข็งตัวอ่อนที่เหลืออยู่เพื่อนาไปใช้ในการทาเด็กหลอดแก้วในอนาคตได้ การตรวจการตั้งครรภ์ ประมาณ 10 วันหลังการย้ายตัวอ่อน สามารถทาการเจาะเลือดเพื่อตรวจการตั้งครรภ์ได้ หากผลลัพธ์เป็นบวก แพทย์จะให้คาแนะนาในการใช้ยาต่อเนื่องหรือการปฏิบัติตัว ท่านสามารถฝากครรภ์และคลอดธรรมชาติเหมือนการตั้งครรภ์ตามธรรมชาติได้ หากผลลัพธ์เป็นลบ ท่านจะได้รับการตรวจสอบหาสาเหตุและแนวทางการรักษาเพื่อเพิ่มโอกาสในครั้งต่อไป 4
  • 10. GIFT (Gamete Intra Fallopian Transfer) หลักการ : การนาไข่และอสุจิมารวมกันแล้วฉีดเข้าไปในท่อนาไข่ ให้เกิดปฏิสนธิ แบ่งตัว และฝังตัวขึ้นเองตามธรรมชาติ เงื่อนไข : 1.ท่อนาไข่ใช้การได้อย่างน้อย 1 ข้าง 2.มดลูกยังคงสามารถฝังตัวได้อยู่ ขั้นตอนการทากิฟท์ 1.เจาะเลือดในวันที่ 2-3 ในรอบประจาเดือน เพื่อตรวจระดับฮอร์โมนสาหรับใช้ยากระตุ้นไข่ แพทย์จะให้ยากระตุ้นไข่ ตามความเหมาะสมในแต่ละคน โดยอาจใช้ยาพ่นเข้าทางจมูกและยาฉีด หรือใช้เป็นยาฉีดอย่างเดียว โดยเฉลี่ยแล้ว ฝ่ายหญิงจะได้รับยากระตุ้นไข่เป็นเวลา 10 วัน 2.ติดตามการเจริญเติบโตของรังไข่ โดยการอัลตร้าซาวด์ทางช่องคลอด และตรวจระดับฮอร์โมนเป็นระยะ เมื่อไข่มีขนาด โตเต็มที่จะฉีดยากระตุ้นการตกไข่ ไข่จะตกภายใน 34-36 ชั่วโมง 3.เก็บไข่ โดยใช้เข็มเจาะผ่านหนังช่องคลอด หรือผ่านผนังหน้าท้องเพื่อดูดเอาไข่ออกมา 4.เก็บน้าเชื้ออสุจิ 5.นาเอาไข่และอสุจิที่เตรียมไว้ใส่กลับเข้าไปในท่อนาไข่ โดยการกรีดแผลเล็กๆที่หน้าท้อง 3 ตาแหน่ง 6.แพทย์ให้ฮอร์โมนเพื่อช่วยตัวอ่อนฝังตัว 7.หลังจากทากิฟท์ 12 วัน สามารถตรวจการตั้งครรภ์โดยการเจาะเลือดตรวจระดับ HCG 5
  • 11. ZIFT (Zygote Intra Fallopian Transfer) หลักการ : การนาไข่และอสุจิมาปฏิสนธิภายนอกร่างกายจนเจริญเป็นตัวอ่อนระยะ 1 เซลล์แล้วฉีดกลับเข้าไปในท่อนาไข่ เงื่อนไข : 1.ท่อนาไข่ใช้การได้อย่างน้อย 1 ข้าง 2.มดลูกยังคงสามารถฝังตัวได้อยู่ ขั้นตอนการทาซิฟท์ 1. ใช้ยาเพื่อกระตุ้นให้มีการเจริญของไข่ครั้งละหลายๆ ใบ 2. ควบคุมการสุกของไข่ ควรได้อย่างน้อย 3-4 ใบ 3. ทาการเก็บไข่ที่สุกแล้ว โดยใช้เข็มดูดผ่านทางผนังช่องคลอด 4. นาอสุจิที่เตรียมแล้วผสมกับไข่ 5. เก็บไว้ในตู้เลี้ยงตัวอ่อนนาน 16-18 ชั่วโมง ดูผลการปฏิสนธิ 6. 48-72 ชั่วโมงหลังเก็บไข่ ตัวอ่อนจะมีการแบ่งตัว และพร้อมที่จะ ใส่กลับเข้าไปทางท่อนาไข่ เพื่อรอการฝังตัว 7. หลังจากการที่ย้ายตัวอ่อนแล้วจะมีการฉีดฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน เพื่อช่วยในการฝังตัว 8. ประมาณ 2 สัปดาห์จากที่ย้ายตัวอ่อนจะทาการตรวจเลือดเพื่อดูการ ตั้งครรภ์ 6
  • 12. ICSI การทาอิ๊กซี่ คือ วิธีการรักษาภาวะมีบุตรยาก ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง โดยเฉพาะฝ่าย ชายที่มีปัญหาน้าเชื้อน้อย ตัวอสุจิไม่ค่อยเคลื่อนไหว หรืออสุจิมีลักษณะพิการผิดรูปร่าง ซึ่งมีขั้นตอนคล้ายกับการทาเด็กหลอดแก้ว การรักษาด้วยวิธีอิ๊กซี่ Intracytoplasmic Sperm Injection (ICSI) เป็นวิธีการรักษาผู้ที่มีบุตรยาก โดยการปฏิสนธินอกร่างกาย สาหรับผู้ชายที่มีจานวนอสุจิไม่มากก็สามารถทาได้ ขั้นตอนการทาอิ๊กซี่ 1.ทาการกระตุ้นไข่ในฝ่ายหญิง โดยเริ่มฉีดยาตั้งแต่วันที่ 2 ของรอบเดือน ฉีดไป 10 วัน เพื่อกระตุ้นให้ไข่ตกมากกว่า 1 ใบ 2.ติดตามตรวจอัลตราซาวด์และเจาะเลือดเพื่อดูขนาดไข่ เมื่อไข่มีขนาดโตได้ที่ จะทาการดูดไข่ออกมาเก็บผ่านทางช่องคลอด และเก็บน้าเชื้อฝ่ายชายในวันเดียวกัน 3.ใช้เทคนิคในห้องปฏิบัติการเลือกตัวอ่อน โดยใช้เข็มแก้วขนาดเล็กดูดเลือกตัวสเปิร์มที่แข็งแรงที่สุด แล้วใช้เข็มนั้นเจาะ และ ฉีดตัวสเปิร์มเข้าไปในไข่โดยตรง แล้วให้เกิดการปฏิสนธิขึ้นมา 4.นาไข่ที่ผสมแล้วไปเลี้ยงต่อในห้องปฏิบัติการประมาณ 3-5 วัน หลังจากนั้นจะนาตัวอ่อนย้ายกลับเข้าสู่โพรงมดลูก เพื่อให้ เจริญเติบโตเป็นทารกต่อไป 7
  • 13. บรรณานุกรม https://bit.ly/37xelev https://bit.ly/2QHHCfP https://www.safefertilitycenter.com/TH/getting-started-ivf/ https://www.honestdocs.co/what-is-iui-how-to-take-care-before-after http://www.jetanin.com/th/service/archive_detail/22 Star,C.2553. ชีววิทยา1. (ทีมคณาจารย์ ภาควิชาชีววิทยา ม.ขอนแก่น,แปล). พิมพ์ครั้งที่ 3. เจเอสที พับลิชชิ่ง จากัด, กรุงเทพ. 8
  • 14. กิตติกรรมประกาศ งานนาเสนอนี้จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ หากสมาชิกในกลุ่มขาดความสามัคคีและไม่ได้รับการ ช่วยเหลือจาก อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ที่คอยให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ และชี้แนะแนวทางในการทางาน พร้อมทั้งช่วยแก้ไขและชี้แนะในส่วนที่ผิดพลาด ทางคณะ ผู้จัดทาจึงขอขอบพระคุณอาจารย์เป็นอย่างสูงที่ช่วยทาให้งานนาเสนอนี้สาเร็จลุล่วง คณะผู้จัดทา 9