SlideShare a Scribd company logo
รวมเล่มโครงการสอนภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557
รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
รายวิชาชีววิทยา 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
รายวิชาชีววิทยา 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รายวิชาชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รายวิชาชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
รายวิชาชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
โครงการสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
- รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
- รายวิชาชีววิทยา 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
- รายวิชาชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โครงการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
1. ชื่อผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
2. ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
3. รหัสวิชา ว 31104
4. จานวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต
5. ภาคเรียนที่ 1
6. ปีการศึกษา 2557
7. สถานภาพของวิชา พื้นฐาน
8. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ทุกโปรแกรม
9. จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
10. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับไบโอม ความหลายหลากของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ การ
ถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ มนุษย์กับ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงสร้างของเซลล์ กล้องจุลทรรศน์ การลาเลียงสารผ่านเซลล์ กลไก
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ภูมิคุ้มกันของร่างกาย ลักษณะทางพันธุกรรม โครโมโซม และสาร
พันธุกรรม การแบ่งเซลล์ โครโมโซมกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม
และค่านิยมที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด
ว 1.1 ม.4/1 , ว 1.1 ม.4/2 , ว 1.1 ม.4/3 , ว 1.1 ม.4/4
ว 1.2 ม.4/1 , ว 1.2 ม.4/2 , ว 1.2 ม.4/3 , ว 1.2 ม.4/4
ว 2.1 ม.4/1 , ว 2.1 ม.4/2 , ว 2.1 ม.4/3
ว 2.2 ม.4/1 , ว 2.2 ม.4/2 , ว 2.2 ม.4/3
ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6 ,
ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12
รวม 26 ตัวชี้วัด
11. แผนการจัดการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
1 1-3 16-23 พ.ค. 57 ไบโอม ไบโอมบนบกและไบโอมในน้า
2 4-6 26-30 พ.ค. 57 ความหลากหลายของระบบ
นิเวศ
การศึกษาระบบนิเวศและ
ระบบนิเวศแบบต่างๆ
3 7-9 2-6 มิ.ย. 57 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต
กับปัจจัยทางกายภาพและ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต
กับปัจจัยทางชีวภาพ
4 10-12 9-13 มิ.ย. 57 การถ่ายทอดพลังงานและการ
หมุนเวียนสารในระบบนิเวศ
การถ่ายทอดพลังงานใน
สิ่งมีชีวิตและวัฏจักรสารใน
ระบบนิเวศ
5 13-15 16-20 มิ.ย. 57 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ
ระบบนิเวศ
การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบ
ปฐมภูมิและการเปลี่ยนแปลง
แทนที่แบบทุติยภูมิ
6 16-18 23-30 มิ.ย. 57 มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
ประเภทของ
ทรัพยากรธรรมชาติ, ภาวะโลก
ร้อนและการทาลายโอโซนใน
บรรยากาศ
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
7 19-21 1-11 ก.ค. 57 โครงสร้างของเซลล์ ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์, ไซโทพลา
ซึมและนิวเคลียส
8 22-24 14-18 ก.ค. 57 กล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและ
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
9 25-27 21-31 ก.ค. 57 การลาเลียงสารผ่านเซลล์ การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้ม
เซลล์และการลาเลียงสารโดย
การสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์
10-11 28-33 1-8 ส.ค. 57 กลไกการรักษาดุลยภาพของ
สิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้าใน
พืช, การรักษาดุลยภาพของน้า
และสารต่างๆในร่างกาย, การ
รักษาดุลยภาพของกรด-เบสใน
ร่างกาย, การรักษาดุลยภาพ
ของน้าและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิต
อื่นๆและการรักษาดุลยภาพ
ของอุณหภูมิภายในร่างกาย
12 34-36 11-15 ส.ค. 57 ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การป้องกันทาลายเชื้อโรคและ
สิ่งแปลกปลอมกับความ
ผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
บทที่ 3 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
13 37-39 18-22 ส.ค. 57 ลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะพันธุกรรมแบบแปรผัน
ไม่ต่อเนื่องและลักษณะทาง
พันธุกรรมแบบแปรผันต่อเนื่อง
14 40-42 25-29 ส.ค. 57 โครงโมโซมและสารพันธุกรรม สารพันธุกรรม DNA/RNA,
โครมาทิน, โครมาทิดและ
โครโมโซม
15 43-45 1-5 ก.ย. 57 การแบ่งเซลล์ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและ
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
16 46-48 8-12 ก.ย. 57 โครโมโซมกับการถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรม
ยีนที่ควบคุมลักษณะทาง
พันธุกรรมจะอยู่เป็นคู่บนโฮ
โมโลกัสโครโมโซม
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
17 49-51 15-18 ก.ย. 57 การถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม
กฏการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมของเมนเดล 2 ข้อ
คือกฏการแยกตัวของคู่ยีนและ
กฏการรวมกลุ่มยีนอย่างอิสระ
18 52-54 19-23 ก.ย. 57 การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม มิวเทชัน, การคัดเลือกโดย
ธรรมชาติและการคัดเลือก
พันธุ์และปรับปรุงพันธุ์โดย
มนุษย์
19 55-57 24-26 ก.ย. 57 เทคโนโลยีชีวภาพ พันธุวิศวกรรม, การโคลนและ
ลายพิมพ์ DNA
20 58-60 29-30 ก.ย. 57 ความหลากหลายทางชีวภาพ สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิตและความ
หลากหลายของสิ่งมีชีวิต
12. การวัดผลประเมินผล
อัตราส่วนการเก็บคะแนน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 แบ่งได้ ดังนี้
วิธีการเก็บคะแนน คะแนนเต็ม เครื่องมือวัดและประเมินผล
1. ทดสอบย่อย 20 คะแนน แบบทดสอบเก็บคะแนน
2. สอบกลางภาค 20 คะแนน แบบทดสอบกลางภาค
3. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 40 คะแนน แบบตรวจให้คะแนนชิ้นงาน
4. สอบปลายภาค 20 คะแนน แบบทดสอบปลายภาค
รวมคะแนน 100
13. สื่อการเรียนการสอน/แบบเรียน
13.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
13.2 คู่มือครู วิทยาศาสตร์ : ชีววิทยาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้แต่ง สสวท.
กระทรวงศึกษาธิการ
14. แหล่งเรียนรู้/แหล่งสืบค้นข้อมูล
14.1 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
14.2 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
14.3 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
หมายเหตุ : โครงการสอนนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
โครงการสอนรายวิชาชีววิทยา 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
1. ชื่อผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
2. ชื่อวิชา ชีววิทยา 2
3. รหัสวิชา ว 32242
4. จานวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต
5. ภาคเรียนที่ 1
6. ปีการศึกษา 2557
7. สถานภาพของวิชา เพิ่มเติม
8. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 โปรแกรมวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
9. จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
10. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง และสัตว์มีกระดูก
สันหลัง การรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด โครงสร้างของระบบประสาท
การทางานของเซลล์ประสาท การทางานของระบบประสาทสั่งการ อวัยวะรับสัมผัส ระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนจากระบบต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สาคัญ การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน ฟีโรโมน กลไก
การเกิดพฤติกรรมของสัตว์ ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับพัฒนาการของ
ระบบประสาท การสื่อสารระหว่างสัตว์ การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ
การอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม
และค่านิยมที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด
ว 1.1 ม.4/1
ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6, ว 8.1
ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1ม.4/12
รวม 13 ตัวชี้วัด
11. แผนการจัดการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
1 1-3 16-23 พ.ค 57 ระบบหายใจ โครงสร้างที่ใช้ในการ
แลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียวของสัตว์และ
โครงสร้างที่ใช้ในการ
แลกเปลี่ยนแก๊สของคน
2 4-6 26-30 พ.ค 57 ระบบขับถ่าย การขับถ่ายของสัตว์และการ
ขับถ่ายของคน
3 7-9 2-6 มิ.ย 57 ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบ
น้าเหลือง และระบบภูมิคุ้มกัน
การลาเลียงสารในร่างกายของ
สัตว์, การลาเลียงสารใน
ร่างกายของคน, ระบบ
น้าเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
4 10-12 9-13 มิ.ย 57 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียว
อะมีบา, ยูกลีนาและพารามี
เซียม
5 13-15 16-20 มิ.ย 57 การเคลื่อนของสัตว์ไม่มีกระดูก
สันหลัง
แมงกะพรุน, หมึก, ดาวทะเล,
ไส้เดือนดินและแมลง
6 16-18 23-30 มิ.ย 57 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูสัน
หลัง
ปลา, นก, เสือชีต้าและคน
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
7 19-21 1-4 ก.ค 57 การรับรู้และการตอบสนอง การตอบสนองของสิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว, การตอบสนองของ
สัตว์ไม่มีกระดูกสังหลังและการ
ตอบสนองของสัตว์มีกระดูกสัน
หลัง
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
8 22-24 7-11 ก.ค 57 เซลล์ประสาท เซลล์ประสาทรับความรู้สึก,
เซลล์ประสาทประสานงาน
และเซลล์ประสาทสั่งการ
9 25-27 14-18 ก.ค 57 การทางานของเซลล์ประสาท การเกิดกระแสประสาทและ
การถ่ายทอดกระแสประสาท
ระหว่างเซลล์ประสาท
10 28-30 21-25 ก.ค 57 ศูนย์ควบคุมระบบประสาท สมองและไขสันหลัง
11 31-33 28-31 ก.ค 57 การทางานของระบบประสาท ระบบประสาทโซมาติกและ
ระบบประสาทอัตโนวัติ
12 34-36 1-8 ส.ค 57 อวัยวะรับความรู้สึก นัยน์ตากับการมองเห็น, หูกับ
การได้ยิน, จมูกกับการดมกลิ่น
, ลิ้นกับการรับรสและผิวหนัง
กับการรับความรู้สึก
บทที่ 4 ระบบต่อไร้ท่อ
13 37-39 11-15 ส.ค 57 ต่อมไร้ท่อ ความหมาย, ลักษณะ
โครงสร้างและการทางาน
14 40-42 18-22 ส.ค 57 ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและ
อวัยวะที่สาคัญ
ต่อมไพเนียล, ต่อมใต้สมอง,
ต่อมไทรอยด์, ต่อมพารา
ไทรอยด์, ตับอ่อน, ต่อมหมวก
ไต, อวัยวะเพศ, รก, ไทมัสและ
กระเพาะอาหารกับลาไส้เล็ก
15 43-45 25-29 ส.ค 57 การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
ด้วยฮอร์โมน
วิธีการควบคุมแบบป้อนกลับ
แบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ แบบ
ยับยั้งและแบบกระตุ้น
16 46-48 1-5 ก.ย 57 ฟีโรโมน ความหมาย, ลักษณะและการ
ทางานในสิ่งมีชีวิต
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
บทที่ 5 พฤติกรรมของสัตว์
17 49-51 8-12 ก.ย 57 กลไกการเกิดพฤติกรรมของ
สัตว์
ขั้นตอนการตอบสนองของ
สิ่งมีชีวิตเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น
18 52-54 15-19 ก.ย 57 ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ พฤติกรรมเป็นมาแต่กาเนิด
และพฤติกรรมการรเรียนรู้
19 55-57 22-26 ก.ย 57 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม
กับพัฒนาการของระบบ
ประสาท
ปลา, สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า,
สัตว์เลื้อยคลาน, สัตว์ปีกและ
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
20 58-60 29-30 ก.ย 57 การสื่อสารระหว่างสัตว์ การสื่อสารด้วยเสียง, การ
สื่อสารด้วยท่าทางและการ
สื่อสารด้วยสารเคมี
12. การวัดผลประเมินผล
อัตราส่วนการเก็บคะแนน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 แบ่งได้ ดังนี้
วิธีการเก็บคะแนน คะแนนเต็ม เครื่องมือวัดและประเมินผล
5. ทดสอบย่อย 20 คะแนน แบบทดสอบเก็บคะแนน
6. สอบกลางภาค 20 คะแนน แบบทดสอบกลางภาค
7. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 40 คะแนน แบบตรวจให้คะแนนชิ้นงาน
8. สอบปลายภาค 20 คะแนน แบบทดสอบปลายภาค
รวมคะแนน 100
13. สื่อการเรียนการสอน/แบบเรียน
13.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
13.2 คู่มือครูสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท.
กระทรวงศึกษาธิการ
14. แหล่งเรียนรู้/แหล่งสืบค้นข้อมูล
14.1 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
14.2 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
14.3 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
หมายเหตุ : โครงการสอนนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
โครงการสอนรายวิชาชีววิทยา 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
1. ชื่อผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
2. ชื่อวิชา ชีววิทยา 4
3. รหัสวิชา ว 33244
4. จานวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต
5. ภาคเรียนที่ 1
6. ปีการศึกษา 2557
7. สถานภาพของวิชา เพิ่มเติม
8. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 โปรแกรมวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
9. จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
10. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม กฎของเมนเดล การผสมเพื่อทดสอบ ลักษณะ
พันธุกรรมที่นอกเหนือกฏของเมนเดล ยีนและโครโมโซม การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม การค้นพบ
สารพันธุกรรม โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ สมบัติของสารพันธุกรรม มิวเทชัน พันธุศาสตร์
และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ พันธุวิศวกรรม การโคลนยีน การวิเคราะห์ดีเอ็นเอและการศึกษาจีโนม การ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของดีเอ็นเอ ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ มุมมองทางสังคมและจริยธรรม
วิวัฒนาการ หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต พันธุ
ศาสตร์ประชากร ปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของอัลลีล กาเนิดของสปีชีส์ การศึกษาความ
หลากหลายทางชีวภาพ กาเนิดชีวิต อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย การ
สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ
การอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม
และค่านิยมที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด
ว 1.2 ม.4/1 , ว 1.2 ม.4/2 , ว 1.2 ม.4/3 , ว 1.2 ม.4/4
ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6 ,
ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12
รวม 16 ตัวชี้วัด
11. แผนการจัดการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
บทที่ 1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
1 1-3 16-23 พ.ค 57 การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมน
เดล
ประวัติความเป็นมาและ
กระบวนการในการศึกษา
2 4-6 26-30 พ.ค 57 กฎของความน่าจะเป็น การคานวณจากอัตราส่วน
จานวนเหตุการณ์ที่เราสนใจต่อ
เหตุการณ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมด
3 7-9 2-6 มิ.ย 57 กฎแห่งการแยกและกฎแห่งการ
รวมกลุ่มอย่างอิสระ
กฎแห่งการแยกและกฎแห่ง
การรวมกลุ่มอย่างอิสระ
4 10-12 9-13 มิ.ย 57 การผสมเพื่อทดสอบ การตรวจสอบว่ารุ่นลูกที่มี
ลักษณะฟีโนไทป์เด่นนั้นเป็น
พันธุ์แท้หรือพันทาง
5 13-15 16-20 มิ.ย 57 ลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็น
ส่วนขยายของพันธุศาสตร์ของ
เมนเดล
การข่มไม่สมบูรณ์, การข่ม
ร่วมกัน, มัลติเปิลแอลลีล, พอลี
ยีน, ยีนบนโครโมโซมเพศ, ยีน
บนโครโมโซมเดียวกัน,
ลักษณะที่อยู่ภายใต้อิทธิพล
ของเพศและลักษณะที่ปรากฎ
จาเพาะเพศ
บทที่ 2 ยีนและโครโมโซม
6 16-18 23-30 มิ.ย 57 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม ลักษณะพันธุกรรมของ
สิ่งมีชีวิตที่ส่งต่อจากรุ่นหนึ่ง
ไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
7 19-21 1-4 ก.ค 57 การค้นพบสารพันธุกรรม ลักษณะโครงสร้างและสมบัติ
ของสารพันธุกรรม DNA/RNA
8 22-24 7-11 ก.ค 57 โครโมโซม รูปร่าง ลักษณะและจานวน
โครโมโซมและส่วนประกอบ
ของโครโมโซม
9 25-27 14-18 ก.ค 57 องค์ประกอบทางเคมีของ DNA
และโครงสร้างของ DNA
กรดยนิวคลีอิกแบ่งออกเป็น 3
ส่วน คือ น้าตาลเพนโทส หมู่
ฟอสเฟสและไนโตรจีนัสเบส
10 28-30 21-25 ก.ค 57 สมบัติของสารพันธุกรรม การสังเคราะห์ DNA, การ
ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม
ของ DNAและ DNA กับการ
สังเคราะห์โปรตีน
11 31-33 28-31 ก.ค 57 มิวเทชั่น การผ่าเหล่าซึ่งแบ่งออกเป็น 2
ระดับ คือ ระดับโครโมโซมและ
ระดับยีน
บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DNA
12 34-36 1-8 ส.ค 57 พันธุวิศวกรรม เอ็นไซม์ตัดจาเพาะ, การ
เชื่อมต่อสาย DNA ด้วย
เอนไซม์ DNA ไลเกสและการ
โคลนยีน
13 37-39 11-15 ส.ค 57 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทาง
DNA
การประยุกต์ใช้ในเชิง
การแพทย์และเภสัชกรรม, เชิง
นิติวิทยาศาสตร์, เชิง
การเกษตรและการใช้พันธุ
ศาสตร์เพื่อศึกษาค้นคว้าหายีน
และหน้าที่ของยีน
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
14 40-42 18-22 ส.ค 57 การวิเคราะห์ DNA และ
การศึกษาจีโนม
การวิเคราะห์ DNAและ
การศึกษาจีโนม
15 43-45 25-29 ส.ค 57 ความปลอดภัยของเทคโนโลยี
ทาง DNA และมุมมองทาง
สังคมและจริยธรรม
ความปลอดภัยของเทคโนโลยี
ทาง DNA และมุมมองทาง
สังคมและจริยธรรม
บทที่ 4 วิวัฒนาการ
16 46-48 1-5 ก.ย 57 หลักฐานที่บ่งบอกถึง
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
ของสิ่งมีชีวิต, หลักฐานจาก
กายวิภาคเปรียบเทียบ,
หลักฐานจากวิทยาเอ็มบริโอ
เปรียบเทียบ, หลักฐานด้าน
ชีววิทยาระดับโมเลกุลและ
หลักฐานทางชีวภูมิศาสตร์
17 49-51 8-12 ก.ย 57 แนววคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
ของสิ่งมีชีวิต
แนววคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
ของลามาร์กและแนวคิด
เกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาร์วิน
18 52-54 15-19 ก.ย 57 พันธุศาสตร์ประชากร การหาความถี่ของแอลลีลใน
ประชากร, กฎของฮาร์ดี-ไวน์
เบิร์กและการประยุกต์ใช้กฎ
ของอาร์ดี-ไวน์เบิร์ก
19 55-57 22-26 ก.ย 57 ปัจจัยที่ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงความถี่แอลลีล
ปัจจัยที่ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงความถี่แอลลีล
20 58-60 29-30 ก.ย 57 กาเนิดของสปีชีส์และ
วิวัฒนาการมนุษย์
ความหมายของสปีชีส์, การ
เกิดสปีชีส์ใหม่, ออสทราพิ
เทคัสและโฮโม
12. การวัดผลประเมินผล
อัตราส่วนการเก็บคะแนน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 แบ่งได้ ดังนี้
วิธีการเก็บคะแนน คะแนนเต็ม เครื่องมือวัดและประเมินผล
9. ทดสอบย่อย 20 คะแนน แบบทดสอบเก็บคะแนน
10. สอบกลางภาค 20 คะแนน แบบทดสอบกลางภาค
11. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 40 คะแนน แบบตรวจให้คะแนนชิ้นงาน
12. สอบปลายภาค 20 คะแนน แบบทดสอบปลายภาค
รวมคะแนน 100
13. สื่อการเรียนการสอน/แบบเรียน
13.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
13.2 คู่มือครูสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท.
กระทรวงศึกษาธิการ
14. แหล่งเรียนรู้/แหล่งสืบค้นข้อมูล
14.1 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
14.2 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
14.3 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
หมายเหตุ : โครงการสอนนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
โครงการสอนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
- รายวิชาชีววิทยา 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
- รายวิชาชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
- รายวิชาชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โครงการสอนรายวิชาชีววิทยา 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
1. ชื่อผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
2. ชื่อวิชา ชีววิทยา 1
3. รหัสวิชา ว 31241
4. จานวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต
5. ภาคเรียนที่ 2
6. ปีการศึกษา 2557
7. สถานภาพของวิชา เพิ่มเติม
8. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 โปรแกรมวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
9. จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
10. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน การย่อยอาหาร
ของจุลินทรีย์ สัตว์ และคน การสลายสารอาหารระดับเซลล์แบบใช้ออกซิเจนและแบบไม่ใช้ออกซิเจน การ
รักษา ดุลยภาพในร่างกาย ระบบหายใจ โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนก๊าซของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
สัตว์ และคน ระบบขับถ่าย การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สัตว์ และคน ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบ
น้าเหลืองกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย การลาเลียงสารในร่างกายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของ
สัตว์ การลาเลียงสารในร่างกายของคน ระบบน้าเหลือง
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถใน
การตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด
ว 1.1 ม.4/1 , ว 1.1 ม.4/3 , ว 1.1 ม.4/4
ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6,
ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1ม.4/12
รวม 15 ตัวชี้วัด
11. แผนการจัดการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
1 1-3 16-23 พ.ค. 57 สิ่งมีชีวิตคืออะไร สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์, สิ่งมีชีวิ
ต้องการสารอาหารและ
พลังงาน, สิ่งมีชีวิตมีการ
เจริญเติบโต มีอายุขัยและ
ขนาดจากัด, สิ่งมีชีวิตมีการ
ตอบสนองสิ่งเร้า, สิ่งมีชีวิตมี
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
, สิ่งมีชีวิตมีลักษณะจาเพาะ
และสิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ
2 4-6 26-30 พ.ค. 57 ชีววิทยาคืออะไร ชีววิทยาคือการศึกษาเรียนรู้
เรื่องราวต่างๆที่มีความ
เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต
3 7-9 2-6 มิ.ย. 57 ชีววิทยากับการดารงชีวิต ชีววิทยาทางการแพทย์,
ชีววิทยาทางการเกษตรและ
ชีววิทยาเชิงอุตสาหกรรม
4 10-12 9-13 มิ.ย. 57 ชีวจริยธรรม การโคลนนิ่ง, พันธุวิศวกรรม,
อาวุธชีวภาพและ
เทคโนโลยีชีวภาพ
5 13-15 16-20 มิ.ย. 57 การศึกษาชีววิทยา การตั้งสมมติฐาน, การ
ตรวจสอบสมมติฐาน, การเก็บ
รวบรวมข้อมูลกับการวิเคราะห์
ข้อมูลและการสรุปผลการ
ทดลอง
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
6 16-18 23-30 มิ.ย. 57 สารอนินทรีย์ น้าและแร่ธาตุ
7 19-21 1-11 ก.ค. 57 สารอินทรีย์ (1) คาร์โบไฮเดรตและโปรตีน
8 22-24 14-18 ก.ค. 57 สารอินทรีย์ (2) ลิพิด, กรดนิวคลิอิกและ
วิตามิน
9 25-27 21-31 ก.ค. 57 ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของ
สิ่งมีชีวิต
เอ็นไซม์และการทางานของ
เอ็นไซม์
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
10 28-30 1-4 ส.ค. 57 เซลล์และทฤษฎีของเซลล์ เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็ก
ที่สุดของสิ่งมีชีวิตซึ่งมี
ความสาคัญอย่างมากต่อ
กระบวนการดารงชีวิต
11 31-33 5-8 ส.ค. 57 โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วย
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (1)
ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์และ
นิวเคลียส
12 34-36 11-15 ส.ค. 57 โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วย
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (2)
ไซโทพลาสซึมที่ปนระกอบด้วย
ไซโทซอลและออร์แกเนลล์
13 37-39 18-22 ส.ค. 57 การสื่อสารระหว่างเซลล์ ช่องทางติดต่อสื่อสารระหว่าง
เซลล์สัตว์และเซลล์พืช
14 40-42 25-29 ส.ค. 57 การเปลี่ยนแปลงสภาพของ
เซลล์และการชราภาพของเซลล์
การเปลี่ยนแปลงสภาพของ
เซลล์และการชราภาพของ
เซลล์
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
15 43-45 1-5 ก.ย. 57 อาหารและการย่อยอาหาร (1) การย่อยอาหารของจุลินทรีย์
และการย่อยอาหารของ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
16 46-48 8-12 ก.ย. 57 อาหารและการย่อยอาหาร (2) การย่อยอาหารของสัตว์และ
การย่อยอาหารของคน
17 49-51 15-18 ก.ย. 57 การสลายสารอาหารระดับเซลล์ การสลายสารอาหารแบบใช้
ออกซิเจนและการสลาย
สารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน
บทที่ 5 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
18 52-54 19-23 ก.ย. 57 การสืบพันธุ์ (1) การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียวและการสืบพันธุ์ของสัตว์
19 55-57 24-26 ก.ย. 57 การสืบพันธุ์ (2) การสืบพันธุ์และการ
เจริญเติบโตของคน
20 58-60 29-30 ก.ย. 57 การเจริญเติบโตของสัตว์ การเจริญเติบโตของกบและ
การเจริญเติบโตของไก่
12. การวัดผลประเมินผล
อัตราส่วนการเก็บคะแนน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 แบ่งได้ ดังนี้
วิธีการเก็บคะแนน คะแนนเต็ม เครื่องมือวัดและประเมินผล
13. ทดสอบย่อย 20 คะแนน แบบทดสอบเก็บคะแนน
14. สอบกลางภาค 20 คะแนน แบบทดสอบกลางภาค
15. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 40 คะแนน แบบตรวจให้คะแนนชิ้นงาน
16. สอบปลายภาค 20 คะแนน แบบทดสอบปลายภาค
รวมคะแนน 100
13. สื่อการเรียนการสอน/แบบเรียน
13.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
13.2 คู่มือครูสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้แต่ง สสวท.
กระทรวงศึกษาธิการ
14. แหล่งเรียนรู้/แหล่งสืบค้นข้อมูล
14.1 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
14.2 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
14.3 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
หมายเหตุ : โครงการสอนนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
โครงการสอนรายวิชาชีววิทยา 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
15. ชื่อผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
16. ชื่อวิชา ชีววิทยา 3
17. รหัสวิชา ว 32243
18. จานวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต
19. ภาคเรียนที่ 2
20. ปีการศึกษา 2557
21. สถานภาพของวิชา เพิ่มเติม
22. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 โปรแกรมวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
23. จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
24. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก การคายน้าและระบบลาเลียงในพืช
กระบวน การสังเคราะห์ด้วยแสง โฟโตเรสไพเรชัน กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ใน
พืช C4 และ CAM ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอก การ
วัดการเจริญเติบโตของพืช สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช และการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ
การอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด
ว 1.1 ม.4/1 , ว 1.1 ม.4/2
ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6,
ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1ม.4/12
รวม 14 ตัวชี้วัด
25. แผนการจัดการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
บทที่ 1 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
1 1-3 16-23 พ.ค 57 เนื้อเยื่อพืช เนื้อเยื่อเจริญและเนื้อเยื่อถาวร
2 4-6 26-30 พ.ค 57 อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะ
ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของราก,
โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
และโครงสร้างและหน้าที่ของ
ใบ
3 7-9 2-6 มิ.ย 57 การแลกเปลี่ยนแก๊สและการ
คายน้าของพืช
กระบวนการการแลกเปลี่ยน
แก๊สและการคายน้าของพืชจะ
เกิดขึ้นที่ใบเป็นสาคัญ
4 10-12 9-13 มิ.ย 57 การลาลียงน้าของพืช การลาลียงน้าของพืชจะเกิดขึ้น
อย่างต่อเนื่องภายในท่อไซเล็ม
5 13-15 16-20 มิ.ย 57 การลาเลียงสารอาหารของพืช การลาเลียงสารอาหารของพืช
จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องภายใน
ท่อไซเล็ม
6 16-18 23-30 มิ.ย 57 การลาเลียงอาหารของพืช การลาเลียงอาหารของพืชจะ
เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องภายในท่อ
โฟลเอ็ม
บทที่ 2 การสังเคราะห์ด้วยแสง
7 19-21 1-4 ก.ค 57 การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการ
สังเคราะห์ด้วยแสงจากอดีต
จนถึงปัจจุบัน
8 22-24 7-11 ก.ค 57 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
(1)
โครงสร้างของคลอโรพลาสต์
และสารสีในปฏิกิริยาแสง
9 25-27 14-18 ก.ค 57 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
(2)
ปฏิกิริยาแสงและการตรึง
คาร์บอนไดออกไซด์
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
10 28-30 21-25 ก.ค 57 โฟโตเรสไพเรชัน กระบวนการหายใจด้วยแสง
ของพืช
11 31-33 28-31 ก.ค 57 กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ
คาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C4
โครงสร้างของใบพืช C3 และ
ใบพืช C4 และวัฏจักรคาร์บอน
ของพืช C4
12 34-36 1-8 ส.ค 57 กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ
คาร์บอนไดออกไซด์ในพืช CAM
โครงสร้างของใบพืช CAM
และวัฏจักรคาร์บอนของพืช
CAM
13 37-39 11-15 ส.ค 57 ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อ
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
แสงและความเข้มของแสง,
คาร์บอนไดออกไซด์, อุณหภูมิ,
อายุใบ, ปริมาณน้าที่พืชได้รับ
และสารอาหาร
14 40-42 18-22 ส.ค 57 การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง การปรับตัวโครงสร้างของใบ
เพื่อรับแสง, การปรับทิศทาง
ของใบเพื่อรับแสงและการ
ปรับตัวโดยการจัดเรียงใบเพื่อ
แข่งขัน
บทที่ 3 การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต
15 43-45 25-29 ส.ค 57 วัฏจักรชีวิตและการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของพืชดอก (1)
โครงสร้างของดอกและการ
สร้างสปอร์กับเรณู ถุง
เอ็มบริโอ การสร้างเซลล์
สืบพันธุ์และการปฏิสนธิ
16 46-48 1-5 ก.ย 57 วัฏจักรชีวิตและการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของพืชดอก (2)
ผลและเมล็ดกับการงอกของ
เมล็ด
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
17 49-51 8-12 ก.ย 57 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
ของพืชดอกและการขยายพันธุ์
พืช
การตอนกิ่ง การติดตา การต่อ
กิ่ง การปักชาและการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
18 52-54 15-19 ก.ย 57 การวัดการเจริญเติบโตของพืช การวัดการเจริญเติบโตของพืช
เช่น การวัดความสูง การชั่ง
น้าหนัก การนับจานวนใบ
บทที่ 4 การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช
19 55-57 22-26 ก.ย 57 สารควบคุมการเจริญเติบโตของ
พืช
ออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอ
เรลลิน กรดแอบไซซิกและแก๊ส
เอทิลีน
20 58-60 29-30 ก.ย 57 การตอบสนองของพืชต่อ
สิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อ
สิ่งแวดล้อมแบบไม่มีทิศทาง
และการตอบสนองของพืชต่อ
สิ่งแวดล้อมแบบมีทิศทาง
26. การวัดผลประเมินผล
อัตราส่วนการเก็บคะแนน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 แบ่งได้ ดังนี้
วิธีการเก็บคะแนน คะแนนเต็ม เครื่องมือวัดและประเมินผล
17. ทดสอบย่อย 20 คะแนน แบบทดสอบเก็บคะแนน
18. สอบกลางภาค 20 คะแนน แบบทดสอบกลางภาค
19. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 40 คะแนน แบบตรวจให้คะแนนชิ้นงาน
20. สอบปลายภาค 20 คะแนน แบบทดสอบปลายภาค
รวมคะแนน 100
27. สื่อการเรียนการสอน/แบบเรียน
27.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
27.2 คู่มือครูสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท.
กระทรวงศึกษาธิการ
28. แหล่งเรียนรู้/แหล่งสืบค้นข้อมูล
28.1 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
28.2 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
28.3 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
หมายเหตุ : โครงการสอนนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
โครงการสอนรายวิชาชีววิทยา 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
15. ชื่อผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
16. ชื่อวิชา ชีววิทยา 5
17. รหัสวิชา ว 33245
18. จานวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต
19. ภาคเรียนที่ 2
20. ปีการศึกษา 2557
21. สถานภาพของวิชา เพิ่มเติม
22. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 โปรแกรมวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
23. จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
24. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับระบบนิเวศ ไบโอม ความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ใน
ระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ
ระบบนิเวศ ความหนาแน่น การแพร่กระจายและขนาดของประชากร รูปแบบการเพิ่มประชากร การ
รอดชีวิตของประชากร ประชากรนุษย์ ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาและการจัดการ หลักการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่
ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิต
วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด
ว 2.1 ม.4-6/1 ,ว 2.1 ม.4-6/2 ,ว 2.1 ม.4-6/3 ว 2.2 ม.4-6/1 ,ว 2.2 ม.4-6/2 ,ว 2.2 ม.4-6/3
ว 8.1 ม.4/1 ,ว 8.1 ม.4/2 ,ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6,
ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12
รวม 18 ตัวชี้วัด
25. แผนการจัดการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
บทที่ 1 ความหลากหลายทางชีวภาพ
1 1-3 16-23 พ.ค 57 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ
แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ
ความหลากหลายทางระบบ
นิเวศ ความหลากหลายทางสปี
ชีสและความหลากหลายทาง
พันธุกรรม
2 4-6 26-30 พ.ค 57 การศึกษาความหลากหลายของ
สิ่งมีชีวิต (1)
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
3 7-9 2-6 มิ.ย 57 การศึกษาความหลากหลายของ
สิ่งมีชีวิต (2)
ชื่อของสิ่งมีชีวิตและการระบุ
ชนิด
4 10-12 9-13 มิ.ย 57 กาเนิดสิ่งมีชีวิต กาเนิดของเซลล์โพรคาริโอต
และกาเนิดของเซลล์ยูคาริโอต
5 13-15 16-20 มิ.ย 57 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต (1) อาณาจักรมอเนอราและ
อาณาจักรโพรทิสตา
6 16-18 23-30 มิ.ย 57 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต (2) อาณาจักรฟังไจและอาณาจักร
พืช
7 19-21 1-4 ก.ค 57 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต (3) อาณาจักรสัตว์
8 22-24 7-11 ก.ค 57 ความหลากหลายทางชีวภาพใน
ประเทศไทย
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ในประเทศไทย
9 25-27 14-18 ก.ค 57 การสูญเสียความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
การสูญเสียความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
บทที่ 2 ประชากร
10 28-30 21-25 ก.ค 57 ความหนาแน่นและการ
แพร่กระจายของประชากร
ความหนาแน่นและการ
แพร่กระจายของประชากร
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
11 31-33 28-31 ก.ค 57 ขนาดของประชากร ขนาดของประชากรสามารถหา
ได้ 2 วิธี คือ วิธีการนับโดยตรง
กับวิธีการประมาณโดยสุ่ม
12 34-36 1-8 ส.ค 57 รูปแบบการเพิ่มของประชากร การเพิ่มของประชากรแบบเอ็ก
โพแนนเชียลและการเพิ่มของ
ประชากรแบบลอจิสติก
13 37-39 11-15 ส.ค 57 การรอดชีวิตของประชากร กราฟการรอดชีวิตของ
ประชากร แบ่งออกเป็น 3
รูปแบบ คือ แบบโค้งขึ้น แบบ
เส้นตรงและแบบโค้งลง
14 40-42 18-22 ส.ค 57 ประชากรมนุษย์ การเติบโตของประชากรมนุษย์
และโครงสร้างอายุประชากร
มนุษย์
บทที่ 3 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
15 43-45 25-29 ส.ค 57 ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้
ประโยชน์ ปัญหาและการ
จัดการ (1)
ทรัพยากรน้าและทรัพยากรดิน
16 46-48 1-5 ก.ย 57 ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้
ประโยชน์ ปัญหาและการ
จัดการ (2)
ทรัพยากรอากาศ
17 49-51 8-12 ก.ย 57 ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้
ประโยชน์ ปัญหาและการ
จัดการ (3)
ทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากร
สัตว์ป่า
18 52-54 15-19 ก.ย 57 หลักการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ (1)
ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติใน
ปัจจุบัน
สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
วัน เดือน ปี
ที่สอน
เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้
19 55-57 22-26 ก.ย 57 หลักการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ (2)
แนวทางและวิธีการในการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
20 58-60 29-30 ก.ย 57 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบ
ต่อสภาพแวดล้อม
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นแบ่งออกเป็น
2 ประเภท คือ ชนิดพันธุ์ต่าง
ถิ่นแบบไม่รุกรานและชนิด
พันธุ์ต่างถิ่นแบบรุกราน
26. การวัดผลประเมินผล
อัตราส่วนการเก็บคะแนน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 แบ่งได้ ดังนี้
วิธีการเก็บคะแนน คะแนนเต็ม เครื่องมือวัดและประเมินผล
21. ทดสอบย่อย 20 คะแนน แบบทดสอบเก็บคะแนน
22. สอบกลางภาค 20 คะแนน แบบทดสอบกลางภาค
23. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 40 คะแนน แบบตรวจให้คะแนนชิ้นงาน
24. สอบปลายภาค 20 คะแนน แบบทดสอบปลายภาค
รวมคะแนน 100
27. สื่อการเรียนการสอน/แบบเรียน
27.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
27.2 คู่มือครูสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท.
กระทรวงศึกษาธิการ
28. แหล่งเรียนรู้/แหล่งสืบค้นข้อมูล
28.1 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
28.2 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
28.3 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
หมายเหตุ : โครงการสอนนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

More Related Content

What's hot

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการSumalee Khvamsuk
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16Bios Logos
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayWichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 

Viewers also liked

เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงWichai Likitponrak
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st centuryToolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
สืบดอก
สืบดอกสืบดอก
สืบดอก
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสง
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืช
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 

Similar to รวมเล่มโครงการสอน

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร
7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร
7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหารWichai Likitponrak
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)Joie Petit
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืชWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้BiogangWichai Likitponrak
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6supphawan
 
5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60kroodarunee samerpak
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 

Similar to รวมเล่มโครงการสอน (20)

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร
7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร
7ติวข้อสอบสสวทอวัยวะและอาหาร
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
Des sciencebiology
Des sciencebiologyDes sciencebiology
Des sciencebiology
 
ป.4
ป.4ป.4
ป.4
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช
 
วิทยาศาสตร์ ต้น
วิทยาศาสตร์  ต้นวิทยาศาสตร์  ต้น
วิทยาศาสตร์ ต้น
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
 
5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

รวมเล่มโครงการสอน

  • 1. รวมเล่มโครงการสอนภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557 รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชาชีววิทยา 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชาชีววิทยา 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รายวิชาชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รายวิชาชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชาชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. โครงการสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 - รายวิชาวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - รายวิชาชีววิทยา 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 - รายวิชาชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
  • 3. โครงการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 1. ชื่อผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 2. ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) 3. รหัสวิชา ว 31104 4. จานวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 5. ภาคเรียนที่ 1 6. ปีการศึกษา 2557 7. สถานภาพของวิชา พื้นฐาน 8. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ทุกโปรแกรม 9. จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ 10. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับไบโอม ความหลายหลากของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ การ ถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ มนุษย์กับ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงสร้างของเซลล์ กล้องจุลทรรศน์ การลาเลียงสารผ่านเซลล์ กลไก การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ภูมิคุ้มกันของร่างกาย ลักษณะทางพันธุกรรม โครโมโซม และสาร พันธุกรรม การแบ่งเซลล์ โครโมโซมกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 1.1 ม.4/1 , ว 1.1 ม.4/2 , ว 1.1 ม.4/3 , ว 1.1 ม.4/4 ว 1.2 ม.4/1 , ว 1.2 ม.4/2 , ว 1.2 ม.4/3 , ว 1.2 ม.4/4 ว 2.1 ม.4/1 , ว 2.1 ม.4/2 , ว 2.1 ม.4/3 ว 2.2 ม.4/1 , ว 2.2 ม.4/2 , ว 2.2 ม.4/3 ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6 ,
  • 4. ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12 รวม 26 ตัวชี้วัด 11. แผนการจัดการเรียนการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 1 1-3 16-23 พ.ค. 57 ไบโอม ไบโอมบนบกและไบโอมในน้า 2 4-6 26-30 พ.ค. 57 ความหลากหลายของระบบ นิเวศ การศึกษาระบบนิเวศและ ระบบนิเวศแบบต่างๆ 3 7-9 2-6 มิ.ย. 57 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต กับปัจจัยทางกายภาพและ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต กับปัจจัยทางชีวภาพ 4 10-12 9-13 มิ.ย. 57 การถ่ายทอดพลังงานและการ หมุนเวียนสารในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานใน สิ่งมีชีวิตและวัฏจักรสารใน ระบบนิเวศ 5 13-15 16-20 มิ.ย. 57 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ ระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบ ปฐมภูมิและการเปลี่ยนแปลง แทนที่แบบทุติยภูมิ 6 16-18 23-30 มิ.ย. 57 มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ประเภทของ ทรัพยากรธรรมชาติ, ภาวะโลก ร้อนและการทาลายโอโซนใน บรรยากาศ บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต 7 19-21 1-11 ก.ค. 57 โครงสร้างของเซลล์ ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์, ไซโทพลา ซึมและนิวเคลียส 8 22-24 14-18 ก.ค. 57 กล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
  • 5. สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ 9 25-27 21-31 ก.ค. 57 การลาเลียงสารผ่านเซลล์ การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้ม เซลล์และการลาเลียงสารโดย การสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์ 10-11 28-33 1-8 ส.ค. 57 กลไกการรักษาดุลยภาพของ สิ่งมีชีวิต การรักษาดุลยภาพของน้าใน พืช, การรักษาดุลยภาพของน้า และสารต่างๆในร่างกาย, การ รักษาดุลยภาพของกรด-เบสใน ร่างกาย, การรักษาดุลยภาพ ของน้าและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิต อื่นๆและการรักษาดุลยภาพ ของอุณหภูมิภายในร่างกาย 12 34-36 11-15 ส.ค. 57 ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การป้องกันทาลายเชื้อโรคและ สิ่งแปลกปลอมกับความ ผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน บทที่ 3 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ 13 37-39 18-22 ส.ค. 57 ลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะพันธุกรรมแบบแปรผัน ไม่ต่อเนื่องและลักษณะทาง พันธุกรรมแบบแปรผันต่อเนื่อง 14 40-42 25-29 ส.ค. 57 โครงโมโซมและสารพันธุกรรม สารพันธุกรรม DNA/RNA, โครมาทิน, โครมาทิดและ โครโมโซม 15 43-45 1-5 ก.ย. 57 การแบ่งเซลล์ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและ การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส 16 46-48 8-12 ก.ย. 57 โครโมโซมกับการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม ยีนที่ควบคุมลักษณะทาง พันธุกรรมจะอยู่เป็นคู่บนโฮ โมโลกัสโครโมโซม
  • 6. สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ 17 49-51 15-18 ก.ย. 57 การถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม กฏการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมของเมนเดล 2 ข้อ คือกฏการแยกตัวของคู่ยีนและ กฏการรวมกลุ่มยีนอย่างอิสระ 18 52-54 19-23 ก.ย. 57 การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม มิวเทชัน, การคัดเลือกโดย ธรรมชาติและการคัดเลือก พันธุ์และปรับปรุงพันธุ์โดย มนุษย์ 19 55-57 24-26 ก.ย. 57 เทคโนโลยีชีวภาพ พันธุวิศวกรรม, การโคลนและ ลายพิมพ์ DNA 20 58-60 29-30 ก.ย. 57 ความหลากหลายทางชีวภาพ สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิตและความ หลากหลายของสิ่งมีชีวิต 12. การวัดผลประเมินผล อัตราส่วนการเก็บคะแนน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 แบ่งได้ ดังนี้ วิธีการเก็บคะแนน คะแนนเต็ม เครื่องมือวัดและประเมินผล 1. ทดสอบย่อย 20 คะแนน แบบทดสอบเก็บคะแนน 2. สอบกลางภาค 20 คะแนน แบบทดสอบกลางภาค 3. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 40 คะแนน แบบตรวจให้คะแนนชิ้นงาน 4. สอบปลายภาค 20 คะแนน แบบทดสอบปลายภาค รวมคะแนน 100 13. สื่อการเรียนการสอน/แบบเรียน 13.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 13.2 คู่มือครู วิทยาศาสตร์ : ชีววิทยาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
  • 7. 14. แหล่งเรียนรู้/แหล่งสืบค้นข้อมูล 14.1 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 14.2 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 14.3 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ หมายเหตุ : โครงการสอนนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
  • 8. โครงการสอนรายวิชาชีววิทยา 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 1. ชื่อผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 2. ชื่อวิชา ชีววิทยา 2 3. รหัสวิชา ว 32242 4. จานวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 5. ภาคเรียนที่ 1 6. ปีการศึกษา 2557 7. สถานภาพของวิชา เพิ่มเติม 8. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 โปรแกรมวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 9. จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ 10. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง และสัตว์มีกระดูก สันหลัง การรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด โครงสร้างของระบบประสาท การทางานของเซลล์ประสาท การทางานของระบบประสาทสั่งการ อวัยวะรับสัมผัส ระบบต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมนจากระบบต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สาคัญ การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน ฟีโรโมน กลไก การเกิดพฤติกรรมของสัตว์ ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับพัฒนาการของ ระบบประสาท การสื่อสารระหว่างสัตว์ การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ การอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 1.1 ม.4/1 ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6, ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1ม.4/12 รวม 13 ตัวชี้วัด
  • 9. 11. แผนการจัดการเรียนการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย 1 1-3 16-23 พ.ค 57 ระบบหายใจ โครงสร้างที่ใช้ในการ แลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียวของสัตว์และ โครงสร้างที่ใช้ในการ แลกเปลี่ยนแก๊สของคน 2 4-6 26-30 พ.ค 57 ระบบขับถ่าย การขับถ่ายของสัตว์และการ ขับถ่ายของคน 3 7-9 2-6 มิ.ย 57 ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบ น้าเหลือง และระบบภูมิคุ้มกัน การลาเลียงสารในร่างกายของ สัตว์, การลาเลียงสารใน ร่างกายของคน, ระบบ น้าเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 4 10-12 9-13 มิ.ย 57 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียว อะมีบา, ยูกลีนาและพารามี เซียม 5 13-15 16-20 มิ.ย 57 การเคลื่อนของสัตว์ไม่มีกระดูก สันหลัง แมงกะพรุน, หมึก, ดาวทะเล, ไส้เดือนดินและแมลง 6 16-18 23-30 มิ.ย 57 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูสัน หลัง ปลา, นก, เสือชีต้าและคน บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก 7 19-21 1-4 ก.ค 57 การรับรู้และการตอบสนอง การตอบสนองของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว, การตอบสนองของ สัตว์ไม่มีกระดูกสังหลังและการ ตอบสนองของสัตว์มีกระดูกสัน หลัง
  • 10. สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ 8 22-24 7-11 ก.ค 57 เซลล์ประสาท เซลล์ประสาทรับความรู้สึก, เซลล์ประสาทประสานงาน และเซลล์ประสาทสั่งการ 9 25-27 14-18 ก.ค 57 การทางานของเซลล์ประสาท การเกิดกระแสประสาทและ การถ่ายทอดกระแสประสาท ระหว่างเซลล์ประสาท 10 28-30 21-25 ก.ค 57 ศูนย์ควบคุมระบบประสาท สมองและไขสันหลัง 11 31-33 28-31 ก.ค 57 การทางานของระบบประสาท ระบบประสาทโซมาติกและ ระบบประสาทอัตโนวัติ 12 34-36 1-8 ส.ค 57 อวัยวะรับความรู้สึก นัยน์ตากับการมองเห็น, หูกับ การได้ยิน, จมูกกับการดมกลิ่น , ลิ้นกับการรับรสและผิวหนัง กับการรับความรู้สึก บทที่ 4 ระบบต่อไร้ท่อ 13 37-39 11-15 ส.ค 57 ต่อมไร้ท่อ ความหมาย, ลักษณะ โครงสร้างและการทางาน 14 40-42 18-22 ส.ค 57 ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและ อวัยวะที่สาคัญ ต่อมไพเนียล, ต่อมใต้สมอง, ต่อมไทรอยด์, ต่อมพารา ไทรอยด์, ตับอ่อน, ต่อมหมวก ไต, อวัยวะเพศ, รก, ไทมัสและ กระเพาะอาหารกับลาไส้เล็ก 15 43-45 25-29 ส.ค 57 การรักษาดุลยภาพของร่างกาย ด้วยฮอร์โมน วิธีการควบคุมแบบป้อนกลับ แบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ แบบ ยับยั้งและแบบกระตุ้น 16 46-48 1-5 ก.ย 57 ฟีโรโมน ความหมาย, ลักษณะและการ ทางานในสิ่งมีชีวิต
  • 11. สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ บทที่ 5 พฤติกรรมของสัตว์ 17 49-51 8-12 ก.ย 57 กลไกการเกิดพฤติกรรมของ สัตว์ ขั้นตอนการตอบสนองของ สิ่งมีชีวิตเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น 18 52-54 15-19 ก.ย 57 ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ พฤติกรรมเป็นมาแต่กาเนิด และพฤติกรรมการรเรียนรู้ 19 55-57 22-26 ก.ย 57 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม กับพัฒนาการของระบบ ประสาท ปลา, สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า, สัตว์เลื้อยคลาน, สัตว์ปีกและ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 20 58-60 29-30 ก.ย 57 การสื่อสารระหว่างสัตว์ การสื่อสารด้วยเสียง, การ สื่อสารด้วยท่าทางและการ สื่อสารด้วยสารเคมี 12. การวัดผลประเมินผล อัตราส่วนการเก็บคะแนน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 แบ่งได้ ดังนี้ วิธีการเก็บคะแนน คะแนนเต็ม เครื่องมือวัดและประเมินผล 5. ทดสอบย่อย 20 คะแนน แบบทดสอบเก็บคะแนน 6. สอบกลางภาค 20 คะแนน แบบทดสอบกลางภาค 7. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 40 คะแนน แบบตรวจให้คะแนนชิ้นงาน 8. สอบปลายภาค 20 คะแนน แบบทดสอบปลายภาค รวมคะแนน 100 13. สื่อการเรียนการสอน/แบบเรียน 13.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 13.2 คู่มือครูสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
  • 12. 14. แหล่งเรียนรู้/แหล่งสืบค้นข้อมูล 14.1 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 14.2 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 14.3 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ หมายเหตุ : โครงการสอนนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
  • 13. โครงการสอนรายวิชาชีววิทยา 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 1. ชื่อผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 2. ชื่อวิชา ชีววิทยา 4 3. รหัสวิชา ว 33244 4. จานวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 5. ภาคเรียนที่ 1 6. ปีการศึกษา 2557 7. สถานภาพของวิชา เพิ่มเติม 8. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 โปรแกรมวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 9. จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ 10. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม กฎของเมนเดล การผสมเพื่อทดสอบ ลักษณะ พันธุกรรมที่นอกเหนือกฏของเมนเดล ยีนและโครโมโซม การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม การค้นพบ สารพันธุกรรม โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ สมบัติของสารพันธุกรรม มิวเทชัน พันธุศาสตร์ และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ พันธุวิศวกรรม การโคลนยีน การวิเคราะห์ดีเอ็นเอและการศึกษาจีโนม การ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของดีเอ็นเอ ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ มุมมองทางสังคมและจริยธรรม วิวัฒนาการ หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต พันธุ ศาสตร์ประชากร ปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของอัลลีล กาเนิดของสปีชีส์ การศึกษาความ หลากหลายทางชีวภาพ กาเนิดชีวิต อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย การ สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ การอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 1.2 ม.4/1 , ว 1.2 ม.4/2 , ว 1.2 ม.4/3 , ว 1.2 ม.4/4 ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6 ,
  • 14. ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12 รวม 16 ตัวชี้วัด 11. แผนการจัดการเรียนการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ บทที่ 1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม 1 1-3 16-23 พ.ค 57 การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมน เดล ประวัติความเป็นมาและ กระบวนการในการศึกษา 2 4-6 26-30 พ.ค 57 กฎของความน่าจะเป็น การคานวณจากอัตราส่วน จานวนเหตุการณ์ที่เราสนใจต่อ เหตุการณ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมด 3 7-9 2-6 มิ.ย 57 กฎแห่งการแยกและกฎแห่งการ รวมกลุ่มอย่างอิสระ กฎแห่งการแยกและกฎแห่ง การรวมกลุ่มอย่างอิสระ 4 10-12 9-13 มิ.ย 57 การผสมเพื่อทดสอบ การตรวจสอบว่ารุ่นลูกที่มี ลักษณะฟีโนไทป์เด่นนั้นเป็น พันธุ์แท้หรือพันทาง 5 13-15 16-20 มิ.ย 57 ลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็น ส่วนขยายของพันธุศาสตร์ของ เมนเดล การข่มไม่สมบูรณ์, การข่ม ร่วมกัน, มัลติเปิลแอลลีล, พอลี ยีน, ยีนบนโครโมโซมเพศ, ยีน บนโครโมโซมเดียวกัน, ลักษณะที่อยู่ภายใต้อิทธิพล ของเพศและลักษณะที่ปรากฎ จาเพาะเพศ บทที่ 2 ยีนและโครโมโซม 6 16-18 23-30 มิ.ย 57 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม ลักษณะพันธุกรรมของ สิ่งมีชีวิตที่ส่งต่อจากรุ่นหนึ่ง ไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง
  • 15. สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ 7 19-21 1-4 ก.ค 57 การค้นพบสารพันธุกรรม ลักษณะโครงสร้างและสมบัติ ของสารพันธุกรรม DNA/RNA 8 22-24 7-11 ก.ค 57 โครโมโซม รูปร่าง ลักษณะและจานวน โครโมโซมและส่วนประกอบ ของโครโมโซม 9 25-27 14-18 ก.ค 57 องค์ประกอบทางเคมีของ DNA และโครงสร้างของ DNA กรดยนิวคลีอิกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ น้าตาลเพนโทส หมู่ ฟอสเฟสและไนโตรจีนัสเบส 10 28-30 21-25 ก.ค 57 สมบัติของสารพันธุกรรม การสังเคราะห์ DNA, การ ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม ของ DNAและ DNA กับการ สังเคราะห์โปรตีน 11 31-33 28-31 ก.ค 57 มิวเทชั่น การผ่าเหล่าซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับโครโมโซมและ ระดับยีน บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DNA 12 34-36 1-8 ส.ค 57 พันธุวิศวกรรม เอ็นไซม์ตัดจาเพาะ, การ เชื่อมต่อสาย DNA ด้วย เอนไซม์ DNA ไลเกสและการ โคลนยีน 13 37-39 11-15 ส.ค 57 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทาง DNA การประยุกต์ใช้ในเชิง การแพทย์และเภสัชกรรม, เชิง นิติวิทยาศาสตร์, เชิง การเกษตรและการใช้พันธุ ศาสตร์เพื่อศึกษาค้นคว้าหายีน และหน้าที่ของยีน
  • 16. สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ 14 40-42 18-22 ส.ค 57 การวิเคราะห์ DNA และ การศึกษาจีโนม การวิเคราะห์ DNAและ การศึกษาจีโนม 15 43-45 25-29 ส.ค 57 ความปลอดภัยของเทคโนโลยี ทาง DNA และมุมมองทาง สังคมและจริยธรรม ความปลอดภัยของเทคโนโลยี ทาง DNA และมุมมองทาง สังคมและจริยธรรม บทที่ 4 วิวัฒนาการ 16 46-48 1-5 ก.ย 57 หลักฐานที่บ่งบอกถึง วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ ของสิ่งมีชีวิต, หลักฐานจาก กายวิภาคเปรียบเทียบ, หลักฐานจากวิทยาเอ็มบริโอ เปรียบเทียบ, หลักฐานด้าน ชีววิทยาระดับโมเลกุลและ หลักฐานทางชีวภูมิศาสตร์ 17 49-51 8-12 ก.ย 57 แนววคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิต แนววคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ของลามาร์กและแนวคิด เกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาร์วิน 18 52-54 15-19 ก.ย 57 พันธุศาสตร์ประชากร การหาความถี่ของแอลลีลใน ประชากร, กฎของฮาร์ดี-ไวน์ เบิร์กและการประยุกต์ใช้กฎ ของอาร์ดี-ไวน์เบิร์ก 19 55-57 22-26 ก.ย 57 ปัจจัยที่ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงความถี่แอลลีล ปัจจัยที่ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงความถี่แอลลีล 20 58-60 29-30 ก.ย 57 กาเนิดของสปีชีส์และ วิวัฒนาการมนุษย์ ความหมายของสปีชีส์, การ เกิดสปีชีส์ใหม่, ออสทราพิ เทคัสและโฮโม
  • 17. 12. การวัดผลประเมินผล อัตราส่วนการเก็บคะแนน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 แบ่งได้ ดังนี้ วิธีการเก็บคะแนน คะแนนเต็ม เครื่องมือวัดและประเมินผล 9. ทดสอบย่อย 20 คะแนน แบบทดสอบเก็บคะแนน 10. สอบกลางภาค 20 คะแนน แบบทดสอบกลางภาค 11. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 40 คะแนน แบบตรวจให้คะแนนชิ้นงาน 12. สอบปลายภาค 20 คะแนน แบบทดสอบปลายภาค รวมคะแนน 100 13. สื่อการเรียนการสอน/แบบเรียน 13.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 13.2 คู่มือครูสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 14. แหล่งเรียนรู้/แหล่งสืบค้นข้อมูล 14.1 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 14.2 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 14.3 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ หมายเหตุ : โครงการสอนนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
  • 18. โครงการสอนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 - รายวิชาชีววิทยา 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - รายวิชาชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 - รายวิชาชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
  • 19. โครงการสอนรายวิชาชีววิทยา 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 1. ชื่อผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 2. ชื่อวิชา ชีววิทยา 1 3. รหัสวิชา ว 31241 4. จานวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 5. ภาคเรียนที่ 2 6. ปีการศึกษา 2557 7. สถานภาพของวิชา เพิ่มเติม 8. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 โปรแกรมวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 9. จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ 10. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน การย่อยอาหาร ของจุลินทรีย์ สัตว์ และคน การสลายสารอาหารระดับเซลล์แบบใช้ออกซิเจนและแบบไม่ใช้ออกซิเจน การ รักษา ดุลยภาพในร่างกาย ระบบหายใจ โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนก๊าซของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สัตว์ และคน ระบบขับถ่าย การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สัตว์ และคน ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบ น้าเหลืองกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย การลาเลียงสารในร่างกายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของ สัตว์ การลาเลียงสารในร่างกายของคน ระบบน้าเหลือง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถใน การตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 1.1 ม.4/1 , ว 1.1 ม.4/3 , ว 1.1 ม.4/4 ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6, ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1ม.4/12 รวม 15 ตัวชี้วัด
  • 20. 11. แผนการจัดการเรียนการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 1 1-3 16-23 พ.ค. 57 สิ่งมีชีวิตคืออะไร สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์, สิ่งมีชีวิ ต้องการสารอาหารและ พลังงาน, สิ่งมีชีวิตมีการ เจริญเติบโต มีอายุขัยและ ขนาดจากัด, สิ่งมีชีวิตมีการ ตอบสนองสิ่งเร้า, สิ่งมีชีวิตมี การรักษาดุลยภาพของร่างกาย , สิ่งมีชีวิตมีลักษณะจาเพาะ และสิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ 2 4-6 26-30 พ.ค. 57 ชีววิทยาคืออะไร ชีววิทยาคือการศึกษาเรียนรู้ เรื่องราวต่างๆที่มีความ เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต 3 7-9 2-6 มิ.ย. 57 ชีววิทยากับการดารงชีวิต ชีววิทยาทางการแพทย์, ชีววิทยาทางการเกษตรและ ชีววิทยาเชิงอุตสาหกรรม 4 10-12 9-13 มิ.ย. 57 ชีวจริยธรรม การโคลนนิ่ง, พันธุวิศวกรรม, อาวุธชีวภาพและ เทคโนโลยีชีวภาพ 5 13-15 16-20 มิ.ย. 57 การศึกษาชีววิทยา การตั้งสมมติฐาน, การ ตรวจสอบสมมติฐาน, การเก็บ รวบรวมข้อมูลกับการวิเคราะห์ ข้อมูลและการสรุปผลการ ทดลอง
  • 21. สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต 6 16-18 23-30 มิ.ย. 57 สารอนินทรีย์ น้าและแร่ธาตุ 7 19-21 1-11 ก.ค. 57 สารอินทรีย์ (1) คาร์โบไฮเดรตและโปรตีน 8 22-24 14-18 ก.ค. 57 สารอินทรีย์ (2) ลิพิด, กรดนิวคลิอิกและ วิตามิน 9 25-27 21-31 ก.ค. 57 ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของ สิ่งมีชีวิต เอ็นไซม์และการทางานของ เอ็นไซม์ บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต 10 28-30 1-4 ส.ค. 57 เซลล์และทฤษฎีของเซลล์ เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็ก ที่สุดของสิ่งมีชีวิตซึ่งมี ความสาคัญอย่างมากต่อ กระบวนการดารงชีวิต 11 31-33 5-8 ส.ค. 57 โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วย กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (1) ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์และ นิวเคลียส 12 34-36 11-15 ส.ค. 57 โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วย กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (2) ไซโทพลาสซึมที่ปนระกอบด้วย ไซโทซอลและออร์แกเนลล์ 13 37-39 18-22 ส.ค. 57 การสื่อสารระหว่างเซลล์ ช่องทางติดต่อสื่อสารระหว่าง เซลล์สัตว์และเซลล์พืช 14 40-42 25-29 ส.ค. 57 การเปลี่ยนแปลงสภาพของ เซลล์และการชราภาพของเซลล์ การเปลี่ยนแปลงสภาพของ เซลล์และการชราภาพของ เซลล์ บทที่ 4 ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 15 43-45 1-5 ก.ย. 57 อาหารและการย่อยอาหาร (1) การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ และการย่อยอาหารของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
  • 22. สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ 16 46-48 8-12 ก.ย. 57 อาหารและการย่อยอาหาร (2) การย่อยอาหารของสัตว์และ การย่อยอาหารของคน 17 49-51 15-18 ก.ย. 57 การสลายสารอาหารระดับเซลล์ การสลายสารอาหารแบบใช้ ออกซิเจนและการสลาย สารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน บทที่ 5 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์ 18 52-54 19-23 ก.ย. 57 การสืบพันธุ์ (1) การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวและการสืบพันธุ์ของสัตว์ 19 55-57 24-26 ก.ย. 57 การสืบพันธุ์ (2) การสืบพันธุ์และการ เจริญเติบโตของคน 20 58-60 29-30 ก.ย. 57 การเจริญเติบโตของสัตว์ การเจริญเติบโตของกบและ การเจริญเติบโตของไก่ 12. การวัดผลประเมินผล อัตราส่วนการเก็บคะแนน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 แบ่งได้ ดังนี้ วิธีการเก็บคะแนน คะแนนเต็ม เครื่องมือวัดและประเมินผล 13. ทดสอบย่อย 20 คะแนน แบบทดสอบเก็บคะแนน 14. สอบกลางภาค 20 คะแนน แบบทดสอบกลางภาค 15. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 40 คะแนน แบบตรวจให้คะแนนชิ้นงาน 16. สอบปลายภาค 20 คะแนน แบบทดสอบปลายภาค รวมคะแนน 100 13. สื่อการเรียนการสอน/แบบเรียน 13.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 13.2 คู่มือครูสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
  • 23. 14. แหล่งเรียนรู้/แหล่งสืบค้นข้อมูล 14.1 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 14.2 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 14.3 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ หมายเหตุ : โครงการสอนนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
  • 24. โครงการสอนรายวิชาชีววิทยา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 15. ชื่อผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 16. ชื่อวิชา ชีววิทยา 3 17. รหัสวิชา ว 32243 18. จานวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 19. ภาคเรียนที่ 2 20. ปีการศึกษา 2557 21. สถานภาพของวิชา เพิ่มเติม 22. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 โปรแกรมวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 23. จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ 24. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก การคายน้าและระบบลาเลียงในพืช กระบวน การสังเคราะห์ด้วยแสง โฟโตเรสไพเรชัน กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ใน พืช C4 และ CAM ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอก การ วัดการเจริญเติบโตของพืช สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช และการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ การอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 1.1 ม.4/1 , ว 1.1 ม.4/2 ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6, ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1ม.4/12 รวม 14 ตัวชี้วัด
  • 25. 25. แผนการจัดการเรียนการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ บทที่ 1 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 1 1-3 16-23 พ.ค 57 เนื้อเยื่อพืช เนื้อเยื่อเจริญและเนื้อเยื่อถาวร 2 4-6 26-30 พ.ค 57 อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะ ของพืช โครงสร้างและหน้าที่ของราก, โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น และโครงสร้างและหน้าที่ของ ใบ 3 7-9 2-6 มิ.ย 57 การแลกเปลี่ยนแก๊สและการ คายน้าของพืช กระบวนการการแลกเปลี่ยน แก๊สและการคายน้าของพืชจะ เกิดขึ้นที่ใบเป็นสาคัญ 4 10-12 9-13 มิ.ย 57 การลาลียงน้าของพืช การลาลียงน้าของพืชจะเกิดขึ้น อย่างต่อเนื่องภายในท่อไซเล็ม 5 13-15 16-20 มิ.ย 57 การลาเลียงสารอาหารของพืช การลาเลียงสารอาหารของพืช จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องภายใน ท่อไซเล็ม 6 16-18 23-30 มิ.ย 57 การลาเลียงอาหารของพืช การลาเลียงอาหารของพืชจะ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องภายในท่อ โฟลเอ็ม บทที่ 2 การสังเคราะห์ด้วยแสง 7 19-21 1-4 ก.ค 57 การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการ สังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการ สังเคราะห์ด้วยแสงจากอดีต จนถึงปัจจุบัน 8 22-24 7-11 ก.ค 57 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (1) โครงสร้างของคลอโรพลาสต์ และสารสีในปฏิกิริยาแสง 9 25-27 14-18 ก.ค 57 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (2) ปฏิกิริยาแสงและการตรึง คาร์บอนไดออกไซด์
  • 26. สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ 10 28-30 21-25 ก.ค 57 โฟโตเรสไพเรชัน กระบวนการหายใจด้วยแสง ของพืช 11 31-33 28-31 ก.ค 57 กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ คาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C4 โครงสร้างของใบพืช C3 และ ใบพืช C4 และวัฏจักรคาร์บอน ของพืช C4 12 34-36 1-8 ส.ค 57 กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ คาร์บอนไดออกไซด์ในพืช CAM โครงสร้างของใบพืช CAM และวัฏจักรคาร์บอนของพืช CAM 13 37-39 11-15 ส.ค 57 ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง แสงและความเข้มของแสง, คาร์บอนไดออกไซด์, อุณหภูมิ, อายุใบ, ปริมาณน้าที่พืชได้รับ และสารอาหาร 14 40-42 18-22 ส.ค 57 การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง การปรับตัวโครงสร้างของใบ เพื่อรับแสง, การปรับทิศทาง ของใบเพื่อรับแสงและการ ปรับตัวโดยการจัดเรียงใบเพื่อ แข่งขัน บทที่ 3 การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต 15 43-45 25-29 ส.ค 57 วัฏจักรชีวิตและการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศของพืชดอก (1) โครงสร้างของดอกและการ สร้างสปอร์กับเรณู ถุง เอ็มบริโอ การสร้างเซลล์ สืบพันธุ์และการปฏิสนธิ 16 46-48 1-5 ก.ย 57 วัฏจักรชีวิตและการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศของพืชดอก (2) ผลและเมล็ดกับการงอกของ เมล็ด
  • 27. สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ 17 49-51 8-12 ก.ย 57 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ของพืชดอกและการขยายพันธุ์ พืช การตอนกิ่ง การติดตา การต่อ กิ่ง การปักชาและการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 18 52-54 15-19 ก.ย 57 การวัดการเจริญเติบโตของพืช การวัดการเจริญเติบโตของพืช เช่น การวัดความสูง การชั่ง น้าหนัก การนับจานวนใบ บทที่ 4 การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช 19 55-57 22-26 ก.ย 57 สารควบคุมการเจริญเติบโตของ พืช ออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอ เรลลิน กรดแอบไซซิกและแก๊ส เอทิลีน 20 58-60 29-30 ก.ย 57 การตอบสนองของพืชต่อ สิ่งแวดล้อม การตอบสนองของพืชต่อ สิ่งแวดล้อมแบบไม่มีทิศทาง และการตอบสนองของพืชต่อ สิ่งแวดล้อมแบบมีทิศทาง 26. การวัดผลประเมินผล อัตราส่วนการเก็บคะแนน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 แบ่งได้ ดังนี้ วิธีการเก็บคะแนน คะแนนเต็ม เครื่องมือวัดและประเมินผล 17. ทดสอบย่อย 20 คะแนน แบบทดสอบเก็บคะแนน 18. สอบกลางภาค 20 คะแนน แบบทดสอบกลางภาค 19. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 40 คะแนน แบบตรวจให้คะแนนชิ้นงาน 20. สอบปลายภาค 20 คะแนน แบบทดสอบปลายภาค รวมคะแนน 100 27. สื่อการเรียนการสอน/แบบเรียน 27.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
  • 28. 27.2 คู่มือครูสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 28. แหล่งเรียนรู้/แหล่งสืบค้นข้อมูล 28.1 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 28.2 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 28.3 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ หมายเหตุ : โครงการสอนนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
  • 29. โครงการสอนรายวิชาชีววิทยา 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 15. ชื่อผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 16. ชื่อวิชา ชีววิทยา 5 17. รหัสวิชา ว 33245 18. จานวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 19. ภาคเรียนที่ 2 20. ปีการศึกษา 2557 21. สถานภาพของวิชา เพิ่มเติม 22. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 โปรแกรมวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 23. จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ 24. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับระบบนิเวศ ไบโอม ความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ใน ระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ ระบบนิเวศ ความหนาแน่น การแพร่กระจายและขนาดของประชากร รูปแบบการเพิ่มประชากร การ รอดชีวิตของประชากร ประชากรนุษย์ ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาและการจัดการ หลักการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี ความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.4-6/1 ,ว 2.1 ม.4-6/2 ,ว 2.1 ม.4-6/3 ว 2.2 ม.4-6/1 ,ว 2.2 ม.4-6/2 ,ว 2.2 ม.4-6/3 ว 8.1 ม.4/1 ,ว 8.1 ม.4/2 ,ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6, ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12 รวม 18 ตัวชี้วัด
  • 30. 25. แผนการจัดการเรียนการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ บทที่ 1 ความหลากหลายทางชีวภาพ 1 1-3 16-23 พ.ค 57 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ ความหลากหลายทางระบบ นิเวศ ความหลากหลายทางสปี ชีสและความหลากหลายทาง พันธุกรรม 2 4-6 26-30 พ.ค 57 การศึกษาความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิต (1) การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต 3 7-9 2-6 มิ.ย 57 การศึกษาความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิต (2) ชื่อของสิ่งมีชีวิตและการระบุ ชนิด 4 10-12 9-13 มิ.ย 57 กาเนิดสิ่งมีชีวิต กาเนิดของเซลล์โพรคาริโอต และกาเนิดของเซลล์ยูคาริโอต 5 13-15 16-20 มิ.ย 57 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต (1) อาณาจักรมอเนอราและ อาณาจักรโพรทิสตา 6 16-18 23-30 มิ.ย 57 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต (2) อาณาจักรฟังไจและอาณาจักร พืช 7 19-21 1-4 ก.ค 57 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต (3) อาณาจักรสัตว์ 8 22-24 7-11 ก.ค 57 ความหลากหลายทางชีวภาพใน ประเทศไทย ความหลากหลายทางชีวภาพ ในประเทศไทย 9 25-27 14-18 ก.ค 57 การสูญเสียความหลากหลาย ทางชีวภาพ การสูญเสียความหลากหลาย ทางชีวภาพ บทที่ 2 ประชากร 10 28-30 21-25 ก.ค 57 ความหนาแน่นและการ แพร่กระจายของประชากร ความหนาแน่นและการ แพร่กระจายของประชากร
  • 31. สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ 11 31-33 28-31 ก.ค 57 ขนาดของประชากร ขนาดของประชากรสามารถหา ได้ 2 วิธี คือ วิธีการนับโดยตรง กับวิธีการประมาณโดยสุ่ม 12 34-36 1-8 ส.ค 57 รูปแบบการเพิ่มของประชากร การเพิ่มของประชากรแบบเอ็ก โพแนนเชียลและการเพิ่มของ ประชากรแบบลอจิสติก 13 37-39 11-15 ส.ค 57 การรอดชีวิตของประชากร กราฟการรอดชีวิตของ ประชากร แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ แบบโค้งขึ้น แบบ เส้นตรงและแบบโค้งลง 14 40-42 18-22 ส.ค 57 ประชากรมนุษย์ การเติบโตของประชากรมนุษย์ และโครงสร้างอายุประชากร มนุษย์ บทที่ 3 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม 15 43-45 25-29 ส.ค 57 ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ ประโยชน์ ปัญหาและการ จัดการ (1) ทรัพยากรน้าและทรัพยากรดิน 16 46-48 1-5 ก.ย 57 ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ ประโยชน์ ปัญหาและการ จัดการ (2) ทรัพยากรอากาศ 17 49-51 8-12 ก.ย 57 ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ ประโยชน์ ปัญหาและการ จัดการ (3) ทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากร สัตว์ป่า 18 52-54 15-19 ก.ย 57 หลักการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ (1) ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติใน ปัจจุบัน
  • 32. สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ วัน เดือน ปี ที่สอน เรื่อง เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ 19 55-57 22-26 ก.ย 57 หลักการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ (2) แนวทางและวิธีการในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 20 58-60 29-30 ก.ย 57 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบ ต่อสภาพแวดล้อม ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ชนิดพันธุ์ต่าง ถิ่นแบบไม่รุกรานและชนิด พันธุ์ต่างถิ่นแบบรุกราน 26. การวัดผลประเมินผล อัตราส่วนการเก็บคะแนน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 แบ่งได้ ดังนี้ วิธีการเก็บคะแนน คะแนนเต็ม เครื่องมือวัดและประเมินผล 21. ทดสอบย่อย 20 คะแนน แบบทดสอบเก็บคะแนน 22. สอบกลางภาค 20 คะแนน แบบทดสอบกลางภาค 23. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 40 คะแนน แบบตรวจให้คะแนนชิ้นงาน 24. สอบปลายภาค 20 คะแนน แบบทดสอบปลายภาค รวมคะแนน 100 27. สื่อการเรียนการสอน/แบบเรียน 27.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 27.2 คู่มือครูสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 28. แหล่งเรียนรู้/แหล่งสืบค้นข้อมูล 28.1 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 28.2 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 28.3 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ หมายเหตุ : โครงการสอนนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม