SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
ยุคภูมิธรรม 
และ 
แนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย 
ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ได้นาไปสู่การ 
ปฏิวัติทางภูมิปัญญา ในคริสต์ศตวรรษต่อมาอีกด้วย วิธีการทาง 
วิทยาศาสตร์และการหลุดพ้นจากอานาจของคริสตจักรทาให้ชาวตะวันตก 
กล้าใช้เหตุผลเพื่อแสดงความคิดเห็นทางสังคมและการเมืองมากขึน้ และ 
เชื่อมนั่ว่าความมีเหตุผลสามารถเปลี่ยนแปลงชีวติและสังคมให้ดีขึน้ได้ 
ในคริสต์ศตวรรษที่18 นีจึ้งเปรียบเสมือนแสงสว่างที่ส่องนาทางให้ 
โลกตะวันตกเป็นสังคมที่รุ่งโรจน์ในวิชาการต่างๆ ทาให้ผู้คนมีความรู้ มี 
สติปัญญาและความคิด ตลอดจนความสามารถได้รับการยกย่องจากสังคม 
มากขึน้ และเป็นพืน้ฐานสาคัญที่ทาให้ชาติตะวันตกเข้าสู่ความเจริญในยุค 
ใหม่ ดังนัน้ในคริสต์ศตวรรษนีจึ้งได้รับสมญาว่าเป็น ยุคภูมิธรรม 
(Age of Enlightenment)
นักปราชญ์การเมืองแนวประชาธิปไตย 
นักคิดคนสำคัญที่วำงรำกฐำนของปรัชญำกำรเมืองแนวประชำธิปไตย 
1. ทอมัส ฮอบส์(Thomas Hobbes) 
2. จอห์น ล็อก (John Locke) 
3. บารอน เดอ มองเตสกิเออร์ (Baron de Montesquieu) 
4. วอล์แตร (Voltaire) 
5. ชอง-ชาก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau)
ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) ค.ศ. 1588 - 1679 
นักปรัชญาชาวอังกฤษ ฮอบส์กล่าวว่าก่อนหน้าที่มนุษย์จะมาอยู่ 
รวมกันเป็นสังคมเมือง มนุษย์มีอิสระและเสรีภาพในการกระทาใดๆซึ่ง 
ย่อมก่อให้เกิดความวุ่นวาย มนุษย์จึงตกลงกันที่จะหาคนกลางมาทา 
หน้าที่ปกครองประชาชนโดยที่ประชาชนมีสิทธิเลือกผู้ปกครองตาม 
ความต้องการของประชาชนส่วนใหญ่ เพื่อให้เกิดสังคมการเมืองที่อยู่ 
ร่วมกันอย่างสันติสุข ประชาชนทุกคนจะต้องเชื่อฟังผู้ปกครองซงึ่จะ 
เป็นผู้ออกกฏหมายมาบังคับประชาชนต่อไป
ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) ค.ศ. 1588 - 1679 
แนวคิดด้านการเมืองของฮอบส์ปรากฏใน 
หนังสือ ลีไวอาทัน (Leviathan) 
นอกจากนีฮ้อบส์ ยังโจมตีความเชื่อทาง 
ศาสนาของมนุษย์ว่าเป็นเรื่องไร้เหตุผล มนุษย์ 
ควรมีชีวิตอยู่ด้วยเหตุผลและวิธีการทาง 
วิทยาศาสตร์ ไม่ควรอยู่ด้วยความเชื่องมงาย 
อย่างไรก็ตามฮอบส์มิได้ปฏิเสธพระเจ้า แต่ 
ปฏิเสธพิธีกรรมและผู้นาทางศาสนา
จอห์น ล็อก (John Locke) ค.ศ. 1632 - 1704 
นักปรัชญาชาวอังกฤษ แนวคิดทางการเมืองของล็อกสรุปได้ว่า 
ประชาชนเป็นที่มาของอานาจทางการเมืองและมีอานาจในการจัดตัง้ 
รัฐบาลขึน้ได้ รัฐและรัฐบาลจึงมีหน้าที่ปกครองโดยคานึงถึงประโยชน์ 
และสิทธิของประชาชน อันได้แก่ ชีวิต เสรีภาพ และทรัพย์สิน รัฐบาล 
มีอานาจภายในขอบเขตที่ประชาชนมอบให้ และจะใช้เฉพาะเพื่อ 
ผลประโยชน์ของประชาชนเท่านัน้ แนวคิดทางการเมืองดังกล่าวจึงเป็น 
รากฐานความคิดของระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่ และมีอิทธิพล 
ต่อปัญญาชนและปรัชญาเมธีของยุโรป
จอห์น ล็อก (John Locke) ค.ศ. 1632 - 1704 
เป็นผู้เขียนหนังสือเรื่อง 
Two Treatises of 
Government ซึ่งแนวคิด 
หลักของหนังสือ คือ การเสนอ 
ทฤษฎีที่ว่ารัฐบาลจัดตัง้ขึน้โดย 
ความยินยอมของประชาชน 
และต้องรับผิดชอบต่อชีวิต 
ความเป็นอยู่ของประชาชน
บารอน เดอ มองเตสกิเออร์ (Baron de Montesquieu) 
ค.ศ. 1689 – 1755 
ขุนนางฝรั่งเศส เป็นผู้เขียนหนังสือเรื่อง วิญญาณแห่ง 
กฎหมาย (The Spirit of Laws) แนวคิดหลักของหนังสือ 
สรุปได้ว่า กฎหมายที่รัฐบาลแต่ละสังคมบัญญัติขึน้ต้องสอดคล้อง 
กับลักษณะภูมิประเทศและเงื่อนไขทางขนบธรรมเนียม ประเพณี 
วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของแต่ละสังคม แต่การปกครองแบบ 
กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญเป็นรูปแบบการปกครองที่ดีที่สุด
บารอน เดอ มองเตสกิเออร์ (Baron de Montesquieu) 
ค.ศ. 1689 – 1755 
นอกจากนัน้อานาจการปกครองควรแยกออกเป็น 3 ฝ่าย คือ ฝ่าย 
นิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ การแบ่งอานาจดังกล่าว 
เป็นเสมือนการสร้างระบบตรวจสอบและถ่วงอานาจ 
แนวคิดในทางการเมืองของมองเตสกิเออร์ในหนังสือเล่มนีมี้ 
อิทธิพลต่อสังคมตะวันตก รัฐธรรมนูญการปกครองประเทศของ 
สหรัฐอเมริกาซึ่งถือว่าเป็นแม่แบบของระบอบการปกครองใน 
ระบอบประชาธิปไตยก็ใช้แนวคิดเรื่องการแบ่งแยกอานาจและระบบ 
คานอานาจของมองเตสกิเออร์เป็นหลัก
วอล์แตร (Voltaire) ค.ศ.1694 - 1778 
เป็นนักคิดและนักเขียนที่มีชื่อเสียงของฝรั่งเศส วอลแตร์ประทับใจ 
ในระบอบการปกครองของอังกฤษมาก และตัง้ใจจะใช้งานเขียน 
คัดค้านการปกครองแบบเผด็จการ และต่อต้านความงมงายไร้ 
เหตุผล เรียกร้องเสรีภาพในการในการแสดงออกซึ่งความคิดเห็น 
ทางด้านต่างๆ วอล์แตรคิดว่าการใช้เหตุผลและสติปัญญา สามารถ 
แก้ไขปัญหาสังคมและการเมืองได้
วอล์แตร (Voltaire) ค.ศ.1694 - 1778 
ความคิดดังกล่าวของวอล 
แตร์สะท้อนออกมาในหนังสือ 
เรื่อง จดหมายปรัชญา 
(The Philosophical 
Letters) 
เนือ้หาของหนังสือโจมตี 
สถาบันและกฎระเบียบต่างๆที่ 
ล้าหลังของฝรั่งเศส วอลแตร์ 
เรียกร้องให้มีการปฏิรูปประเทศ 
ฝรั่งเศสให้ทันสมัยเหมือน 
อังกฤษ
ชอง-ชาก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau) 
ค.ศ.1712-1778 
เชือ้สายฝรั่งเศส เขาเขียนหนังสือหลายเล่มโจมตีวุ่นวายของสังคมและ 
การบริหารที่ล้มเหลวของรัฐบาล นอกจากนีเ้ขายังแสดงทัศนะเกี่ยวกับระบบ 
การศึกษาปัญหาความไม่เสมอภาคทางสังคมอันเป็นผลจากสภาวะแวดล้อม 
งานเขียนชิน้เอกของเขาซงึ่เป็นตาราทางการเมืองที่สาคัญและมีอิทธิพล 
มาก คือ สัญญาประชาคม (The Social Contract) ว่าด้วยปรัชญา 
ทางการเมืองด้านการปกครองและพันธสัญญาทางการเมืองระหว่าง 
รัฐบาลและประชาชน
ชอง-ชาก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau) 
ค.ศ.1712-1778 
สัญญาประชาคม (The Social Contract) งานเขียน 
เรื่องนีท้าให้รูโซได้ชื่อว่าเป็นผู้วางรากฐานอา นาจอธิปไตยของ 
ประชาชน แนวคิดหลักของรูโซใน สัญญาประชาคม คือ มนุษย์ทุก 
คนเกิดมาเป็นอิสระ แต่มนุษย์ต้องอยู่ภายใต้อานาจของผู้ปกครอง 
รูโซเชื่อว่าถึงว่าเวลาที่จะทาลายข้อผูกพันเหล่านัน้แล้ว จึงจัดตัง้ 
รูปแบบของการปกครองขึน้มาใหม่โดยที่ให้ เจตจา นงร่วมของ 
ประชาชน (general will) เป็นอานาจสูงสุด
ชอง-ชาก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau) 
ค.ศ.1712-1778 
รูโซเห็นว่าควรมีการจัดทาข้อตกลงหรือสัญญาประชาคม ขึน้โดย 
ที่ให้ประชาชนของประชาคมได้เข้ามาพิจารณาตัดสินปัญหาต่างๆ 
ร่วมกัน เห็นถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว 
รัฐบาลจึงควรเกิดจากความเห็นชอบร่วมกันของประชาชน
การปฏิวัติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ 
หลังจากสมเดจ็พระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 1 สิน้พระชนม์ กษัตริย์อังกฤษ 
องค์ต่อๆมามักจะมีความขัดแย้งกับรัฐสภาอยู่เสมอ เนื่องจากการใช้พระราช 
อานาจเกินขอบเขต ใช้เงินแผ่นดินไปในทางที่ฟุ่มเฟือยและก่อสงคราม ความ 
ขัดแย้งระหว่างรัฐสภากับกษัตริย์รุนแรงมากขึน้เรื่อยๆจนกลายเป็นสงคราม 
กลางเมืองใน ค.ศ.1642 - 1649 
พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เข้ารีตนับถือนิกายโรมันคาทอลิกก่อนสวรรคต พระเจ้า 
เจมส์ที่ 2 ทรงชักชวนให้ประชาชนหันมานับถือนิกายคาทอลิก และทรง 
พยายามใช้อานาจอย่างสูงสุดอีก จึงก่อให้เกิดปฏิวัติขึน้ใน ค.ศ. 1688 พระเจ้า 
เจมส์ที่2 เสด็จลภีั้ยไปฝรั่งเศส รัฐสภาได้อัญเชิญเจ้าชายวิลเลียมแหง่ราชวงศ์ 
ออเรนจ์ ซึ่งเป็นพระราชบุตรเขยของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แต่นับถือนิกาย 
โปรเตสแตนต์ขึน้ครองราชย์ มีพระนามว่า พระเจ้าวิลเลียมที่ 3
การปฏิวัติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ 
พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 ทรงสัญญาว่าจะปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติ 
ว่าด้วยสิทธิพนื้ฐานของพลเมือง (Bill of Rights) เหตุการณ์ครัง้ 
นีเ้รียกว่า การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ (Glorious Revolution) เป็น 
การปฏิวัติที่ไม่มีการเสียเลือดเนือ้ และได้รับการสนับสนุนจากชนทุกชัน้ 
นับแต่นัน้มารัฐสภาอังกฤษได้ออกกฎหมายให้สิทธิเสรีภาพแก่ชาว 
อังกฤษก้าวหน้าไปตามลาดับจนถึงปัจจุบัน
การปฏิวัติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ 
อังกฤษได้รับการยกย่องว่าเป็นประเทศแม่แบบของการ 
ปกครองระบอบประชาธิปไตย อังกฤษไม่มีรัฐธรรมนูญเป็นลาย 
ลักษณ์อักษรเหมือนประเทศอื่นๆ ยึดหลักการขนบธรรมเนียมประเพณี 
ที่เคยปกครองกันมา และยึดกฎหมายเป็นหลัก 
การปฏิวัติใน ค.ศ. 1688 ทาให้ระบอบราชาธิปไตยแบบเทวสิทธิ์ 
ของอังกฤษสิน้สุดลง และได้ยุติปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองที่ 
กระทบกระเทือนอังกฤษมาตัง้แต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17
การปฏิวัติของชาวอเมริกัน ค.ศ. 1776 
สหรัฐอเมริกาเคยอยู่ภายใต้การครอบครองของอังกฤษ เขตอาณา 
นิคมในดินแดนนี้3 เขต เขตอาณานิคมนิวอิงแลนด์ เขตอาณานิคม 
และเขตอาณานิคมภาคใต้ รวมอาณานิคม 13 แห่ง 
ชาวอังกฤษที่อพยพไปตัง้รกรากในสหรัฐอเมริกาในระยะแรกมี 
ความผูกพันกับเมืองแม่ของตนเองด้วยการยอมรับนับถือกษัตริย์อังกฤษ 
เป็นกษัตริย์ของตน และรวมกันปกครองตนเองในรูปแบบอาณานิคมขึน้ 
ตรงต่ออังกฤษ แต่ต่อมาเมื่ออังกฤษทาสงครามยืดเยือ้กับฝรั่งเศส 
อังกฤษต้องใช้เงินจานวนมาก รัฐบาลอังกฤษจึงหันมาขูดรีด 
ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของชาวอาณานิคมด้วยการเก็บภาษีชาว 
อาณานิคมอย่างรุนแรงและเอาเปรียบทางการค้า
การปฏิวัติของชาวอเมริกัน ค.ศ. 1776 
นอกจากนียั้งมีการคุกคามสิทธิและเสรีภาพทางการเมือง โดย 
รัฐสภาอังกฤษออกพระราชบัญญัติควิเบก ตามพระบัญญัตินีอั้งกฤษมี 
สิทธิที่จะยับยัง้สิทธิและเสรีภาพของชาวอาณานิคมได้ อีกทัง้ยังให้ 
เสรีภาพทางการเมือง ทางศาสนาแก่พวกคาทอลิคด้วย สร้างความไม่ 
พอใจแก่ชาวอาณานิคมเป็นอย่างมาก 
ในวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 ชาวอาณานิคมจึงพร้อมใจกัน 
ประกาศอิสรภาพจากอังกฤษ ทางฝ่ายอังกฤษส่งทหารมาปราบ 
กลายเป็นสงคราม เรียกว่า สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกัน ชาว 
อาณานิคมได้รับความช่วยเหลือจากฝรั่งเศสและเป็นฝ่ายชนะ ใน ค.ศ. 
1783 ได้ตัง้เป็นประเทศใหม่ คือ สหรัฐอเมริกา มีประธานาธิบดีเป็น 
ประมุข
การปฏิวัติของชาวอเมริกัน ค.ศ. 1776 
ชาวอเมริกันมีความคิดและจิตใจที่ยึดมนั่ในระบอบประชาธิปไตย 
สามารถวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตยได้อย่างมนั่คง 
ประธานาธิบดีอเมริกันผู้มีชื่อเสียงในการส่งเสริมระบอบประชาธิปไตยและ 
ความเสมอภาคในหมู่ประชาชนคือ ประธานาธิบดีเอบราแฮม ลิงคอล์น ได้ 
ประกาศเลิกทาสและให้ความเสมอภาคแก่ชาวผิวดา 
ฝรั่งเศสได้ตัวอย่างการให้สิทธิประชาชนทุกคนเท่าเทียมกัน ไม่มีการ 
แบ่งชนชัน้ และไม่ให้ศาสนาเข้ามามีบทบาททางการเมืองจากอเมริกา
การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 
การปฏิวัติฝรั่งเศส เกิดจากปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง 
สาเหตุของปัญหาเศรษฐกิจก็คือฝรั่งเศสต้องทาสงครามหลายครัง้ 
สงครามที่สิน้เปลืองมากที่สุด คือ การเข้าช่วยอาณานิคมรบกับอังกฤษ 
ในสงครามประกาศอิสรภาพอเมริกัน ในด้านสังคม ฝรั่งเศสมีโครงสร้าง 
สังคมแบบชนชัน้ซงึ่เป็นอุปสรรคต่อการบริหารประเทศ โดยมีการแบ่ง 
ชาวฝรั่งเศสออกเป็น 3 ฐานันดร 
1. นักบวชนิกายโรมันคาทอลิก 
2. ขุนนางและพวกผู้ดีมีตระกูล 
3. ชนชัน้กลาง ชาวนาและกรรมกร
การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 
เมื่อฝรั่งเศสกาลังจะล้มละลาย เสนาบดีคลังเสนอให้มีการเก็บภาษี 
จากประชาชนทุกคน แต่ก็ถูกต่อต้านจากฐานันดรที่ 1 และ 2 ที่ไม่เคย 
จ่ายภาษีมาก่อน ปัญญาชนชาวฝรั่งเศสพยายามหาทางแก้ไข 
สถานการณ์ต่างๆให้ดีขึน้ 
อังกฤษซึ่งปกครองในระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และกาลัง 
เจริญรุ่งเรืองจึงกลายเป็นแม่แบบให้กลุ่มปัญญาชนชาวฝรั่งเศสที่จะหา 
หนทางให้ชาวฝรั่งเศสได้ชื่นชมกับเสรีภาพอย่างชาวอังกฤษบ้าง 
นอกจากนีช้าวฝรั่งเศสเองยังมีความเชื่อว่าการปกครองแบบมีรัฐสภา 
หรือรัฐบาลประชาธิปไตย จะนาความมงั่คงั่มาสู่ประเทศได้
การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 
ต่อมางานวรรณกรรมทางการเมืองของล็อก มองเตสกิเออร์ วอท 
แตร์ และ รูโซ รวมทัง้ปัญญาชนคนอื่นๆ สร้างเงื่อนไขอันก่อให้เกิด 
ความหวังใหม่ขึน้มาในหมู่ประชาชน ความคิดดังกล่าวเป็นรูปธรรมมาก 
ขึน้เมื่อชาวอเมริกันได้ก่อการปฏิวัติ เพื่อแยกตัวเองเป็นอิสระจาการเป็น 
อาณานิคมของอังกฤษ ดังนัน้อีก 13 ปีต่อมา ชาวฝรั่งเศสได้ก่อการ 
ปฏิวัติครัง้ใหญ่เพื่อล้มล้างอานาจการปกครองแบบราชาธิปไตย และ 
ต่อมาได้จัดตัง้ระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ
การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 
การปฏิวัติฝรั่งเศส ได้ส่งผลกระทบให้แนวคิดเรื่องเสรีภาพ ความเสมอ 
ภาค และภารดรภาพ แพร่กระจายไปทวั่ทวีปยุโรป โดยผ่านการที่ฝรั่งเศสทา 
สงครามยึดครองประเทศต่างๆ ในยุโรปในช่วงสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสแม้ว่า 
ท้ายที่สุดฝรั่งเศสต้องพ่ายแพ้ก็ตาม 
คาประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองของฝรั่งเศสที่ประกาศเมื่อวันที่ 
27 สิงหาคม ค.ศ. 1789 กล่าวได้ว่า แนวความคิดประชาธิปไตยของล็อก 
มองเตสกิเออร์ วอทแตร์ และรูโซ มีผลในการปลุกเร้าจิตสานึกทางการเมือง 
ของชาวตะวันตกเป็นอันมาก และก่อให้เกิดการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซงึ่ 
ประชาธิปไตยในประเทศต่างๆ เหตุการณ์ปฏิวัติทางการเมืองโดยเฉพาะการ 
ปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 เป็นแม่แบบให้ชาวตะวันตกร่วมเรียกร้องสิทธิ 
เสรีภาพทางการทางการเมืองมากขึน้
จัดทาโดย 
นางสาว จิรัชญา จัดวัฒนกุล ม.6.5 เลขที่ 5 
นางสาว ชัญญาพัชญ์ โพธิธิพิพิธธนากร ม.6.5 เลขที่ 8

Contenu connexe

Tendances

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่nanpapimol
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMudmook Mvs
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาfriend209
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious ReformationWarinthorn Limpanakorn
 

Tendances (20)

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 

Similaire à ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย

5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003AlittleDordream Topten
 
การปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญาการปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญาLilrat Witsawachatkun
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรีsangworn
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
ดุสิตธานี
ดุสิตธานีดุสิตธานี
ดุสิตธานีThongkum Virut
 
kpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfkpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfLulochLambeLoch
 
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)Kanpitcha Sandra
 
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...vivace_ning
 
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยมGp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยมwissanujo
 

Similaire à ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย (20)

5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
 
00ยุคภูมิ..[1] 6.2
00ยุคภูมิ..[1] 6.200ยุคภูมิ..[1] 6.2
00ยุคภูมิ..[1] 6.2
 
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศสกฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
 
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
 
การปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญาการปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญา
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรี
 
Pw4 5
Pw4 5Pw4 5
Pw4 5
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
ดุสิตธานี
ดุสิตธานีดุสิตธานี
ดุสิตธานี
 
kpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfkpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdf
 
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
 
57
5757
57
 
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศโปรตุเกสและประเทศสเปน : จุดเริ่มต้นของคลื่นล...
 
53011312317
5301131231753011312317
53011312317
 
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยมGp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
 

ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย

  • 2. ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ได้นาไปสู่การ ปฏิวัติทางภูมิปัญญา ในคริสต์ศตวรรษต่อมาอีกด้วย วิธีการทาง วิทยาศาสตร์และการหลุดพ้นจากอานาจของคริสตจักรทาให้ชาวตะวันตก กล้าใช้เหตุผลเพื่อแสดงความคิดเห็นทางสังคมและการเมืองมากขึน้ และ เชื่อมนั่ว่าความมีเหตุผลสามารถเปลี่ยนแปลงชีวติและสังคมให้ดีขึน้ได้ ในคริสต์ศตวรรษที่18 นีจึ้งเปรียบเสมือนแสงสว่างที่ส่องนาทางให้ โลกตะวันตกเป็นสังคมที่รุ่งโรจน์ในวิชาการต่างๆ ทาให้ผู้คนมีความรู้ มี สติปัญญาและความคิด ตลอดจนความสามารถได้รับการยกย่องจากสังคม มากขึน้ และเป็นพืน้ฐานสาคัญที่ทาให้ชาติตะวันตกเข้าสู่ความเจริญในยุค ใหม่ ดังนัน้ในคริสต์ศตวรรษนีจึ้งได้รับสมญาว่าเป็น ยุคภูมิธรรม (Age of Enlightenment)
  • 3. นักปราชญ์การเมืองแนวประชาธิปไตย นักคิดคนสำคัญที่วำงรำกฐำนของปรัชญำกำรเมืองแนวประชำธิปไตย 1. ทอมัส ฮอบส์(Thomas Hobbes) 2. จอห์น ล็อก (John Locke) 3. บารอน เดอ มองเตสกิเออร์ (Baron de Montesquieu) 4. วอล์แตร (Voltaire) 5. ชอง-ชาก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau)
  • 4. ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) ค.ศ. 1588 - 1679 นักปรัชญาชาวอังกฤษ ฮอบส์กล่าวว่าก่อนหน้าที่มนุษย์จะมาอยู่ รวมกันเป็นสังคมเมือง มนุษย์มีอิสระและเสรีภาพในการกระทาใดๆซึ่ง ย่อมก่อให้เกิดความวุ่นวาย มนุษย์จึงตกลงกันที่จะหาคนกลางมาทา หน้าที่ปกครองประชาชนโดยที่ประชาชนมีสิทธิเลือกผู้ปกครองตาม ความต้องการของประชาชนส่วนใหญ่ เพื่อให้เกิดสังคมการเมืองที่อยู่ ร่วมกันอย่างสันติสุข ประชาชนทุกคนจะต้องเชื่อฟังผู้ปกครองซงึ่จะ เป็นผู้ออกกฏหมายมาบังคับประชาชนต่อไป
  • 5. ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) ค.ศ. 1588 - 1679 แนวคิดด้านการเมืองของฮอบส์ปรากฏใน หนังสือ ลีไวอาทัน (Leviathan) นอกจากนีฮ้อบส์ ยังโจมตีความเชื่อทาง ศาสนาของมนุษย์ว่าเป็นเรื่องไร้เหตุผล มนุษย์ ควรมีชีวิตอยู่ด้วยเหตุผลและวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ ไม่ควรอยู่ด้วยความเชื่องมงาย อย่างไรก็ตามฮอบส์มิได้ปฏิเสธพระเจ้า แต่ ปฏิเสธพิธีกรรมและผู้นาทางศาสนา
  • 6. จอห์น ล็อก (John Locke) ค.ศ. 1632 - 1704 นักปรัชญาชาวอังกฤษ แนวคิดทางการเมืองของล็อกสรุปได้ว่า ประชาชนเป็นที่มาของอานาจทางการเมืองและมีอานาจในการจัดตัง้ รัฐบาลขึน้ได้ รัฐและรัฐบาลจึงมีหน้าที่ปกครองโดยคานึงถึงประโยชน์ และสิทธิของประชาชน อันได้แก่ ชีวิต เสรีภาพ และทรัพย์สิน รัฐบาล มีอานาจภายในขอบเขตที่ประชาชนมอบให้ และจะใช้เฉพาะเพื่อ ผลประโยชน์ของประชาชนเท่านัน้ แนวคิดทางการเมืองดังกล่าวจึงเป็น รากฐานความคิดของระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่ และมีอิทธิพล ต่อปัญญาชนและปรัชญาเมธีของยุโรป
  • 7. จอห์น ล็อก (John Locke) ค.ศ. 1632 - 1704 เป็นผู้เขียนหนังสือเรื่อง Two Treatises of Government ซึ่งแนวคิด หลักของหนังสือ คือ การเสนอ ทฤษฎีที่ว่ารัฐบาลจัดตัง้ขึน้โดย ความยินยอมของประชาชน และต้องรับผิดชอบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ของประชาชน
  • 8. บารอน เดอ มองเตสกิเออร์ (Baron de Montesquieu) ค.ศ. 1689 – 1755 ขุนนางฝรั่งเศส เป็นผู้เขียนหนังสือเรื่อง วิญญาณแห่ง กฎหมาย (The Spirit of Laws) แนวคิดหลักของหนังสือ สรุปได้ว่า กฎหมายที่รัฐบาลแต่ละสังคมบัญญัติขึน้ต้องสอดคล้อง กับลักษณะภูมิประเทศและเงื่อนไขทางขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของแต่ละสังคม แต่การปกครองแบบ กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญเป็นรูปแบบการปกครองที่ดีที่สุด
  • 9. บารอน เดอ มองเตสกิเออร์ (Baron de Montesquieu) ค.ศ. 1689 – 1755 นอกจากนัน้อานาจการปกครองควรแยกออกเป็น 3 ฝ่าย คือ ฝ่าย นิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ การแบ่งอานาจดังกล่าว เป็นเสมือนการสร้างระบบตรวจสอบและถ่วงอานาจ แนวคิดในทางการเมืองของมองเตสกิเออร์ในหนังสือเล่มนีมี้ อิทธิพลต่อสังคมตะวันตก รัฐธรรมนูญการปกครองประเทศของ สหรัฐอเมริกาซึ่งถือว่าเป็นแม่แบบของระบอบการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยก็ใช้แนวคิดเรื่องการแบ่งแยกอานาจและระบบ คานอานาจของมองเตสกิเออร์เป็นหลัก
  • 10. วอล์แตร (Voltaire) ค.ศ.1694 - 1778 เป็นนักคิดและนักเขียนที่มีชื่อเสียงของฝรั่งเศส วอลแตร์ประทับใจ ในระบอบการปกครองของอังกฤษมาก และตัง้ใจจะใช้งานเขียน คัดค้านการปกครองแบบเผด็จการ และต่อต้านความงมงายไร้ เหตุผล เรียกร้องเสรีภาพในการในการแสดงออกซึ่งความคิดเห็น ทางด้านต่างๆ วอล์แตรคิดว่าการใช้เหตุผลและสติปัญญา สามารถ แก้ไขปัญหาสังคมและการเมืองได้
  • 11. วอล์แตร (Voltaire) ค.ศ.1694 - 1778 ความคิดดังกล่าวของวอล แตร์สะท้อนออกมาในหนังสือ เรื่อง จดหมายปรัชญา (The Philosophical Letters) เนือ้หาของหนังสือโจมตี สถาบันและกฎระเบียบต่างๆที่ ล้าหลังของฝรั่งเศส วอลแตร์ เรียกร้องให้มีการปฏิรูปประเทศ ฝรั่งเศสให้ทันสมัยเหมือน อังกฤษ
  • 12. ชอง-ชาก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau) ค.ศ.1712-1778 เชือ้สายฝรั่งเศส เขาเขียนหนังสือหลายเล่มโจมตีวุ่นวายของสังคมและ การบริหารที่ล้มเหลวของรัฐบาล นอกจากนีเ้ขายังแสดงทัศนะเกี่ยวกับระบบ การศึกษาปัญหาความไม่เสมอภาคทางสังคมอันเป็นผลจากสภาวะแวดล้อม งานเขียนชิน้เอกของเขาซงึ่เป็นตาราทางการเมืองที่สาคัญและมีอิทธิพล มาก คือ สัญญาประชาคม (The Social Contract) ว่าด้วยปรัชญา ทางการเมืองด้านการปกครองและพันธสัญญาทางการเมืองระหว่าง รัฐบาลและประชาชน
  • 13. ชอง-ชาก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau) ค.ศ.1712-1778 สัญญาประชาคม (The Social Contract) งานเขียน เรื่องนีท้าให้รูโซได้ชื่อว่าเป็นผู้วางรากฐานอา นาจอธิปไตยของ ประชาชน แนวคิดหลักของรูโซใน สัญญาประชาคม คือ มนุษย์ทุก คนเกิดมาเป็นอิสระ แต่มนุษย์ต้องอยู่ภายใต้อานาจของผู้ปกครอง รูโซเชื่อว่าถึงว่าเวลาที่จะทาลายข้อผูกพันเหล่านัน้แล้ว จึงจัดตัง้ รูปแบบของการปกครองขึน้มาใหม่โดยที่ให้ เจตจา นงร่วมของ ประชาชน (general will) เป็นอานาจสูงสุด
  • 14. ชอง-ชาก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau) ค.ศ.1712-1778 รูโซเห็นว่าควรมีการจัดทาข้อตกลงหรือสัญญาประชาคม ขึน้โดย ที่ให้ประชาชนของประชาคมได้เข้ามาพิจารณาตัดสินปัญหาต่างๆ ร่วมกัน เห็นถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว รัฐบาลจึงควรเกิดจากความเห็นชอบร่วมกันของประชาชน
  • 15. การปฏิวัติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ หลังจากสมเดจ็พระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 1 สิน้พระชนม์ กษัตริย์อังกฤษ องค์ต่อๆมามักจะมีความขัดแย้งกับรัฐสภาอยู่เสมอ เนื่องจากการใช้พระราช อานาจเกินขอบเขต ใช้เงินแผ่นดินไปในทางที่ฟุ่มเฟือยและก่อสงคราม ความ ขัดแย้งระหว่างรัฐสภากับกษัตริย์รุนแรงมากขึน้เรื่อยๆจนกลายเป็นสงคราม กลางเมืองใน ค.ศ.1642 - 1649 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เข้ารีตนับถือนิกายโรมันคาทอลิกก่อนสวรรคต พระเจ้า เจมส์ที่ 2 ทรงชักชวนให้ประชาชนหันมานับถือนิกายคาทอลิก และทรง พยายามใช้อานาจอย่างสูงสุดอีก จึงก่อให้เกิดปฏิวัติขึน้ใน ค.ศ. 1688 พระเจ้า เจมส์ที่2 เสด็จลภีั้ยไปฝรั่งเศส รัฐสภาได้อัญเชิญเจ้าชายวิลเลียมแหง่ราชวงศ์ ออเรนจ์ ซึ่งเป็นพระราชบุตรเขยของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แต่นับถือนิกาย โปรเตสแตนต์ขึน้ครองราชย์ มีพระนามว่า พระเจ้าวิลเลียมที่ 3
  • 16. การปฏิวัติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 ทรงสัญญาว่าจะปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติ ว่าด้วยสิทธิพนื้ฐานของพลเมือง (Bill of Rights) เหตุการณ์ครัง้ นีเ้รียกว่า การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ (Glorious Revolution) เป็น การปฏิวัติที่ไม่มีการเสียเลือดเนือ้ และได้รับการสนับสนุนจากชนทุกชัน้ นับแต่นัน้มารัฐสภาอังกฤษได้ออกกฎหมายให้สิทธิเสรีภาพแก่ชาว อังกฤษก้าวหน้าไปตามลาดับจนถึงปัจจุบัน
  • 17. การปฏิวัติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ อังกฤษได้รับการยกย่องว่าเป็นประเทศแม่แบบของการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย อังกฤษไม่มีรัฐธรรมนูญเป็นลาย ลักษณ์อักษรเหมือนประเทศอื่นๆ ยึดหลักการขนบธรรมเนียมประเพณี ที่เคยปกครองกันมา และยึดกฎหมายเป็นหลัก การปฏิวัติใน ค.ศ. 1688 ทาให้ระบอบราชาธิปไตยแบบเทวสิทธิ์ ของอังกฤษสิน้สุดลง และได้ยุติปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองที่ กระทบกระเทือนอังกฤษมาตัง้แต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17
  • 18. การปฏิวัติของชาวอเมริกัน ค.ศ. 1776 สหรัฐอเมริกาเคยอยู่ภายใต้การครอบครองของอังกฤษ เขตอาณา นิคมในดินแดนนี้3 เขต เขตอาณานิคมนิวอิงแลนด์ เขตอาณานิคม และเขตอาณานิคมภาคใต้ รวมอาณานิคม 13 แห่ง ชาวอังกฤษที่อพยพไปตัง้รกรากในสหรัฐอเมริกาในระยะแรกมี ความผูกพันกับเมืองแม่ของตนเองด้วยการยอมรับนับถือกษัตริย์อังกฤษ เป็นกษัตริย์ของตน และรวมกันปกครองตนเองในรูปแบบอาณานิคมขึน้ ตรงต่ออังกฤษ แต่ต่อมาเมื่ออังกฤษทาสงครามยืดเยือ้กับฝรั่งเศส อังกฤษต้องใช้เงินจานวนมาก รัฐบาลอังกฤษจึงหันมาขูดรีด ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของชาวอาณานิคมด้วยการเก็บภาษีชาว อาณานิคมอย่างรุนแรงและเอาเปรียบทางการค้า
  • 19. การปฏิวัติของชาวอเมริกัน ค.ศ. 1776 นอกจากนียั้งมีการคุกคามสิทธิและเสรีภาพทางการเมือง โดย รัฐสภาอังกฤษออกพระราชบัญญัติควิเบก ตามพระบัญญัตินีอั้งกฤษมี สิทธิที่จะยับยัง้สิทธิและเสรีภาพของชาวอาณานิคมได้ อีกทัง้ยังให้ เสรีภาพทางการเมือง ทางศาสนาแก่พวกคาทอลิคด้วย สร้างความไม่ พอใจแก่ชาวอาณานิคมเป็นอย่างมาก ในวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 ชาวอาณานิคมจึงพร้อมใจกัน ประกาศอิสรภาพจากอังกฤษ ทางฝ่ายอังกฤษส่งทหารมาปราบ กลายเป็นสงคราม เรียกว่า สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกัน ชาว อาณานิคมได้รับความช่วยเหลือจากฝรั่งเศสและเป็นฝ่ายชนะ ใน ค.ศ. 1783 ได้ตัง้เป็นประเทศใหม่ คือ สหรัฐอเมริกา มีประธานาธิบดีเป็น ประมุข
  • 20. การปฏิวัติของชาวอเมริกัน ค.ศ. 1776 ชาวอเมริกันมีความคิดและจิตใจที่ยึดมนั่ในระบอบประชาธิปไตย สามารถวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตยได้อย่างมนั่คง ประธานาธิบดีอเมริกันผู้มีชื่อเสียงในการส่งเสริมระบอบประชาธิปไตยและ ความเสมอภาคในหมู่ประชาชนคือ ประธานาธิบดีเอบราแฮม ลิงคอล์น ได้ ประกาศเลิกทาสและให้ความเสมอภาคแก่ชาวผิวดา ฝรั่งเศสได้ตัวอย่างการให้สิทธิประชาชนทุกคนเท่าเทียมกัน ไม่มีการ แบ่งชนชัน้ และไม่ให้ศาสนาเข้ามามีบทบาททางการเมืองจากอเมริกา
  • 21. การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 การปฏิวัติฝรั่งเศส เกิดจากปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สาเหตุของปัญหาเศรษฐกิจก็คือฝรั่งเศสต้องทาสงครามหลายครัง้ สงครามที่สิน้เปลืองมากที่สุด คือ การเข้าช่วยอาณานิคมรบกับอังกฤษ ในสงครามประกาศอิสรภาพอเมริกัน ในด้านสังคม ฝรั่งเศสมีโครงสร้าง สังคมแบบชนชัน้ซงึ่เป็นอุปสรรคต่อการบริหารประเทศ โดยมีการแบ่ง ชาวฝรั่งเศสออกเป็น 3 ฐานันดร 1. นักบวชนิกายโรมันคาทอลิก 2. ขุนนางและพวกผู้ดีมีตระกูล 3. ชนชัน้กลาง ชาวนาและกรรมกร
  • 22. การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 เมื่อฝรั่งเศสกาลังจะล้มละลาย เสนาบดีคลังเสนอให้มีการเก็บภาษี จากประชาชนทุกคน แต่ก็ถูกต่อต้านจากฐานันดรที่ 1 และ 2 ที่ไม่เคย จ่ายภาษีมาก่อน ปัญญาชนชาวฝรั่งเศสพยายามหาทางแก้ไข สถานการณ์ต่างๆให้ดีขึน้ อังกฤษซึ่งปกครองในระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และกาลัง เจริญรุ่งเรืองจึงกลายเป็นแม่แบบให้กลุ่มปัญญาชนชาวฝรั่งเศสที่จะหา หนทางให้ชาวฝรั่งเศสได้ชื่นชมกับเสรีภาพอย่างชาวอังกฤษบ้าง นอกจากนีช้าวฝรั่งเศสเองยังมีความเชื่อว่าการปกครองแบบมีรัฐสภา หรือรัฐบาลประชาธิปไตย จะนาความมงั่คงั่มาสู่ประเทศได้
  • 23. การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 ต่อมางานวรรณกรรมทางการเมืองของล็อก มองเตสกิเออร์ วอท แตร์ และ รูโซ รวมทัง้ปัญญาชนคนอื่นๆ สร้างเงื่อนไขอันก่อให้เกิด ความหวังใหม่ขึน้มาในหมู่ประชาชน ความคิดดังกล่าวเป็นรูปธรรมมาก ขึน้เมื่อชาวอเมริกันได้ก่อการปฏิวัติ เพื่อแยกตัวเองเป็นอิสระจาการเป็น อาณานิคมของอังกฤษ ดังนัน้อีก 13 ปีต่อมา ชาวฝรั่งเศสได้ก่อการ ปฏิวัติครัง้ใหญ่เพื่อล้มล้างอานาจการปกครองแบบราชาธิปไตย และ ต่อมาได้จัดตัง้ระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ
  • 24. การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 การปฏิวัติฝรั่งเศส ได้ส่งผลกระทบให้แนวคิดเรื่องเสรีภาพ ความเสมอ ภาค และภารดรภาพ แพร่กระจายไปทวั่ทวีปยุโรป โดยผ่านการที่ฝรั่งเศสทา สงครามยึดครองประเทศต่างๆ ในยุโรปในช่วงสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสแม้ว่า ท้ายที่สุดฝรั่งเศสต้องพ่ายแพ้ก็ตาม คาประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองของฝรั่งเศสที่ประกาศเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม ค.ศ. 1789 กล่าวได้ว่า แนวความคิดประชาธิปไตยของล็อก มองเตสกิเออร์ วอทแตร์ และรูโซ มีผลในการปลุกเร้าจิตสานึกทางการเมือง ของชาวตะวันตกเป็นอันมาก และก่อให้เกิดการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซงึ่ ประชาธิปไตยในประเทศต่างๆ เหตุการณ์ปฏิวัติทางการเมืองโดยเฉพาะการ ปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 เป็นแม่แบบให้ชาวตะวันตกร่วมเรียกร้องสิทธิ เสรีภาพทางการทางการเมืองมากขึน้
  • 25. จัดทาโดย นางสาว จิรัชญา จัดวัฒนกุล ม.6.5 เลขที่ 5 นางสาว ชัญญาพัชญ์ โพธิธิพิพิธธนากร ม.6.5 เลขที่ 8