SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
ใบความรู้ ที 15
                                 เรือง การสร้ างตารางและการเชือมโยง



           การสร้างเวบเพจใน ปั จจุบนมีการนําตารางเข้ามาเกียวข้องกับหลาย ๆ ส่วน ตังแต่การสร้างตารางเพือแสดง
                                    ั
ความสัมพันธ์ในลักษณะแถว (Row) และคอลัมน์
                                  ั                                            ่
(Column) รวมถึงการแบ่งขอบเขตให้กบข้อความเพือการจํากัดและควบคุมข้อความให้อยูในส่วนทีเราต้องการ



           คําสังสําหรับสร้างตารางประกอบด้วยคําสังดังนี

                           Tag                                             คําอธิบาย
                    <TABLE> ... </TABLE>                   คําสังในการสร้างตาราง
                  <CAPTION> ... </CAPTION>                 คําสังในการกําหนดข้อความกํากับตาราง
                       <TR> ... </TR>                      คําสังในการกําหนดแถวของตาราง 1 แถว
                       <TH> ... </TH>                      คําสังในการกําหนดส่วนหัวของตารางแถว
                                                          แรก
                          <TD> ... </TD>                   คําสังในการกําหนดคอลัมน์ของข้อมูลในแถว


                                           ตัวอย่ าง การสร้างตาราง 5 แถว 3 คอลัมน์




          ภาพแสดงการใช้คาสังสร้างตาราง
                        ํ                                            ภาพแสดงผลของการใช้คาสังสร้างตาราง
                                                                                        ํ
จากภาพมีการใช้คาสัง <tr> จํานวน 5 ชุด แสดงว่าเป็ นการสร้างตาราง 5 แถว และในแต่ละแถว มีการใช้
                                  ํ
คําสัง <td> จํานวน 3 ชุด แสดงว่าในแต่ละแถว แบ่งออกเป็ น 3 คอลัมน์



       ในการสร้างตาราง จําเป็ นต้องมาการตกแต่งตาราง เช่น ขนาดของตาราง สี เส้นขอบ หรื อสี พนในตาราง เป็ นต้น ซึง
                                                                                          ื
คําสังทีใช้ในการตกแต่งตาราง มีดงนี
                                 ั

         1. เส้ นขอบ
                 เป็ นการกําหนดเส้นขอบให้ กับตารางคือเส้นขอบภายนอกและเส้นภายในหากไม่มีการกําหนดเส้นขอบจะ
ไม่แสดงที เบราเซอร์ จะกําหนดไว้ในคําสัง
TABLE คือคําสัง BORDER
           รู ปแบบ
                  <TABLE BORDER = ความหนาของเส้นขอบ >
              ความหนาของเส้นขอบทังภายในและภายนอกโดยกําหนดเป็ นตัวเลขและมีหน่วยเป็ นพิก เซล เช่น 1, 2, 3 เป็ น
ต้น หากไม่กาหนดจะมีค่าเป็ น 0 เสมอ คือไม้มีเส้นขอบของตาราง ถ้าต้องการมีเส้นขอบตอรางหนา ให้กาหนดเป็ นค่าตัวเลข
            ํ                                                                              ํ
มาก ๆ

            ตัวอย่ าง   การกําหนดเส้นขอบมีขนาดเท่ากับ 1




                                         ภาพแสดงการใช้คาสัง BORDER
                                                       ํ

           2. สีของเส้ นขอบ
                                      ั                                     ํ
                 เป็ นการเปลียนสี ให้กบเส้นขอบภายในและภายนอกของตาราง หากไม่กาหนดจะเป็ นสี ดาในการกําหนดสี
                                                                                           ํ
ต้องกําหนดเส้นขอบของตารางก่อน โด
ยใช้คาสัง BORDERCOLOR
     ํ
รู ปแบบ
                  <TABLE BORDERCOLOR = สี ของเส้นขอบ>




             ตัวอย่ าง การกําหนดสี เส้นเป็ นสี นาเงิน
                                                ํ                        ภาพแสดงการใช้คาสัง BORDERCOLOR
                                                                                       ํ

          3. ขนาดของตาราง
             เป็ นการกําหนดความกว้าง (WIDTH) และความสูง (HEIGHT) ของตารางต้องทําการกําหนดเส้นขอบก่อน ใน
การกําหนดขนาดมีหน่วย เป็ น
เปอร์เซ็นต์หรื อพิกเซลได้
               รู ปแบบ
                     <TABLE WIDTH = " ขนาดความกว้าง " HEIGHT = " ขนาดความสูง "> เช่น
                     <table border=1 width = "300" height = "180"> เป็ นการสร้างตารางทีมีเส้นขอบหนาเท่ากับ 1
กว้าง 300 พิกเซล สูง 180 พิกเซล
                     <table border=3 width = "90%" height="200" > เป็ นการสร้างตารางทีมีเส้นขอบหนาเท่ากับ 3 กว้าง
90% สูง 200 พิกเซล
ตัวอย่ าง การสร้างตารางกว้าง 300 พิกเซล สูง 200 พิกเซล




                ภาพแสดงการกําหนดขนาดของ ตาราง                                      ภาพแสดงผลลัพธ์การกําหนด
                                                                                       ขนาดของตาราง

     4. สีพนตาราง
            ื=
          กําหนดสี พืนของตาราง สามารถกําหนดทังตาราง ทังแถว หรื อเฉพาะเซลล์ใดเซลล์หนึงโดยใช้คาสัง
                                                                                            ํ
BGCOLOR

              4.1 การกําหนดสี ทงตาราง ใช้คาสัง <table bgcolor="ชือสี พืนตาราง"> เช่น <table bgcolor = "green">
                               ั          ํ

              4.2 การกําหนดสี ทงแถวเป็ นสี เดียวกัน ใช้คาสัง bgcolor กําหนดไว้ในส่วน <tr> เช่น <tr bgcolor =
                               ั                        ํ
"green">

              4.3 การกําหนดสี เฉพาะเซลล์ทีต้องการ ใช้คาสัง bgcolor กําหนดไว้ในส่วน <td> เช่น <td bgcolor =
                                                      ํ
"green">

         5. การจัดตําแหน่ งตาราง
               เป็ นการกําหนดตําแหน่งของตารางๆบนเบราเซอร์ โดยใช้คาสัง ALIGN กําหนดไว้ในคําสัง <TABLE>
                                                                  ํ
       ํ                 ่ ้
หากไม่กาหนดตารางจะอยูดานซ้ายของจอเบราเซอร์
             รู ปแบบ
                     <TABLE ALIGN = "ตําแหน่ง">
             ตําแหน่งในการจัดวางตารางบนหน้าจอเบราเซอร์ มีชิดซ้าย (LEFT), ชิดขวา (RIGHT) และกึงกลาง
(CENTER)
6. การกําหนดตําแหน่ งข้ อความในตาราง

               6.1 จัดตําแหน่งข้อความตามแนวนอน จะมี 3 ตําแหน่ง คือ ซ้าย (left) , กึงกลาง (center) และ ขวา (right)
ตัวอย่างเช่น
                      - จัดกึงกลางทังแถว ใช้คาสัง <tr align="center">
                                             ํ
                     - จัดชิดขวาเฉพาะช่องใดช่องหนึง ใช้คาสัง <td align="right">
                                                           ํ

               6.2 จัดตําแหน่งข้อความตามแนวตัง ประกอบด้วย ชิดขอบบน (TOP) , ชิดขอบล่าง (BOTTOM) , กึงกลาง
(Middle)
                    - การจัดตําแหน่งข้อความชิดขอบบน
                                              ่                 ํ
                           ในการจัดข้อความอยูชิดขอบบนทังแถว ให้กาหนดไว้ในคําสัง <TR> เช่น <TR VALIGN =
"TOP">
                                            ่                       ํ
                          ในการจัดข้อความอยูชิดขอบบน เฉพาะเซลล์ ให้กาหนดไว้ในคําสัง <TD> เช่น <TD VALIGN
= "TOP">




   ความหมาย

              การลิงค์ เป็ นการเชือมโยงข้อมูลเอกสารบนเว็บเพจ จากจุดหนึงไปยังจุดทีต้องการ หรื อจากเว็บไซต์หนึงไปยัง
                                                                  ํ
  อีกเว็บไซต์หนึง ลักษณะตัวอักษรแตกต่างไปจากเดิม หากไม่กาหนดการเชือมโยงข้อความทีเป็ นตัวเชือมโยงตัวอักษรจะ
  เป็ นสี นาเงิน และมีขีดเส้นใต้ หรื อเชือมโยงด้วยรู ปภาพก็ได้ เมือเลือนเมาส์มาชีบริ เวณข้อความหรื อรู ปภาพ ทีมีการ
           ํ
  เชือมโยงจะเป็ นรู ปนิวมือ หากเชือมโยงเสร็ จแล้วกลับมาทีเดิม สี ของข้อความจะเปลียนไปจากสี นาเงิน แสดงว่าข้อความ
                                                                                                   ํ
  นันผ่านการเชือมโยงมาแล้ว
   ประเภทของการลิงค์

           การกําหนดลิงค์ในภาษา HTML มี 2 ประเภท ดังนี

           1. ลิงค์ภายใน (Internal Link)

                 เป็ นการเชือมโยงเอกสาร ภายในเว็บไซต์เดียวกัน ไม่ได้เชือมโยงข้ามเว็บไซต์อืน โดยการใช้คาสัง <A
                                                                                                      ํ
  HREF= "ชือเว็บเพจ">
  เช่น <A HREF="student.html">ข้อมูลนักเรี ยน </A>
2. ลิงค์ภายนอก (External Link)

               เป็ นการเชือมโยงเอกสาร ข้ามเว็บไซต์ต่าง ๆ ในระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต (URL) โดยการใช้คาสัง <A
                                                                                                      ํ
HREF= "ชือเว็บไซต์">
เช่น <A HREF="http://www.hotmail.com">รับ-ส่งจดหมาย</A>




                                        ํ
            คําสัง <A> เป็ นคําสังทีใช้กาหนดการเชือมโยง สามารถใช้เชือมโยงข้อมูลภายในเว็บเพจเดียวกัน ประกอบด้วย
     แอตทริ บิวต์ NAME และ HREF



                                                                 ่
            NAME เป็ น แอตทริ บิวต์ในการกําหนดชือส่วนต่าง ๆ ทีอยูใน หน้าเอกสารทีต้องการเชือมโยง เพือสะดวกในการใช้
            คําสังเชือมโยงข้อมูลภายในเอกสาร


    รู ปแบบคําสัง
                     <A NAME = Label>.....ข้อความ.....</A>
    โดยที
                     Label คือ ชือของข้อมูลในตําแหน่งของเอกสารทีต้องการกําหนด เพือให้ทราบว่า ต้องการเชือมโยงไปยัง
                     ตําแหน่งใด


              ็                           ํ
             ◌HREF เป็ นแอตทริ บิวต์ทีใช้กาหนดเป้ าหมายทีต้องการเชือมโยงไป โดยการใส่ Label ของข้อมูลทีต้องการเชือมโยง
             และใส่ขอความทีแสดงให้ทราบว่าได้เชือมโยง ไปยังส่วนใดของหน้าเอกสาร
                    ้
  รู ปแบบ
  คําสัง
                 <A HREF =#Label>.....ข้ อความ.....</A>


  โดยที
                 Label คือชือตําแหน่งข้อมูลในเอกสารทีกําหนดไว้ เพือใช้ในการเชือมโยงข้อมูลทีต้องการ โดยการกําหนดชือ
                 ตําแหน่งทีต้องการจะเชือมโยงจะต้องใส่เครื องหมาย # นําหน้าเพือให้ทราบว่าเป็ นการเชือมโยงในเอกสารหน้า
                 เดียวกัน
ตัวอย่าง


           <html>
           <head>
              <title> การเชือมโยงภายในเว็บเพจเดียวกัน </title>
           </head>
           <body>
           <b> ผลงานดีเด่น 3 ปี การศึกษา</b><br><br>
           <a name="top">
           <a href="#2550">ผลงานดีเด่นปี การศึกษา 2550</a><br>
           <a href="#2551">ผลงานดีเด่นปี การศึกษา 2551</a><br>
           <a href="#2552">ผลงานดีเด่นปี การศึกษา 2552</a><br>

           <a name="2550">
           <b>ผลงานดีเด่นปี การศึกษา 2550</b><br>
               1. ................................... <br><br><br>
               2. ................................... <br><br><br>
               3. ................................... <br><br><br>
               4. ................................... <br><br><br>
               5. ................................... <br><br><br>

                            <a href="#top">กลับบนสุด</a><br>

           <a name="2551">
           <b>ผลงานดีเด่นปี การศึกษา 2551</b><br>
               1. ................................... <br><br><br>
               2. ................................... <br><br><br>
               3. ................................... <br><br><br>
               4. ................................... <br><br><br>
               5. ................................... <br><br><br>
                             <a href="#top">กลับบนสุด</a><br>

           <a name="2552">
           <b>ผลงานดีเด่นปี การศึกษา 2552</b><br>
               1. ................................... <br><br><br>
               2. ................................... <br><br><br>
               3. ................................... <br><br><br>
4. ................................... <br><br><br>
             5. ................................... <br><br><br>
                           <a href="#top">กลับบนสุด</a><br>

         </body>
         </html>


            จากตัวอย่างมีการใช้ <br> หลายครัง เพือให้เห็นผลลัพธ์ชดเจน ซึงการเชือมโยงลักษณะนี จะเหมาะสําหรับเอกสารทีมีความยาวมาก
                                                                 ั
เพือให้ดูขอมูลได้สะดวกไม่ตองเลือน Scrollbar มาก
          ้                 ้
คําสัง <A HREF> เป็ นคําสังทีใช้ในการเชือมโยงเอกสาร โดยมีแอตทริ บิวต์ HREF ในการเชือมโยงไปยังไฟล์อืน
     จะต้องระบุชือหน้าเว็บเพจทีต้องการด้วย .HTMLหรื อ .HTM (เอกสารนันเป็ น HTML)


     รู ปแบบคําสัง
                         <A HREF = /Path/Filename.html >.....ข้อความ.....</A>


     โดยที
                         HREF คือ แอตทริ บิวต์ทีใช้ในการเชือมโยงข้อมูล
                         Path คือ การระบุตาแหน่งของไฟล์ทีต้องการเชือมโยงถึง
                                          ํ
                         Filename.html คือ ชือของไฟล์ทีต้องการเชือมโยงไปถึง


ตัวอย่างการลิงค์ต่างเว็บเพจ (กรณี แต่ละเว็บเพจอยูในโฟล์เดอร์เดียวกัน จึงไม่ตองใส่ Path)
                                                 ่                          ้



      <html>
      <head>
          <title> การเชือมโยงต่างเว็บเพจ</title>
      </head>
      <body>
      <b> อาหารชาวอีสาน </b><br><br>
      <a href="food1.html">ส้มตํา</a><br>
                                 ่
      <a href="food2.html">ไก่ยาง</a><br>
      <a href="food3.html">ปลาเผา</a><br>
      </body>
      </html>
                                                บันทึกชือ menu.html

             ตัวอย่างข้างบนเป็ นการเชือมโยงไปยังเว็บเพจอืนหรื อไฟล์อืน จากตัวอย่างเป็ นการเชือมโยงไปยัง
                                     ่
      เว็บเพจส้มตํา (food1.html) ไก่ยาง (food2.html) และปลาเผา (food3.html)
<html>
<head>
    <title>ส้มตํา</title>
</head>
<body>
<b> ส้มตํา </b><br><br>
         ส้มตําเป็ น
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br>
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
<br>
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
<br>
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
<br>
<br>
<a href="menu.html">กลับเมนู</a><br>
</body>
</html>
                                     บันทึกชือ food1.html

      ตัวอย่างข้างบนเป็ นเว็บเพจส้มตํา โดยให้รายละเอียดเกียวกับส้มตํา ตอนท้ายของเว็บเพจมีการ
เชือมโยงกลับไปยังหน้าเมนู (menu.html)


<html>
<head>
              ่
   <title>ไก่ยาง</title>
</head>
<body>
         ่
<b> ไก่ยาง </b><br><br>
            ่
        ไก่ยาง เป็ น
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br>
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
<br>
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
<br>
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
<br>
<br>
<a href="menu.html">กลับเมนู</a><br>
</body>
</html>
                                     บันทึกชือ food2.html

                                    ่                              ่
      ตัวอย่างข้างบนเป็ นเว็บเพจไก่ยาง โดยให้รายละเอียดเกียวกับไก่ยาง ตอนท้ายของเว็บเพจมีการ
เชือมโยงกลับไปยังหน้าเมนู (menu.html)


<html>
<head>
    <title>ปลาเผา</title>
</head>
<body>
<b> ปลาเผา </b><br><br>
         ปลาเผาเป็ น
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br>
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
<br>
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
<br>
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
<br>
<br>
<a href="menu.html">กลับเมนู</a><br>
</body>
</html>
                                     บันทึกชือ food3.html
จุดเชือมโยงนอกจากจะใช้ขอความแล้วยังสามารถใช้รูปภาพหรื อสัญลักษณ์เป็ นจุด เชือมโยงได้ เพือให้เว็บเพจมี
                              ้
                                                                ่
ความน่าสนใจและสื อความหมายได้ดียงขึน จุดสังเกตคือเมือเลือนเมาส์ผานไปยังตําแหน่งจุดเชือมโยง Mouse Pointer จะ
                                ิ
เปลียนเป็ นรู ปมือ

       รู ปแบบคําสัง
                            <A HREF = URL> <IMG SRC = Filename> </A>
       โดยที
                            HREF         คือ แอตทริ บิวต์ทีใช้ในการเชือมโยงข้อมูล
                            URL          คือ ชือของเว็บไซต์ หรือ IP Address ของเว็บไซต์ทีต้องการเชือมโยงถึง หรื อ
                                         ตําแหน่งทีเชือมโยง
                            IMG SRC      คือ คําสังทีใช้ในการแทรกรู ปภาพ
                            Filename                                                       ่
                                         คือ ชือของไฟล์รูปภาพ จะต้องระบุตาแหน่งของภาพว่าอยูในโฟลเดอร์ใด เป็ นไฟล์นามสกุลอะไร
                                                                         ํ



ตัวอย่าง


           <html>
           <head>
               <title> การเชือมโยงด้วยรู ปภาพ</title>
           </head>
           <body>
           <center>
           <b>เว็บไซต์สาหรับสื บค้นข้อมูล</b><br><br>
                         ํ
           คลิกทีรู ปภาพ search engine ทีท่านต้องการ <br>
           <a href="http://www.google.com"><img src="google.jpg"></a><br>
           <a href="http://www.yahoo.com"><img src="yahoo.jpg"></a><br>
           <a href="http://www.bing.com"><img src="bing.png"></a><br>
           </center>
           </body>
           </html>
จากตัวอย่าง จะได้เว็บเพจทีมีรูปของ Search Engine ทีสําคัญ คือ รู ป google , yahoo และ bing เมือเรานําเมาไปคลิก
ก็จะเชือมโยงไปยังเว็บไซต์นนได้
                            ั
ดังภาพ




      การเชือมโยง แบบอีเมล์ เป็ นการเชือมโยงโดยมีจุดหมาย ในการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยจะเปิ ดโปรแกรม Outlook Express และโป
           ่
กําหนดทีอยูของผูรับให้อตโนมัติ
                ้      ั


       รู ปแบบคําสัง
                         <A HREF="mailto:E-mai Address"> ข้อความ </A>
       โดยที
                         mailto คือการกําหนดการเชือมโยงโดยการใช้อีเมล
                         :E-mai Address คือ อีเมลทีต้องการเชือมโยง

ตัวอย่าง
<html>
                      <head>
                          <title> การเชือมโยงไปอีเมล์</title>
                      </head>
                      <body>
                      <center>
                      <b>การเชือมโยงไปอีเมล์</b><br><br>
                      <a href="mailto:krusomrin@hotmail.com">ติดต่อผูดูแลระบบ</a>
                                                                     ้
                      </center>
                      </body>
                      </html>




คําสัง <BODY Link> เป็ นคําสังทีใช้ในการกําหนดสี ของตัวอักษรก่อนทีจะมีการคลิก เพือเชือมโยงไปยังข้อมูลทีต้องการ
การกําหนดสี ของตัวอักษรทีใช้ในการเชือมโยงข้อมูล และการจะให้มีการขีดเส้นใต้ตวอักษร
                                                                             ั


    รู ปแบบคําสัง
                    <BODY LINK = "#Color" ALINK = "#Color" VLINK = "#Color">
    โดยที
                    LINK                            ํ
                              คือ แอตทริ บิวต์ทีใช้กาหนดสี ของตัวอักษร ก่อนการคลิก
ALINK        คือ แอตทริ บิวต์ทีใช้ในการกําหนดสี ของตัวอักษรใน ขณะทีมีการคลิก
     VLINK        คือ แอตทริ บิวต์ทีใช้ในการกําหนดสี ของตัวอักษรทีใช้ในการเชือมโยงข้อมูล หลังจากการ
                  คลิก
     #Color       คือ สี ของตัวอักษรก่อนทีจะคลิกเพือเชือมโยงข้อมูล โดยกําหนดเป็ นชือสี หรื อกําหนดเป็ น
                  เลขฐานสิ บหกซึงจะต้องมีเครื องหมาย # นําหน้า


ตัวอย่าง


           <HTML>
           <HEAD>
           <TITLE> การกําหนดสี ตวอักษรทีใช้เชือมโยง</TITLE>
                                ั
           </HEAD>
           <BODY LINK=#33FF00 VLINK=#3300FF ALINK=#FF0000>
           <CENTER>
           <B>การกําหนดสี ตวอักษรทีใช้เชือมโยง</B> <BR><BR>
                           ั
           <B> ภาพอาหารไทยอีสาน</B> <BR><BR>
           <A HREF="somtam.html">ส้มตํา</A><BR>
                                        ่
           <A HREF="kaiyang.html">ไก่ยาง</A><BR>
           <A HREF="fish.html">ปลาเผา</A><BR>
           </CENTER>
           </BODY>
           </HTML>
Lernning 15

Contenu connexe

Tendances (6)

Word2007
Word2007Word2007
Word2007
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
 
Html
HtmlHtml
Html
 
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
 
Spss sriprapai
Spss sriprapaiSpss sriprapai
Spss sriprapai
 
บท6
บท6บท6
บท6
 

En vedette

2013 11 20 launching event AQ en
2013 11 20 launching event AQ en2013 11 20 launching event AQ en
2013 11 20 launching event AQ enSAFE HOST PROJECT
 
Trial spm times_2013_maths_paper1_2_[a]
Trial spm times_2013_maths_paper1_2_[a]Trial spm times_2013_maths_paper1_2_[a]
Trial spm times_2013_maths_paper1_2_[a]Karthik Karunanithy
 
Part 1 sql model clause
Part 1 sql model clausePart 1 sql model clause
Part 1 sql model clauseGirija Muscut
 
Actividades lúdicas
Actividades lúdicasActividades lúdicas
Actividades lúdicasjannice1991
 
Magento get admin user id
Magento get admin user idMagento get admin user id
Magento get admin user idtutorialsplane
 
Intro to SSDP - West Virginia University Chapter
Intro to SSDP - West Virginia University ChapterIntro to SSDP - West Virginia University Chapter
Intro to SSDP - West Virginia University ChapterTheStacia
 
Intead suny presentation 2014 final
Intead   suny presentation 2014 finalIntead   suny presentation 2014 final
Intead suny presentation 2014 finalMichael Waxman-Lenz
 
Putt People First Slide Show
Putt People First Slide ShowPutt People First Slide Show
Putt People First Slide Showmilliken david
 
Мультигонка от SmartGames
Мультигонка от SmartGamesМультигонка от SmartGames
Мультигонка от SmartGamesSmartGames
 
Газета Мала Батьківщина №1 (2012)
Газета Мала Батьківщина №1 (2012)Газета Мала Батьківщина №1 (2012)
Газета Мала Батьківщина №1 (2012)Sergii Illiukhin
 

En vedette (15)

Cambridge
CambridgeCambridge
Cambridge
 
Binae lailahailallah
Binae lailahailallahBinae lailahailallah
Binae lailahailallah
 
Sound ppt
Sound pptSound ppt
Sound ppt
 
2013 11 20 launching event AQ en
2013 11 20 launching event AQ en2013 11 20 launching event AQ en
2013 11 20 launching event AQ en
 
Gaki i rumi 6b
Gaki i rumi 6bGaki i rumi 6b
Gaki i rumi 6b
 
Cartel de pinturas
Cartel de pinturasCartel de pinturas
Cartel de pinturas
 
Trial spm times_2013_maths_paper1_2_[a]
Trial spm times_2013_maths_paper1_2_[a]Trial spm times_2013_maths_paper1_2_[a]
Trial spm times_2013_maths_paper1_2_[a]
 
Part 1 sql model clause
Part 1 sql model clausePart 1 sql model clause
Part 1 sql model clause
 
Actividades lúdicas
Actividades lúdicasActividades lúdicas
Actividades lúdicas
 
Magento get admin user id
Magento get admin user idMagento get admin user id
Magento get admin user id
 
Intro to SSDP - West Virginia University Chapter
Intro to SSDP - West Virginia University ChapterIntro to SSDP - West Virginia University Chapter
Intro to SSDP - West Virginia University Chapter
 
Intead suny presentation 2014 final
Intead   suny presentation 2014 finalIntead   suny presentation 2014 final
Intead suny presentation 2014 final
 
Putt People First Slide Show
Putt People First Slide ShowPutt People First Slide Show
Putt People First Slide Show
 
Мультигонка от SmartGames
Мультигонка от SmartGamesМультигонка от SmartGames
Мультигонка от SmartGames
 
Газета Мала Батьківщина №1 (2012)
Газета Мала Батьківщина №1 (2012)Газета Мала Батьківщина №1 (2012)
Газета Мала Батьківщина №1 (2012)
 

Similaire à Lernning 15

ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ Areeya Onnom
 
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตารางใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตารางMeaw Sukee
 
CSS คืออะไร?
CSS คืออะไร?CSS คืออะไร?
CSS คืออะไร?Somsak Phusririt
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน0882324871
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลบทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลniwat50
 
บทที่ 8 จัดข้อมูลให้เป็นสัดส่วนด้วยตาราง
บทที่ 8 จัดข้อมูลให้เป็นสัดส่วนด้วยตารางบทที่ 8 จัดข้อมูลให้เป็นสัดส่วนด้วยตาราง
บทที่ 8 จัดข้อมูลให้เป็นสัดส่วนด้วยตารางNattipong Siangyen
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4Chainarong Ngaosri
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบรายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบPoppy Love
 
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบรายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบPoppy Love
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตารางssuseraa96d2
 

Similaire à Lernning 15 (20)

ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตารางใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
 
CSS คืออะไร?
CSS คืออะไร?CSS คืออะไร?
CSS คืออะไร?
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
Excel
ExcelExcel
Excel
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
บท3
บท3บท3
บท3
 
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลบทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
 
บท3
บท3บท3
บท3
 
บทที่ 8 จัดข้อมูลให้เป็นสัดส่วนด้วยตาราง
บทที่ 8 จัดข้อมูลให้เป็นสัดส่วนด้วยตารางบทที่ 8 จัดข้อมูลให้เป็นสัดส่วนด้วยตาราง
บทที่ 8 จัดข้อมูลให้เป็นสัดส่วนด้วยตาราง
 
Html
HtmlHtml
Html
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบรายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
 
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบรายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตาราง
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
5 html
5 html5 html
5 html
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 

Plus de Mayuree Janpakwaen (20)

Job 15
Job 15Job 15
Job 15
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
Job 14
Job 14Job 14
Job 14
 
Lernning 14
Lernning 14Lernning 14
Lernning 14
 
Job 13
Job 13Job 13
Job 13
 
Lernning 13
Lernning 13Lernning 13
Lernning 13
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
Job 08
Job 08Job 08
Job 08
 
Lernning 08
Lernning 08Lernning 08
Lernning 08
 
Job 07
Job 07Job 07
Job 07
 
Lernning 07
Lernning 07Lernning 07
Lernning 07
 
Job 5
Job 5Job 5
Job 5
 
Job 5
Job 5Job 5
Job 5
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
 
Job 4
Job 4Job 4
Job 4
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
Learnning03
Learnning03Learnning03
Learnning03
 

Lernning 15

  • 1. ใบความรู้ ที 15 เรือง การสร้ างตารางและการเชือมโยง การสร้างเวบเพจใน ปั จจุบนมีการนําตารางเข้ามาเกียวข้องกับหลาย ๆ ส่วน ตังแต่การสร้างตารางเพือแสดง ั ความสัมพันธ์ในลักษณะแถว (Row) และคอลัมน์ ั ่ (Column) รวมถึงการแบ่งขอบเขตให้กบข้อความเพือการจํากัดและควบคุมข้อความให้อยูในส่วนทีเราต้องการ คําสังสําหรับสร้างตารางประกอบด้วยคําสังดังนี Tag คําอธิบาย <TABLE> ... </TABLE> คําสังในการสร้างตาราง <CAPTION> ... </CAPTION> คําสังในการกําหนดข้อความกํากับตาราง <TR> ... </TR> คําสังในการกําหนดแถวของตาราง 1 แถว <TH> ... </TH> คําสังในการกําหนดส่วนหัวของตารางแถว แรก <TD> ... </TD> คําสังในการกําหนดคอลัมน์ของข้อมูลในแถว ตัวอย่ าง การสร้างตาราง 5 แถว 3 คอลัมน์ ภาพแสดงการใช้คาสังสร้างตาราง ํ ภาพแสดงผลของการใช้คาสังสร้างตาราง ํ
  • 2. จากภาพมีการใช้คาสัง <tr> จํานวน 5 ชุด แสดงว่าเป็ นการสร้างตาราง 5 แถว และในแต่ละแถว มีการใช้ ํ คําสัง <td> จํานวน 3 ชุด แสดงว่าในแต่ละแถว แบ่งออกเป็ น 3 คอลัมน์ ในการสร้างตาราง จําเป็ นต้องมาการตกแต่งตาราง เช่น ขนาดของตาราง สี เส้นขอบ หรื อสี พนในตาราง เป็ นต้น ซึง ื คําสังทีใช้ในการตกแต่งตาราง มีดงนี ั 1. เส้ นขอบ เป็ นการกําหนดเส้นขอบให้ กับตารางคือเส้นขอบภายนอกและเส้นภายในหากไม่มีการกําหนดเส้นขอบจะ ไม่แสดงที เบราเซอร์ จะกําหนดไว้ในคําสัง TABLE คือคําสัง BORDER รู ปแบบ <TABLE BORDER = ความหนาของเส้นขอบ > ความหนาของเส้นขอบทังภายในและภายนอกโดยกําหนดเป็ นตัวเลขและมีหน่วยเป็ นพิก เซล เช่น 1, 2, 3 เป็ น ต้น หากไม่กาหนดจะมีค่าเป็ น 0 เสมอ คือไม้มีเส้นขอบของตาราง ถ้าต้องการมีเส้นขอบตอรางหนา ให้กาหนดเป็ นค่าตัวเลข ํ ํ มาก ๆ ตัวอย่ าง การกําหนดเส้นขอบมีขนาดเท่ากับ 1 ภาพแสดงการใช้คาสัง BORDER ํ 2. สีของเส้ นขอบ ั ํ เป็ นการเปลียนสี ให้กบเส้นขอบภายในและภายนอกของตาราง หากไม่กาหนดจะเป็ นสี ดาในการกําหนดสี ํ ต้องกําหนดเส้นขอบของตารางก่อน โด ยใช้คาสัง BORDERCOLOR ํ
  • 3. รู ปแบบ <TABLE BORDERCOLOR = สี ของเส้นขอบ> ตัวอย่ าง การกําหนดสี เส้นเป็ นสี นาเงิน ํ ภาพแสดงการใช้คาสัง BORDERCOLOR ํ 3. ขนาดของตาราง เป็ นการกําหนดความกว้าง (WIDTH) และความสูง (HEIGHT) ของตารางต้องทําการกําหนดเส้นขอบก่อน ใน การกําหนดขนาดมีหน่วย เป็ น เปอร์เซ็นต์หรื อพิกเซลได้ รู ปแบบ <TABLE WIDTH = " ขนาดความกว้าง " HEIGHT = " ขนาดความสูง "> เช่น <table border=1 width = "300" height = "180"> เป็ นการสร้างตารางทีมีเส้นขอบหนาเท่ากับ 1 กว้าง 300 พิกเซล สูง 180 พิกเซล <table border=3 width = "90%" height="200" > เป็ นการสร้างตารางทีมีเส้นขอบหนาเท่ากับ 3 กว้าง 90% สูง 200 พิกเซล
  • 4. ตัวอย่ าง การสร้างตารางกว้าง 300 พิกเซล สูง 200 พิกเซล ภาพแสดงการกําหนดขนาดของ ตาราง ภาพแสดงผลลัพธ์การกําหนด ขนาดของตาราง 4. สีพนตาราง ื= กําหนดสี พืนของตาราง สามารถกําหนดทังตาราง ทังแถว หรื อเฉพาะเซลล์ใดเซลล์หนึงโดยใช้คาสัง ํ BGCOLOR 4.1 การกําหนดสี ทงตาราง ใช้คาสัง <table bgcolor="ชือสี พืนตาราง"> เช่น <table bgcolor = "green"> ั ํ 4.2 การกําหนดสี ทงแถวเป็ นสี เดียวกัน ใช้คาสัง bgcolor กําหนดไว้ในส่วน <tr> เช่น <tr bgcolor = ั ํ "green"> 4.3 การกําหนดสี เฉพาะเซลล์ทีต้องการ ใช้คาสัง bgcolor กําหนดไว้ในส่วน <td> เช่น <td bgcolor = ํ "green"> 5. การจัดตําแหน่ งตาราง เป็ นการกําหนดตําแหน่งของตารางๆบนเบราเซอร์ โดยใช้คาสัง ALIGN กําหนดไว้ในคําสัง <TABLE> ํ ํ ่ ้ หากไม่กาหนดตารางจะอยูดานซ้ายของจอเบราเซอร์ รู ปแบบ <TABLE ALIGN = "ตําแหน่ง"> ตําแหน่งในการจัดวางตารางบนหน้าจอเบราเซอร์ มีชิดซ้าย (LEFT), ชิดขวา (RIGHT) และกึงกลาง (CENTER)
  • 5. 6. การกําหนดตําแหน่ งข้ อความในตาราง 6.1 จัดตําแหน่งข้อความตามแนวนอน จะมี 3 ตําแหน่ง คือ ซ้าย (left) , กึงกลาง (center) และ ขวา (right) ตัวอย่างเช่น - จัดกึงกลางทังแถว ใช้คาสัง <tr align="center"> ํ - จัดชิดขวาเฉพาะช่องใดช่องหนึง ใช้คาสัง <td align="right"> ํ 6.2 จัดตําแหน่งข้อความตามแนวตัง ประกอบด้วย ชิดขอบบน (TOP) , ชิดขอบล่าง (BOTTOM) , กึงกลาง (Middle) - การจัดตําแหน่งข้อความชิดขอบบน ่ ํ ในการจัดข้อความอยูชิดขอบบนทังแถว ให้กาหนดไว้ในคําสัง <TR> เช่น <TR VALIGN = "TOP"> ่ ํ ในการจัดข้อความอยูชิดขอบบน เฉพาะเซลล์ ให้กาหนดไว้ในคําสัง <TD> เช่น <TD VALIGN = "TOP"> ความหมาย การลิงค์ เป็ นการเชือมโยงข้อมูลเอกสารบนเว็บเพจ จากจุดหนึงไปยังจุดทีต้องการ หรื อจากเว็บไซต์หนึงไปยัง ํ อีกเว็บไซต์หนึง ลักษณะตัวอักษรแตกต่างไปจากเดิม หากไม่กาหนดการเชือมโยงข้อความทีเป็ นตัวเชือมโยงตัวอักษรจะ เป็ นสี นาเงิน และมีขีดเส้นใต้ หรื อเชือมโยงด้วยรู ปภาพก็ได้ เมือเลือนเมาส์มาชีบริ เวณข้อความหรื อรู ปภาพ ทีมีการ ํ เชือมโยงจะเป็ นรู ปนิวมือ หากเชือมโยงเสร็ จแล้วกลับมาทีเดิม สี ของข้อความจะเปลียนไปจากสี นาเงิน แสดงว่าข้อความ ํ นันผ่านการเชือมโยงมาแล้ว ประเภทของการลิงค์ การกําหนดลิงค์ในภาษา HTML มี 2 ประเภท ดังนี 1. ลิงค์ภายใน (Internal Link) เป็ นการเชือมโยงเอกสาร ภายในเว็บไซต์เดียวกัน ไม่ได้เชือมโยงข้ามเว็บไซต์อืน โดยการใช้คาสัง <A ํ HREF= "ชือเว็บเพจ"> เช่น <A HREF="student.html">ข้อมูลนักเรี ยน </A>
  • 6. 2. ลิงค์ภายนอก (External Link) เป็ นการเชือมโยงเอกสาร ข้ามเว็บไซต์ต่าง ๆ ในระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต (URL) โดยการใช้คาสัง <A ํ HREF= "ชือเว็บไซต์"> เช่น <A HREF="http://www.hotmail.com">รับ-ส่งจดหมาย</A> ํ คําสัง <A> เป็ นคําสังทีใช้กาหนดการเชือมโยง สามารถใช้เชือมโยงข้อมูลภายในเว็บเพจเดียวกัน ประกอบด้วย แอตทริ บิวต์ NAME และ HREF ่ NAME เป็ น แอตทริ บิวต์ในการกําหนดชือส่วนต่าง ๆ ทีอยูใน หน้าเอกสารทีต้องการเชือมโยง เพือสะดวกในการใช้ คําสังเชือมโยงข้อมูลภายในเอกสาร รู ปแบบคําสัง <A NAME = Label>.....ข้อความ.....</A> โดยที Label คือ ชือของข้อมูลในตําแหน่งของเอกสารทีต้องการกําหนด เพือให้ทราบว่า ต้องการเชือมโยงไปยัง ตําแหน่งใด ็ ํ ◌HREF เป็ นแอตทริ บิวต์ทีใช้กาหนดเป้ าหมายทีต้องการเชือมโยงไป โดยการใส่ Label ของข้อมูลทีต้องการเชือมโยง และใส่ขอความทีแสดงให้ทราบว่าได้เชือมโยง ไปยังส่วนใดของหน้าเอกสาร ้ รู ปแบบ คําสัง <A HREF =#Label>.....ข้ อความ.....</A> โดยที Label คือชือตําแหน่งข้อมูลในเอกสารทีกําหนดไว้ เพือใช้ในการเชือมโยงข้อมูลทีต้องการ โดยการกําหนดชือ ตําแหน่งทีต้องการจะเชือมโยงจะต้องใส่เครื องหมาย # นําหน้าเพือให้ทราบว่าเป็ นการเชือมโยงในเอกสารหน้า เดียวกัน
  • 7. ตัวอย่าง <html> <head> <title> การเชือมโยงภายในเว็บเพจเดียวกัน </title> </head> <body> <b> ผลงานดีเด่น 3 ปี การศึกษา</b><br><br> <a name="top"> <a href="#2550">ผลงานดีเด่นปี การศึกษา 2550</a><br> <a href="#2551">ผลงานดีเด่นปี การศึกษา 2551</a><br> <a href="#2552">ผลงานดีเด่นปี การศึกษา 2552</a><br> <a name="2550"> <b>ผลงานดีเด่นปี การศึกษา 2550</b><br> 1. ................................... <br><br><br> 2. ................................... <br><br><br> 3. ................................... <br><br><br> 4. ................................... <br><br><br> 5. ................................... <br><br><br> <a href="#top">กลับบนสุด</a><br> <a name="2551"> <b>ผลงานดีเด่นปี การศึกษา 2551</b><br> 1. ................................... <br><br><br> 2. ................................... <br><br><br> 3. ................................... <br><br><br> 4. ................................... <br><br><br> 5. ................................... <br><br><br> <a href="#top">กลับบนสุด</a><br> <a name="2552"> <b>ผลงานดีเด่นปี การศึกษา 2552</b><br> 1. ................................... <br><br><br> 2. ................................... <br><br><br> 3. ................................... <br><br><br>
  • 8. 4. ................................... <br><br><br> 5. ................................... <br><br><br> <a href="#top">กลับบนสุด</a><br> </body> </html> จากตัวอย่างมีการใช้ <br> หลายครัง เพือให้เห็นผลลัพธ์ชดเจน ซึงการเชือมโยงลักษณะนี จะเหมาะสําหรับเอกสารทีมีความยาวมาก ั เพือให้ดูขอมูลได้สะดวกไม่ตองเลือน Scrollbar มาก ้ ้
  • 9. คําสัง <A HREF> เป็ นคําสังทีใช้ในการเชือมโยงเอกสาร โดยมีแอตทริ บิวต์ HREF ในการเชือมโยงไปยังไฟล์อืน จะต้องระบุชือหน้าเว็บเพจทีต้องการด้วย .HTMLหรื อ .HTM (เอกสารนันเป็ น HTML) รู ปแบบคําสัง <A HREF = /Path/Filename.html >.....ข้อความ.....</A> โดยที HREF คือ แอตทริ บิวต์ทีใช้ในการเชือมโยงข้อมูล Path คือ การระบุตาแหน่งของไฟล์ทีต้องการเชือมโยงถึง ํ Filename.html คือ ชือของไฟล์ทีต้องการเชือมโยงไปถึง ตัวอย่างการลิงค์ต่างเว็บเพจ (กรณี แต่ละเว็บเพจอยูในโฟล์เดอร์เดียวกัน จึงไม่ตองใส่ Path) ่ ้ <html> <head> <title> การเชือมโยงต่างเว็บเพจ</title> </head> <body> <b> อาหารชาวอีสาน </b><br><br> <a href="food1.html">ส้มตํา</a><br> ่ <a href="food2.html">ไก่ยาง</a><br> <a href="food3.html">ปลาเผา</a><br> </body> </html> บันทึกชือ menu.html ตัวอย่างข้างบนเป็ นการเชือมโยงไปยังเว็บเพจอืนหรื อไฟล์อืน จากตัวอย่างเป็ นการเชือมโยงไปยัง ่ เว็บเพจส้มตํา (food1.html) ไก่ยาง (food2.html) และปลาเผา (food3.html)
  • 10. <html> <head> <title>ส้มตํา</title> </head> <body> <b> ส้มตํา </b><br><br> ส้มตําเป็ น xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br> xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br> xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br> xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br> <br> <a href="menu.html">กลับเมนู</a><br> </body> </html> บันทึกชือ food1.html ตัวอย่างข้างบนเป็ นเว็บเพจส้มตํา โดยให้รายละเอียดเกียวกับส้มตํา ตอนท้ายของเว็บเพจมีการ เชือมโยงกลับไปยังหน้าเมนู (menu.html) <html> <head> ่ <title>ไก่ยาง</title> </head> <body> ่ <b> ไก่ยาง </b><br><br> ่ ไก่ยาง เป็ น xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br> xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br> xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br>
  • 11. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br> <br> <a href="menu.html">กลับเมนู</a><br> </body> </html> บันทึกชือ food2.html ่ ่ ตัวอย่างข้างบนเป็ นเว็บเพจไก่ยาง โดยให้รายละเอียดเกียวกับไก่ยาง ตอนท้ายของเว็บเพจมีการ เชือมโยงกลับไปยังหน้าเมนู (menu.html) <html> <head> <title>ปลาเผา</title> </head> <body> <b> ปลาเผา </b><br><br> ปลาเผาเป็ น xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br> xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br> xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br> xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx <br> <br> <a href="menu.html">กลับเมนู</a><br> </body> </html> บันทึกชือ food3.html
  • 12. จุดเชือมโยงนอกจากจะใช้ขอความแล้วยังสามารถใช้รูปภาพหรื อสัญลักษณ์เป็ นจุด เชือมโยงได้ เพือให้เว็บเพจมี ้ ่ ความน่าสนใจและสื อความหมายได้ดียงขึน จุดสังเกตคือเมือเลือนเมาส์ผานไปยังตําแหน่งจุดเชือมโยง Mouse Pointer จะ ิ เปลียนเป็ นรู ปมือ รู ปแบบคําสัง <A HREF = URL> <IMG SRC = Filename> </A> โดยที HREF คือ แอตทริ บิวต์ทีใช้ในการเชือมโยงข้อมูล URL คือ ชือของเว็บไซต์ หรือ IP Address ของเว็บไซต์ทีต้องการเชือมโยงถึง หรื อ ตําแหน่งทีเชือมโยง IMG SRC คือ คําสังทีใช้ในการแทรกรู ปภาพ Filename ่ คือ ชือของไฟล์รูปภาพ จะต้องระบุตาแหน่งของภาพว่าอยูในโฟลเดอร์ใด เป็ นไฟล์นามสกุลอะไร ํ ตัวอย่าง <html> <head> <title> การเชือมโยงด้วยรู ปภาพ</title> </head> <body> <center> <b>เว็บไซต์สาหรับสื บค้นข้อมูล</b><br><br> ํ คลิกทีรู ปภาพ search engine ทีท่านต้องการ <br> <a href="http://www.google.com"><img src="google.jpg"></a><br> <a href="http://www.yahoo.com"><img src="yahoo.jpg"></a><br> <a href="http://www.bing.com"><img src="bing.png"></a><br> </center> </body> </html>
  • 13. จากตัวอย่าง จะได้เว็บเพจทีมีรูปของ Search Engine ทีสําคัญ คือ รู ป google , yahoo และ bing เมือเรานําเมาไปคลิก ก็จะเชือมโยงไปยังเว็บไซต์นนได้ ั ดังภาพ การเชือมโยง แบบอีเมล์ เป็ นการเชือมโยงโดยมีจุดหมาย ในการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยจะเปิ ดโปรแกรม Outlook Express และโป ่ กําหนดทีอยูของผูรับให้อตโนมัติ ้ ั รู ปแบบคําสัง <A HREF="mailto:E-mai Address"> ข้อความ </A> โดยที mailto คือการกําหนดการเชือมโยงโดยการใช้อีเมล :E-mai Address คือ อีเมลทีต้องการเชือมโยง ตัวอย่าง
  • 14. <html> <head> <title> การเชือมโยงไปอีเมล์</title> </head> <body> <center> <b>การเชือมโยงไปอีเมล์</b><br><br> <a href="mailto:krusomrin@hotmail.com">ติดต่อผูดูแลระบบ</a> ้ </center> </body> </html> คําสัง <BODY Link> เป็ นคําสังทีใช้ในการกําหนดสี ของตัวอักษรก่อนทีจะมีการคลิก เพือเชือมโยงไปยังข้อมูลทีต้องการ การกําหนดสี ของตัวอักษรทีใช้ในการเชือมโยงข้อมูล และการจะให้มีการขีดเส้นใต้ตวอักษร ั รู ปแบบคําสัง <BODY LINK = "#Color" ALINK = "#Color" VLINK = "#Color"> โดยที LINK ํ คือ แอตทริ บิวต์ทีใช้กาหนดสี ของตัวอักษร ก่อนการคลิก
  • 15. ALINK คือ แอตทริ บิวต์ทีใช้ในการกําหนดสี ของตัวอักษรใน ขณะทีมีการคลิก VLINK คือ แอตทริ บิวต์ทีใช้ในการกําหนดสี ของตัวอักษรทีใช้ในการเชือมโยงข้อมูล หลังจากการ คลิก #Color คือ สี ของตัวอักษรก่อนทีจะคลิกเพือเชือมโยงข้อมูล โดยกําหนดเป็ นชือสี หรื อกําหนดเป็ น เลขฐานสิ บหกซึงจะต้องมีเครื องหมาย # นําหน้า ตัวอย่าง <HTML> <HEAD> <TITLE> การกําหนดสี ตวอักษรทีใช้เชือมโยง</TITLE> ั </HEAD> <BODY LINK=#33FF00 VLINK=#3300FF ALINK=#FF0000> <CENTER> <B>การกําหนดสี ตวอักษรทีใช้เชือมโยง</B> <BR><BR> ั <B> ภาพอาหารไทยอีสาน</B> <BR><BR> <A HREF="somtam.html">ส้มตํา</A><BR> ่ <A HREF="kaiyang.html">ไก่ยาง</A><BR> <A HREF="fish.html">ปลาเผา</A><BR> </CENTER> </BODY> </HTML>