Accueil
Explorer
Soumettre la recherche
Mettre en ligne
S’identifier
S’inscrire
Publicité
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
Signaler
minhNguynnh15
Suivre
31 Mar 2023
•
0 j'aime
0 j'aime
×
Soyez le premier à aimer ceci
afficher plus
•
39 vues
vues
×
Nombre de vues
0
Sur Slideshare
0
À partir des intégrations
0
Nombre d'intégrations
0
Check these out next
ระบบประสาท
flimgold
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
สำเร็จ นางสีคุณ
โครงสร้างของระบบประสาท
Wan Ngamwongwan
งาน ส่วนประกอบของสมอง
Pongsatorn Srivhieang
บทที่3 Basic Of Physiological
Tuk Diving
พฤติกรรมสัตว์
Pattiya Lasutti
โครงสร้างของระบบประสาท
nokbiology
ระบบประสาท
auttapornkotsuk
1
sur
25
Top clipped slide
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
31 Mar 2023
•
0 j'aime
0 j'aime
×
Soyez le premier à aimer ceci
afficher plus
•
39 vues
vues
×
Nombre de vues
0
Sur Slideshare
0
À partir des intégrations
0
Nombre d'intégrations
0
Télécharger maintenant
Télécharger pour lire hors ligne
Signaler
Formation
brain
minhNguynnh15
Suivre
Publicité
Publicité
Publicité
Recommandé
ระบบประสาท
Sumon Kananit
730 vues
•
20 diapositives
ระบบประสาท
สำนัก บริหารวิชาการ
542 vues
•
20 diapositives
ระบบประสาท
Pok Tanti
1.2K vues
•
7 diapositives
ระบบประสาท
kalita123
1.1K vues
•
25 diapositives
ระบบประสาท
bowpp
3.1K vues
•
25 diapositives
ระบบประสาท
kruchanon2555
3.6K vues
•
25 diapositives
Contenu connexe
Similaire à การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
(20)
ระบบประสาท
flimgold
•
1.1K vues
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
สำเร็จ นางสีคุณ
•
26.3K vues
โครงสร้างของระบบประสาท
Wan Ngamwongwan
•
22.8K vues
งาน ส่วนประกอบของสมอง
Pongsatorn Srivhieang
•
1.7K vues
บทที่3 Basic Of Physiological
Tuk Diving
•
1.7K vues
พฤติกรรมสัตว์
Pattiya Lasutti
•
46.8K vues
โครงสร้างของระบบประสาท
nokbiology
•
923 vues
ระบบประสาท
auttapornkotsuk
•
1.3K vues
ระบบประสาท
ikaen2520
•
2.7K vues
บทท 8 ระบบประสาท (1)
Natthaya Khaothong
•
25.8K vues
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
Thitaree Samphao
•
11.9K vues
ระบบประสาท (Nervous system)
พัน พัน
•
1.8K vues
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
Nichakorn Sengsui
•
148 vues
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
Nichakorn Sengsui
•
80 vues
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
KunchayaPitayawongro1
•
11 vues
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
•
733 vues
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
•
187 vues
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
•
365 vues
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
Angkana Chongjarearn
•
18K vues
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ไผ่ไผ่ อยากเด่น
•
5.8K vues
Dernier
(20)
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
pitsanu duangkartok
•
8 vues
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 6.pdf
PhanumatPH
•
7 vues
Math1 Calculus1 เซตSet (Basic) #1
TeerawutSavangboon
•
10 vues
if-clause.ppt
Nicole Robin
•
5 vues
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 1.pdf
PhanumatPH
•
16 vues
Legal Guidelines on Practices in Case of Damages to the Workplace
Tassanee Lerksuthirat
•
27 vues
การวิเคราะห์ข้อมูลจากสถานการณ์จริงและแปลผลจากการวิจัย.pdf
ssuser247480
•
4 vues
วิธีบอกลาภาษาจีน
masha199409
•
15 vues
label stoi exercise.pptx
ssuseref5b61
•
5 vues
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 2.pdf
PhanumatPH
•
7 vues
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 6.pdf
PhanumatPH
•
5 vues
ก่อนเรียนIS-20201.docx
วีระศักดิ์ ไชยขันธุ์
•
7 vues
Luận văn thạc sĩ toán học.
ssuser499fca
•
6 vues
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 2.pdf
PhanumatPH
•
11 vues
หลักการและเหตุผลงานพัสดุ 2560.pdf
Naruechon Khwanpremruethai
•
1 vue
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 1.pdf
PhanumatPH
•
6 vues
โครงงานวิทย์(แพ ฟอร์มาลีน).ppt
Supat Buddee
•
5 vues
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 4.pdf
PhanumatPH
•
4 vues
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 5.pdf
PhanumatPH
•
9 vues
Colorful STEM Poster.pdf
ssuser3873f6
•
3 vues
Publicité
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทางานของสมอง และ ระบบประสาท
ระบบประสาท ระบบประสาทเป็นระบบที่ควบคุม การทาหน้าที่ของส่วนต่างๆ ของทุก ระบบในร่างกายให ้ทางานประสาน สัมพันธ์กัน
เพื่อให ้ร่างกายสามารถ ปรับตัวให ้เข ้ากับสิ่งแวดล ้อม ทั้งภายใน และภายนอกร่างกาย ให ้สามารถ ดารงชีวิตอยู่ได ้นอกจากนี้ระบบประสาท ยังเป็นแหล่งที่มาของความคิด
โครงสร้างของระบบ ประสาท
โครงสร้างของระบบ ประสาท
การทางานของสมอง
การทางานของสมอง
เซลล์ประสาท ร่างกายคนมีเซลล์ประสาท (nerve cell) หรือ นิวรอน
(neuron) จานวนมาก ทา หน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้และการ ตอบสนอง แต่ละเซลล์อาจมีการ เชื่อมโยงเกี่ยวพันกับเซลล์ประสาท อื่นเป็นพันๆ เซลล์ สามารถทางาน เกี่ยวกับการรับส่งสัญญาณ ระหว่าง
เซลล์ประสาท ประกอบด้วย 1.เดนไดรต์(dendrite) เป็นส่วนของตัวเซลล์ ที่ยื่นออกมา รับกระแสประสาท จากภายนอกเข
้าสู่ตัว เซลล์ แขนงของเดนไดรต์ มีตั้งแต่หนึ่ง ถึงหลายแขนง และมักมีขนาด สั้น ภายในเดนไดรต์มี นิสส์บอดี (nissl body) และ ไมโทรคอน เดรีย
2.แอกซอน (axon) เป็นส่วนของตัวเซลล์ ที่ยื่นออกมาทาหน้าที่ ส่งกระแสประสาทจากตัวเซลล์
ออกไปยังอวัยวะ ตอบสนอง หรือเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทอื่น ตัว เซลล์ 1 เซลล์จะมีแอกซอนเพียง 1แขนงและมักมี ขนาดยาว จะถูกหุ้มด ้วย เยื่อไมอีลิน (myelin sheath) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเซลล์ชวันน์ (schwann cell) บริเวณรอยต่อของเยื่อไมอีลิน เป็น ส่วนที่คอดเว ้า เรียกว่า โนด ออฟ แรนเวียร ์ ( node of ranvier ) การเคลื่อนของกระแสประสาทไปบนแอกซอนที่มี เยื่อไมอีลินหุ้ม จะกระโดดเป็นช่วงๆ (saltatory conduction) ระหว่างโนดออฟแรนเวียร์
องค์ประกอบของเซลล์ ประสาท
เซลล์ประสาทแบ่งตามหน้าที่ แบ่ง ออกเป็ น
3 ประเภท คือ 1.เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (Sensory neuron) เป็นเซลล์ประสาทขั้วเดียว หรือสองขั้วทาหน้าที่รับ กระแสความรู้สึกเข ้าสู่เซลล์ในสมองและไขสันหลัง 2.เซลล์ประสาทประสานงาน (Association neuron) เป็นเซลล์ประสาทหลายขั้ว ทาหน้าที่เชื่อมโยงกระแส ประสาทจากเซลล์ประสาทรับความรู้สึกและเซลล์ ประสาทนาคาสั่งพบอยู่ในระบบประสาทส่วนกลาง 3.เซลล์ประสาทนาคาสั่ง (Motor neuron) เป็นเซลล์ประสาทหลายขั้วทาหน้าที่นากระแสประสาท จากเซลล์ในสมองหรือไขสันหลังไปยังหน่วยปฏิบัติการ
Neurotransmitters (สารสื่อ ประสาท) สารสื่อประสาทในสมอง ซึ่งเป็นตัวกลางในการสร
้าง สัญญาณประสาท มีความสาคัญคือ โรคต่างๆ หรือ สารเสพติด จะมีความเกี่ยวข ้องโดยตรงกับการมีมากเกิน หรือ น้อยเกิน ของ สารสื่อประสาทเหล่านี้ มีตัวเด่นๆ ที่สาคัญดังนี้ Adrenaline (อะดรีนาลีน) สารที่เกี่ยวข ้องกับการเอาชีวิตรอดใน ภาวะคับขัน Noradrenaline (นอร์อะดรีนาลีน) สารที่เกี่ยวข ้องกับภาวะเครียด และสมาธิ Dopamine (โดปามีน) สารที่เกี่ยวข ้องกับความสุข ความพึงพอใจ แรงบันดาลใจ Serotonin (เซโรโทนิน) สารที่เกี่ยวข ้องกับอารมณ์ การนอนหลับ และวงจรชีวิต GABA (กาบ ้า) สารที่เกี่ยวข ้องกับความสงบ และ สมาธิ
ส่วนประกอบต่างๆและหน้าที่ ของสมอง
ส่วนประกอบของสมอง 1.สมองส่วนหน้า ( forebrain
) ประกอบด ้วยส่วน สาคัญดังนี้ 1.1 เซรีบรัม ( cerebrum ) เป็นส่วนของสมอง ที่อยู่หน้าสุด และมีขนาดโตที่สุด ที่บริเวณผิวด ้าน นอกมีรอยหยักเป็นร่องมากมาย ทาให ้สมองส่วนนี้มี พื้นที่มากขึ้น จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ พบว่าคนมีรอยหยักบนสมองส่วนนี้มากที่สุด ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเก็บข ้อมูลเกี่ยวกับสิ่ง ต่างๆ ( ความรู้) ความจา ความรู้สึกนึกคิด เชาว์ ปัญญาเป็นศูนย์ควบคุมการทางานต่างๆ และรับรู้ ความรู้สึกต่างๆของร่างกาย เช่น ศูนย์ควบคุมการ ทางานของกล ้ามเนื้อ ศูนย์ควบคุมการรับสัมผัส
สมองส่วนหน้า ( forebrain
) 1.2 ออลแฟกทอรีบัลบ์( olfactory bulb ) สมองส่วนนี้อยู่ทางด ้านหน้าสุด ทาหน้าที่ เกี่ยวกับการดมกลิ่น สมองส่วนนี้ในคนพัฒนาน้อย กว่าสัตว์เลี้ยงลูกด ้วยน้านมอื่นๆ เช่น สุนัข หมู ทาให ้ความสามารถในการดมกลิ่น ของคนน้อยกว่าสัตว์เหล่านั้น แต่ในสัตว์ทีมี กระดูกสันหลังชั้นต่า เช่น กบ ปลา จะมีขนาด ใหญ่ ทาหน้าที่คล ้ายกันเกี่ยวกับการดมกลิ่นได ้ดี
สมองส่วนหน้า ( forebrain
) 1.3 ไฮโพทาลามัส ( hypothalamus ) เป็น ส่วนที่อยู่ด ้านล่างของสมองส่วนหน้าที่ยื่นมา ติดต่อกับต่อมใต ้สมอง (pituitarygland) เซลล์ ประสาทของสมองบริเวณนี้ส่วนมากทาหน้าที่สร ้าง ฮอร์โมนประสาทหลายชนิด ซึ่งควบคุมการสร ้าง ฮอร์โมนจากต่อมใต ้สมอง ไฮโพทาลามัสทาหน้าที่สาคัญ คือ เป็นศูนย์ ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย การนอนหลับ การ เต ้นของหัวใจ ความดันเลือดความหิว ความ อิ่ม นอกจากนี้ยังมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมอารมณ์ และความรู้สึกต่างๆ เช่น โศกเศร ้า ดี
สมองส่วนหน้า ( forebrain
) 1.4 ทาลามัส ( thalamus ) เป็นส่วนที่อยู่ เหนือไฮโพทาลามัส ทาหน้าที่เป็นศูนย์รวม กระแสประสาทที่ผ่านเข ้ามา แล ้วแยกกระแส ประสาทส่งไปยังสมองที่เกี่ยวข ้องกับกระแส ประสาทนั้นๆ
2. สมองส่วนกลาง (
midbrain ) ที่สมองส่วนกลางจะมีออปติกโลบ ( optic lobe ) อยู่ ในคนสมองส่วนนี้ถูกเซรีบรัมบัง เอาไว ้ มีหน้าที่เกี่ยวข ้องกับการควบคุมการ เคลื่อนไหวของนัยน์ตา ทาให ้ลูกนัยน์ตากลอกไป มาได ้และควบคุมการปิดเปิดของม่านตาในเวลาที่ มีแสงสว่างเข ้ามามากหรือน้อย
3. สมองส่วนหลัง (
hindbrain ) ประกอบด ้วย 3.1 เซรีเบลลัม ( cerebellum ) เป็นสมอง ส่วนท ้ายประกอบด ้วยสองซีกอยู่ทางซ ้ายและ ทางขวา และมีผิวด ้านนอกที่เป็นเนื้อสีเทาและ ด ้านในเป็นเนื้อสีขาว เช่นเดียวกับเซรีบรัม แต่มี ขนาดเล็กกว่า มีหน้าที่สาคัญ คือ ควบคุมและประสานงาน ของการเคลื่อนไหวของร่างกายให ้เป็นไปอย่าง ราบรื่น สละสลวย และ เที่ยงตรง สามารถทางาน ที่ต ้องการความละเอียดอ่อนได ้ ควบคุมการทรง ตัวของร่างกาย
สมองส่วนหลัง ( hindbrain
) 3.2 พอนส์( pons ) อยู่ทางด ้านหน้าของเซรี เบลลัมติดต่อกับสมองส่วนกลาง มีหน้าที่ สาคัญ คือ ควบคุมการเคี้ยว การหลั่งน้าลาย การเคลื่อนไหวบริเวณใบหน้า ควบคุมการหายใจ เป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างเซรีบรัมกับ เซรีเบลลัม และ ระหว่างเซรีเบลลัมกับไขสันหลัง
สมองส่วนหลัง ( hindbrain
) 3.3 เมดัลลาออบลองกาตา ( medulla oblongata ) เป็นสมองส่วนที่อยู่ท ้ายสุด โดยติดต่อกับพอนส์ ทางด ้านบน และไขสันหลังทางด ้านล่าง มีหน้าที่ สาคัญ คือเป็นศูนย์ควบคุมการทางานของระบบ ประสาทอัตโนวัติต่างๆ เช่น การเต ้นของ หัวใจ การหายใจ การหมุนเวียนเลือดความดัน เลือด การเคลื่อนไหวของกล ้ามเนื้อลาไส ้ เป็นต ้น เป็นศูนย์ปฏิกิริยาสะท ้อนกลับบางอย่าง เช่น การ ไอ การจาม การอาเจียน การกลืน การสะอึก
ก้านสมอง สมองส่วนกลาง พอนส์ และเมดัลลาออบลองกา ตา
สมองทั้ง 3 ส่วนนี้รวมเรียกว่าก้านสมอง
แบบฝึ กหัดเรื่องระบบประสาท ให ้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให
้ ถูกต ้อง 1. ระบบประสาทแยกเป็นกี่ส่วน อะไรบ ้าง ? 2. สมองแยกเป็นกี่ส่วน อะไรบ ้าง ? 3. องค์ประกอบของเซลล์ประสาท ได ้แก่อะไรบ ้าง
แบบฝึ กหัดเรื่องระบบประสาท 6. ก
้านสมองประกอบด ้วยสมองส่วน ใดบ ้าง 7. สมองส่วนหน้าประกอบด ้วย อะไรบ ้าง 8. สมองส่วนหลังประกอบด ้วย อะไรบ ้าง 9. สมองส่วนกลางมีหน้าที่อะไร
Publicité