SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
1
สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
การทดลองที่ 1
การเทียบมาตรฐานของเครื่องแก้วเชิงปริมาตร
Calibration of Volumetric Glasswares
จุดประสงค์
1. เพื่อศึกษาการเทียบมาตรฐานเครื่องแก้วเชิงปริมาตร ซึ่งได้แก่ ปิเปตต์ บิวเรตต์ และขวดกาหนด
ปริมาตรที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์
2. เพื่อให้เข้าใจถึงเรื่องความแม่นและความเที่ยงในเคมีวิเคราะห์
3. เพื่อเป็นการฝึกทักษะการใช้เครื่องชั่ง ปิเปตต์ บิวเรตต์ และขวดกาหนดปริมาตร
หลักการ
เครื่องแก้วเชิงปริมาตรที่สาคัญที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ได้แก่ ปิเปตต์ (Pipette) บิวเรตต์
(Burette) และขวดกาหนดปริมาตร (Volumetric Flask) โดยเครื่องแก้วแต่ละชนิดมีคุณลักษณะในการใช้
งานต่างกันดังนี้
1. ปิเปตต์ (Pipette) ใช้ในการถ่ายโอนหรือปล่อยสารละลายในปริมาตรที่กาหนด ซึ่งแบ่งได้ 2
ประเภท คือ
1.1 ปิเปตต์กาหนดปริมาตร (Volumetric pipette)
1.1.1 ใช้ในงานที่มีความถูกต้องสูง
1.1.2 ให้ความถูกต้อง 4 ตาแหน่งของเลขนัยสาคัญ
1.1.3 ปล่อยให้สารไหลลงเองในแนวดิ่งแล้วจับปลายปิเปตต์ให้แตะกับข้างภาชนะ ส่วน
ใหญ่ไม่ต้องเป่าหยดสุดท้ายที่ค้างอยู่ออก
1.1.4 มีขนาดตั้งแต่ 100 - 0.5 ml หรือน้อยกว่า
1.2 ปิเปตต์ตวง (Measuring Pipette)
1.2.1 ใช้ในงานที่ต้องการความถูกต้องต่ากว่า
1.2.2 ให้ความถูกต้อง 3 ตาแหน่งของเลขนัยสาคัญ
1.2.3 ปล่อยให้สารไหลลงเองในแนวดิ่งแล้วจับปลายปิเปตต์ให้แตะกับข้างภาชนะและหาก
ต้องการปล่อยทั้งหมดต้องเป่าหยดสุดท้ายที่ค้างอยู่ออก
1.2.4 มีขนาดตั้งแต่ 25 - 0.1 ml
2. บิวเรตต์ (Burette) ใช้ในการถ่ายโอนหรือปล่อยสารละลายในปริมาตรที่กาหนด ส่วนใหญ่มักใช้
ในการไทเทรต ก๊อกของบิวเรตมีทั้งชนิดที่ทาด้วยแก้วและชนิดที่ทาด้วยเทฟลอน
2
สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
2.1 มีขนาดความจุ 10 , 25 , 50 และ 100 ml และอื่นๆ
2.2 มีอัตราการระบายที่ไม่คงที่
2.3 ในการใช้ควรระวังการรั่วซึมที่บริเวณก๊อกของบิวเรตต์
2.4 เมื่อเติมสารลงในบิวเรตต์จะต้องให้เต็มส่วนปลายแหลมของบิวเรตต์ด้วย หากมีอากาศต้อง
ไขไล่อากาศออกให้หมด
3. ขวดกาหนดปริมาตร (Volumetric Flask) ใช้ในการเจือจางสารตัวอย่างหรือสารละลายเพื่อให้
ได้ปริมาตรที่ถูกต้อง ณ อุณหภูมิที่กาหนด
3.1 มีหลายขนาดตั้งแต่ 2 L จนถึง 1 ml
3.2 ในการใช้ควรหลีกเลี่ยงการเทสารโดยตรงลงในขวดกาหนดปริมาตรที่แห้ง เนื่องจากแก้วเป็น
สารดูดกลืนคลื่นแสงสูง
การเทียบมาตรฐานจะใช้เครื่องแก้วเชิงปริมาตรบรรจุ ถ่ายโอน หรือตวงน้ากลั่นที่มีความบริสุทธิ์สูง
ตามปริมาตรที่กาหนด แล้วชั่งน้าหนักของน้ากลั่นนั้นและคานวณหาปริมาตรที่แม่นตรงของน้ากลั่นจากความ
หนาแน่นของน้ากลั่นได้ดังสมการ
โดยดูค่าความหนาแน่นได้จากตารางที่ 1 และในการทดลองการเทียบมาตรฐานของเครื่องแก้วทั้ง
สามชนิด แล้วหาความแม่นด้วยค่าเฉลี่ย และความผิดพลาดสัมพัทธ์ และบอกความเที่ยงด้วยส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานดังนี้
s =
3
สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
ตารางที่ 1 ความดันไอน้าอิ่มตัวและความหนาแน่นของน้าที่อุณหภูมิต่างๆ
T (◦C) P H2O
mm Hg
H2O
g cm-3
T (◦C) P H2O
mm Hg
H2O
g cm-3
20 17.5 0.998203 28 28.3 0.996232
21 18.7 0.997992 29 30.0 0.995944
22 19.6 0.997770 30 31.8 0.995646
23 21.1 0.997538 32 35.7 -
24 22.4 0.997296 33 37.7 -
25 23.8 0.997044 34 39.9 -
26 25.2 0.996783 35 42.2 -
27 25.2 0.996512 40 55.3 -
ตารางที่ 2 ความคลาดเคลื่อนยินยอมของขวดก้าหนดปริมาตร ปิเปตต์ก้าหนดปริมาตร ละบิวเรตต์ขนาต่างๆ
ความจุ (ml) ความคลาดเคลื่อนยินยอม (ml)
ขวดกาหนดปริมาตร ปิเปตต์กาหนดปริมาตร บิวเรตต์
1000 ±0.30 - -
500 ±0.15 - -
100 ±0.08 ±0.08 ±0.10
50 ±0.05 ±0.05 ±0.05
25 ±0.03 ±0.03 ±0.03
10 ±0.02 ±0.02 ±0.02
5 ±0.02 ±0.01 ±0.01
2 ±0.006
4
สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
สารและอุปกรณ์ที่ใช้
- น้ากลั่น (ที่มีความบริสุทธิ์สูง)
- ปิเปตต์กาหนดปริมาตรขนาด 10 ml
- บิวเรตต์ขนาด 25 หรือ 50 ml
- ขวดกาหนดปริมาตรขนาด 10 ml
- บีกเกอร์ขนาด 50 ml
- เครื่องชั่งที่สามารถอ่านน้าหนักได้ถึง 4 ตาแหน่งทศนิยมของกรัม
- เทอร์โมมิเตอร์
- หลอดหยด
ขันตอนในการทดลอง
วัดอุณหภูมิที่ใช้ในการทดลอง ในหน่วย องศาเซลเซียส
5.ทาซ้าขั้นที่ 2 - 4 โดยใช้บิวเรต 25 ml แทน
4.ชั่งน้าหนัก บีกเกอร์ที่บรรจุน้ากลั่น...จดน้าหนัก
3.ดูดน้ากลั่นครั้งละ 10 ml โดยใช้ปิเปตต์ขนาด 10 ml ลงในบีกเกอร์
2.ชั่งน้าหนักบีกเกอร์ 50 ml ที่แห้ง 5 ใบ...จดน้าหนัก
1.เตรียมสารและอุปกรณ์
5
สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
การวิเคราะห์ผลการทดลอง
1. ค้านวณหาน้าหนักของน้ากลั่นในบีกเกอร์ และขวดวัดปริมาตร แต่ละครัง
2. ค้านวณหาปริมาตรของน้ากลั่นที่ได้จากการบรรจุ ถ่ายโอน หรือตวงของเครื่องแก้วแต่ละชนิด
หาปริมาตรของน้ากลั่นได้จากสมการ
ประเภทของปิเปตต์ ชนิดปิเปตต์กาหนดปริมาตร ขนาด 10 ml Class B
อุณหภูมิที่ท้าการทดลอง 26 C ความหนาแน่นของน้ากลั่น เท่ากับ 0.996783
รายการ การทดสอบ ปิเปตต์ หมาย
เหตุบีกเกอร์ บีกเกอร์ บีกเกอร์ บีกเกอร์ บีกเกอร์
วัดอุณหภูมิที่ใช้ในการทาการทดลองในหน่วย องศาเซลเซียส
ทาซ้าข้อ 2 - 3 อีก 4 รอบ โดยใช้ขวดเดิม
ชั่งน้าหนักขวดกาหนดปริมาตรที่บรรจุน้ากลั่น...จดบันทึก
เติมน้ากลั่นลงในขวดกาหนดปริมาตร 25 ml
ชั่งน้าหนักขวดกาหนดปริมาตร 25 ml ที่แห้งสะอาด 1 ใบ...จดน้าหนัก
6
สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
ใบที่ 1 ใบที่ 2 ใบที่ 3 ใบที่ 4 ใบที่ 5
1.น้าหนักบีกเกอร์ (g) 50.3315 51.1529 50.5955 50.6155 43.9376
2.น้าหนักบีกเกอร์ +
น้าหนักน้ากลั่น (g)
60.2454 61.0944 60.5351 60.5089 60.5120
3.น้าหนักน้ากลั่น (g)
(2) - (1) = (3)
9.9139 9.9415 9.9396 9.8934 16.5744
4.ปริมาตรของน้ากลั่น (ml) 9.9459 9.9736 9.9717 9.9253 16.6279
ประเภทของบิวเรต ชนิดทาด้วยเทฟลอน ขนาด 25 ml class B
อุณหภูมิที่ท้าการทดลอง 26 C ความหนาแน่นของน้ากลั่น เท่ากับ 0.996783
รายการ การทดสอบ บิวเรต หมาย
เหตุบีกเกอร์
ใบที่ 1
บีกเกอร์
ใบที่ 2
บีกเกอร์
ใบที่ 3
บีกเกอร์
ใบที่ 4
บีกเกอร์
ใบที่ 5
1.น้าหนักบีกเกอร์ (g) 50.3321 51.1677 50.6053 50.6286 43.9373
2.น้าหนักบีกเกอร์ +
น้าหนักน้ากลั่น (g)
61.2777 60.1122 60.5711 60.5717 53.8926
3.น้าหนักน้ากลั่น (g)
(2) - (1) = (3)
10.9456 8.9445 9.9658 9.9431 9.9553
4.ปริมาตรของน้ากลั่น (ml) 10.9809 8.9734 9.9979 9.9752 9.9874
ประเภทขวดก้าหนดปริมาตร ขนาด 25 ml class A
อุณหภูมิที่ท้าการทดลอง 26 C ความหนาแน่นของน้ากลั่น เท่ากับ 0.996783
รายการ การทดสอบ ขวดก้าหนดปริมาตร หมาย
7
สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
บีกเกอร์
ใบที่ 1
บีกเกอร์
ใบที่ 2
บีกเกอร์
ใบที่ 3
บีกเกอร์
ใบที่ 4
บีกเกอร์
ใบที่ 5
เหตุ
1.น้าหนักขวดกาหนด
ปริมาตร (g)
21.7748
2.น้าหนักขวดกาหนด
ปริมาตร + น้าหนักน้ากลั่น
(g)
46.6734 46.7221 46.7737 46.7764 46.7269
3.น้าหนักน้ากลั่น (g)
(2) - (1) = (3)
24.8950 24.9437 24.9953 24.9980 24.9485
4.ปริมาตรของน้ากลั่น (ml) 24.9753 25.0242 25.0759 25.0787 25.0290
3. ค้านวณหาค่าเฉลี่ย ความผิดพลาดสัมพัทธ์ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
หาค่าเฉลี่ยได้จากสมการ =
ค่าเฉลี่ยปริมาตรของน้ากลั่นโดยการใช้ปิเปตต์
xpipette =
xpipette =
xpipette = 11.2889 ml
ค่าเฉลี่ยปริมาตรของน้ากลั่นโดยการใช้บิวเรต
xburette =
xburette =
xburette = 9.9829 ml
ค่าเฉลี่ยปริมาตรของน้ากลั่นโดยการใช้ขวดก้าหนดปริมาตร
xขวดกาหนดปริมาตร =
8
สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
xขวดกาหนดปริมาตร =
xขวดกาหนดปริมาตร = 25.0366 ml
หาค่าความผิดพลาดสัมพัทธ์ได้จากสมการ
ค่าความผิดพลาดสัมพัทธ์ของการใช้ปิเปตต์
จะได้ = 13.5031 %
= 13.1878 %
= 13.2094 %
= 13.7386 %
= -32.1087 %
ค่าความผิดพลาดสัมพัทธ์ของการใช้บิวเรต
จะได้ = -9.0885 %
= 11.2499 %
= -0.1500 %
= 0.0772 %
= -0.0451 %
ค่าความผิดพลาดสัมพัทธ์ของการใช้ขวดก้าหนดปริมาตร
9
สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
จะได้ = 0.2454 %
= 0.0496 %
= -0.1567 %
= -0.1679 %
= 0.0304 %
หาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานได้จากสมการ s =
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการใช้ปิเปตต์ จะได้
s =
= 2.9487 ml
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการใช้บิวเรต จะได้
s =
= 0.7098 ml
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาจรฐานของการใช้ขวดก้าหนดปริมาตร จะได้
s
=
= 0.0427 ml
10
สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
4. แผนภาพแสดงปริมาตรที่ได้แต่ละครังของเครื่องแก้วแต่ละชนิด
แผนภาพที่ 4.1 แสดงปริมาตรในแต่ละครั้งของปิเปตต์และบิวเรต
แผนภาพที่ 4.2 แสดงปริมาตรในแต่ละครั้งของขวดกาหนดปริมาตร
0
0.4
0.8
8 8.6 9.2 9.8 10.4 11 11.6 12.2 12.8 13.4 14 14.6 15.2 15.8 16.4 17
ปริมาตร (ml)
Pipette
Burett
11
สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
5. เปรียบเทียบความเที่ยงของเครื่องแก้วทังสามและเปรียบเทียบส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานกับค่าความ
คลาดเคลื่อนยินยอมของเครื่องแก้วปริมาตรทังสามชนิด
จากการคานวณค่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเพื่อเปรียบเทียบกับค่าความเที่ยงของข้อมูลแล้วเป็น
ดังนี้ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ปิเปตต์ บิวเรต และขวดกาหนดปริมาตร เป็น
2.9487,0.7098และ0.0427 ตามลาดับ
แสดงว่า เครื่องแก้วที่มีความเที่ยงจากสูงไปต่าคือ ขวดกาหนดปริมาตร , บิวเรต และปิเปตต์
ตามลาดับ
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ปิเปตต์ , บิวเรต และขวดกาหนดปริมาตร เมื่อเปรียบเทียบกับค่า
ความคลาดเคลื่อนยินยอมแล้วจะได้ตารางต่อไปนี้
ประเภทเครื่อง
แก้ว
ความจุ(ml)ที่ใช้
ในการทดลอง
ค่าความคลาด
เคลื่อนยินยอม
ค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน
ผลที่ได้
ปิเปตต์กาหนด
ปริมาตร
10 ±0.02 2.9487 2.9487 ≥ 0.02
ต่้ากว่ามาตรฐานมากที่สุด
บิวเรต 25 ±0.03 0.7098 0.7098 ≥ 0.03
ต่้ากว่ามาตรฐานมาก
ขวดกาหนด
ปริมาตร
25 ±0.03 0.0427 0.0427 ≥ 0.03
ต่้ากว่ามาตรฐานเล็กน้อย
0
0.6
18 18.6 19.2 19.8 20.4 21 21.6 22.2 22.8 23.4 24 24.6 25.2 25.8 26.4 27
ปริมาตร (ml)
ขวดกาหนด
ปริมาตร
12
สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
ค้าถาม
1. นักศึกษาลองให้เหตุผลว่าทาไมวิธีการทดลองในการเทียบมาตรฐานเครื่องแก้วเชิงปริมาตรชนิดปิ
เปตต์และบิวเรตจึงเหมือนกันแต่ต่างกับวิธีการทดลองของขวดกาหนดปริมาตร
ตอบ เพราะว่าปิเปตต์และบิวเรตเป็นเครื่องแก้วสาหรับส่งมอบ(TD) ส่วนขวดกาหนดปริมาตรเป็น
เครื่องแก้วสาหรับบรรจุ(TC)
2. ในการทดลองนี้หากเป็นการเทียบมาตรฐานของปิเปตต์กาหนดปริมาตรกับปิเปตต์ตวงที่มีขนาด
ปริมาตรเท่ากันให้นักศึกษาทานายผลการทดลองที่จะเกิดขึ้นและให้เหตุผลประกอบ
ตอบ ผลการทดลองจะได้ว่าปิเปตต์กาหนดปริมาตรจะให้ความแม่นและความเที่ยงสูงกว่าปิเปตต์ตวง
เพราะปิเปตต์กาหนดปริมาตรจะให้ข้อมูลที่เป็นทศนิยม 4 ตาแหน่งจึงเป็นข้อมูลที่ละเอียดมากอีกทั้ง
เนื่องจากปิเปตต์ดังกล่าวมีเพียงสเกลเดียวจึงทาให้มีค่าความคลาดเคลื่อนน้อยกว่าซึ่งส่งผลทาให้มี
ความแม่นและเที่ยงสูงกว่าด้วย

More Related Content

What's hot

โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จNoot Ting Tong
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกิตติธัช สืบสุนทร
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติPreeyapat Lengrabam
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นadriamycin
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥everadaq
 
ไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชันไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชันMaruko Supertinger
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 

What's hot (20)

โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
2 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง(upload)
2 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง(upload)2 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง(upload)
2 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง(upload)
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
Punmanee study 5
Punmanee study 5Punmanee study 5
Punmanee study 5
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็น
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
 
ไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชันไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชัน
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 

Viewers also liked

Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationBELL N JOYE
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรตJariya Jaiyot
 
Biochemical Oxygen Demand Test
 Biochemical  Oxygen  Demand  Test  Biochemical  Oxygen  Demand  Test
Biochemical Oxygen Demand Test BELL N JOYE
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ืkanya pinyo
 
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556TODSAPRON TAWANNA
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)BELL N JOYE
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4พัน พัน
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 
What Makes Great Infographics
What Makes Great InfographicsWhat Makes Great Infographics
What Makes Great InfographicsSlideShare
 
Masters of SlideShare
Masters of SlideShareMasters of SlideShare
Masters of SlideShareKapost
 
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to SlideshareSTOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to SlideshareEmpowered Presentations
 
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation OptimizationOneupweb
 
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content MarketingHow To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content MarketingContent Marketing Institute
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Viewers also liked (18)

Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and application
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
 
Biochemical Oxygen Demand Test
 Biochemical  Oxygen  Demand  Test  Biochemical  Oxygen  Demand  Test
Biochemical Oxygen Demand Test
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง
 
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
What Makes Great Infographics
What Makes Great InfographicsWhat Makes Great Infographics
What Makes Great Infographics
 
Masters of SlideShare
Masters of SlideShareMasters of SlideShare
Masters of SlideShare
 
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to SlideshareSTOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
 
You Suck At PowerPoint!
You Suck At PowerPoint!You Suck At PowerPoint!
You Suck At PowerPoint!
 
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
 
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content MarketingHow To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to Lab 1 calibrations of volumetric glasswars

สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3Duduan
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 
สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2Duduan
 
บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_Sukanya Kimkramon
 
โครงงาน เรื่อง อุนจิติดไฟ
โครงงาน เรื่อง อุนจิติดไฟโครงงาน เรื่อง อุนจิติดไฟ
โครงงาน เรื่อง อุนจิติดไฟteadateada
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์Jariya Jaiyot
 
การเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือ
การเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือการเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือ
การเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือในใจฉัน เสียงเพลง
 
แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1
แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1
แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1Nunu Neenee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1sripayom
 

Similar to Lab 1 calibrations of volumetric glasswars (15)

สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2
 
บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_
 
โครงงาน เรื่อง อุนจิติดไฟ
โครงงาน เรื่อง อุนจิติดไฟโครงงาน เรื่อง อุนจิติดไฟ
โครงงาน เรื่อง อุนจิติดไฟ
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
การเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือ
การเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือการเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือ
การเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือ
 
แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1
แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1
แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
R 404941003
R 404941003R 404941003
R 404941003
 
5 หมู
5 หมู5 หมู
5 หมู
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 

Lab 1 calibrations of volumetric glasswars

  • 1. 1 สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ การทดลองที่ 1 การเทียบมาตรฐานของเครื่องแก้วเชิงปริมาตร Calibration of Volumetric Glasswares จุดประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการเทียบมาตรฐานเครื่องแก้วเชิงปริมาตร ซึ่งได้แก่ ปิเปตต์ บิวเรตต์ และขวดกาหนด ปริมาตรที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ 2. เพื่อให้เข้าใจถึงเรื่องความแม่นและความเที่ยงในเคมีวิเคราะห์ 3. เพื่อเป็นการฝึกทักษะการใช้เครื่องชั่ง ปิเปตต์ บิวเรตต์ และขวดกาหนดปริมาตร หลักการ เครื่องแก้วเชิงปริมาตรที่สาคัญที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ได้แก่ ปิเปตต์ (Pipette) บิวเรตต์ (Burette) และขวดกาหนดปริมาตร (Volumetric Flask) โดยเครื่องแก้วแต่ละชนิดมีคุณลักษณะในการใช้ งานต่างกันดังนี้ 1. ปิเปตต์ (Pipette) ใช้ในการถ่ายโอนหรือปล่อยสารละลายในปริมาตรที่กาหนด ซึ่งแบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1.1 ปิเปตต์กาหนดปริมาตร (Volumetric pipette) 1.1.1 ใช้ในงานที่มีความถูกต้องสูง 1.1.2 ให้ความถูกต้อง 4 ตาแหน่งของเลขนัยสาคัญ 1.1.3 ปล่อยให้สารไหลลงเองในแนวดิ่งแล้วจับปลายปิเปตต์ให้แตะกับข้างภาชนะ ส่วน ใหญ่ไม่ต้องเป่าหยดสุดท้ายที่ค้างอยู่ออก 1.1.4 มีขนาดตั้งแต่ 100 - 0.5 ml หรือน้อยกว่า 1.2 ปิเปตต์ตวง (Measuring Pipette) 1.2.1 ใช้ในงานที่ต้องการความถูกต้องต่ากว่า 1.2.2 ให้ความถูกต้อง 3 ตาแหน่งของเลขนัยสาคัญ 1.2.3 ปล่อยให้สารไหลลงเองในแนวดิ่งแล้วจับปลายปิเปตต์ให้แตะกับข้างภาชนะและหาก ต้องการปล่อยทั้งหมดต้องเป่าหยดสุดท้ายที่ค้างอยู่ออก 1.2.4 มีขนาดตั้งแต่ 25 - 0.1 ml 2. บิวเรตต์ (Burette) ใช้ในการถ่ายโอนหรือปล่อยสารละลายในปริมาตรที่กาหนด ส่วนใหญ่มักใช้ ในการไทเทรต ก๊อกของบิวเรตมีทั้งชนิดที่ทาด้วยแก้วและชนิดที่ทาด้วยเทฟลอน
  • 2. 2 สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ 2.1 มีขนาดความจุ 10 , 25 , 50 และ 100 ml และอื่นๆ 2.2 มีอัตราการระบายที่ไม่คงที่ 2.3 ในการใช้ควรระวังการรั่วซึมที่บริเวณก๊อกของบิวเรตต์ 2.4 เมื่อเติมสารลงในบิวเรตต์จะต้องให้เต็มส่วนปลายแหลมของบิวเรตต์ด้วย หากมีอากาศต้อง ไขไล่อากาศออกให้หมด 3. ขวดกาหนดปริมาตร (Volumetric Flask) ใช้ในการเจือจางสารตัวอย่างหรือสารละลายเพื่อให้ ได้ปริมาตรที่ถูกต้อง ณ อุณหภูมิที่กาหนด 3.1 มีหลายขนาดตั้งแต่ 2 L จนถึง 1 ml 3.2 ในการใช้ควรหลีกเลี่ยงการเทสารโดยตรงลงในขวดกาหนดปริมาตรที่แห้ง เนื่องจากแก้วเป็น สารดูดกลืนคลื่นแสงสูง การเทียบมาตรฐานจะใช้เครื่องแก้วเชิงปริมาตรบรรจุ ถ่ายโอน หรือตวงน้ากลั่นที่มีความบริสุทธิ์สูง ตามปริมาตรที่กาหนด แล้วชั่งน้าหนักของน้ากลั่นนั้นและคานวณหาปริมาตรที่แม่นตรงของน้ากลั่นจากความ หนาแน่นของน้ากลั่นได้ดังสมการ โดยดูค่าความหนาแน่นได้จากตารางที่ 1 และในการทดลองการเทียบมาตรฐานของเครื่องแก้วทั้ง สามชนิด แล้วหาความแม่นด้วยค่าเฉลี่ย และความผิดพลาดสัมพัทธ์ และบอกความเที่ยงด้วยส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานดังนี้ s =
  • 3. 3 สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ตารางที่ 1 ความดันไอน้าอิ่มตัวและความหนาแน่นของน้าที่อุณหภูมิต่างๆ T (◦C) P H2O mm Hg H2O g cm-3 T (◦C) P H2O mm Hg H2O g cm-3 20 17.5 0.998203 28 28.3 0.996232 21 18.7 0.997992 29 30.0 0.995944 22 19.6 0.997770 30 31.8 0.995646 23 21.1 0.997538 32 35.7 - 24 22.4 0.997296 33 37.7 - 25 23.8 0.997044 34 39.9 - 26 25.2 0.996783 35 42.2 - 27 25.2 0.996512 40 55.3 - ตารางที่ 2 ความคลาดเคลื่อนยินยอมของขวดก้าหนดปริมาตร ปิเปตต์ก้าหนดปริมาตร ละบิวเรตต์ขนาต่างๆ ความจุ (ml) ความคลาดเคลื่อนยินยอม (ml) ขวดกาหนดปริมาตร ปิเปตต์กาหนดปริมาตร บิวเรตต์ 1000 ±0.30 - - 500 ±0.15 - - 100 ±0.08 ±0.08 ±0.10 50 ±0.05 ±0.05 ±0.05 25 ±0.03 ±0.03 ±0.03 10 ±0.02 ±0.02 ±0.02 5 ±0.02 ±0.01 ±0.01 2 ±0.006
  • 4. 4 สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ สารและอุปกรณ์ที่ใช้ - น้ากลั่น (ที่มีความบริสุทธิ์สูง) - ปิเปตต์กาหนดปริมาตรขนาด 10 ml - บิวเรตต์ขนาด 25 หรือ 50 ml - ขวดกาหนดปริมาตรขนาด 10 ml - บีกเกอร์ขนาด 50 ml - เครื่องชั่งที่สามารถอ่านน้าหนักได้ถึง 4 ตาแหน่งทศนิยมของกรัม - เทอร์โมมิเตอร์ - หลอดหยด ขันตอนในการทดลอง วัดอุณหภูมิที่ใช้ในการทดลอง ในหน่วย องศาเซลเซียส 5.ทาซ้าขั้นที่ 2 - 4 โดยใช้บิวเรต 25 ml แทน 4.ชั่งน้าหนัก บีกเกอร์ที่บรรจุน้ากลั่น...จดน้าหนัก 3.ดูดน้ากลั่นครั้งละ 10 ml โดยใช้ปิเปตต์ขนาด 10 ml ลงในบีกเกอร์ 2.ชั่งน้าหนักบีกเกอร์ 50 ml ที่แห้ง 5 ใบ...จดน้าหนัก 1.เตรียมสารและอุปกรณ์
  • 5. 5 สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ การวิเคราะห์ผลการทดลอง 1. ค้านวณหาน้าหนักของน้ากลั่นในบีกเกอร์ และขวดวัดปริมาตร แต่ละครัง 2. ค้านวณหาปริมาตรของน้ากลั่นที่ได้จากการบรรจุ ถ่ายโอน หรือตวงของเครื่องแก้วแต่ละชนิด หาปริมาตรของน้ากลั่นได้จากสมการ ประเภทของปิเปตต์ ชนิดปิเปตต์กาหนดปริมาตร ขนาด 10 ml Class B อุณหภูมิที่ท้าการทดลอง 26 C ความหนาแน่นของน้ากลั่น เท่ากับ 0.996783 รายการ การทดสอบ ปิเปตต์ หมาย เหตุบีกเกอร์ บีกเกอร์ บีกเกอร์ บีกเกอร์ บีกเกอร์ วัดอุณหภูมิที่ใช้ในการทาการทดลองในหน่วย องศาเซลเซียส ทาซ้าข้อ 2 - 3 อีก 4 รอบ โดยใช้ขวดเดิม ชั่งน้าหนักขวดกาหนดปริมาตรที่บรรจุน้ากลั่น...จดบันทึก เติมน้ากลั่นลงในขวดกาหนดปริมาตร 25 ml ชั่งน้าหนักขวดกาหนดปริมาตร 25 ml ที่แห้งสะอาด 1 ใบ...จดน้าหนัก
  • 6. 6 สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ใบที่ 1 ใบที่ 2 ใบที่ 3 ใบที่ 4 ใบที่ 5 1.น้าหนักบีกเกอร์ (g) 50.3315 51.1529 50.5955 50.6155 43.9376 2.น้าหนักบีกเกอร์ + น้าหนักน้ากลั่น (g) 60.2454 61.0944 60.5351 60.5089 60.5120 3.น้าหนักน้ากลั่น (g) (2) - (1) = (3) 9.9139 9.9415 9.9396 9.8934 16.5744 4.ปริมาตรของน้ากลั่น (ml) 9.9459 9.9736 9.9717 9.9253 16.6279 ประเภทของบิวเรต ชนิดทาด้วยเทฟลอน ขนาด 25 ml class B อุณหภูมิที่ท้าการทดลอง 26 C ความหนาแน่นของน้ากลั่น เท่ากับ 0.996783 รายการ การทดสอบ บิวเรต หมาย เหตุบีกเกอร์ ใบที่ 1 บีกเกอร์ ใบที่ 2 บีกเกอร์ ใบที่ 3 บีกเกอร์ ใบที่ 4 บีกเกอร์ ใบที่ 5 1.น้าหนักบีกเกอร์ (g) 50.3321 51.1677 50.6053 50.6286 43.9373 2.น้าหนักบีกเกอร์ + น้าหนักน้ากลั่น (g) 61.2777 60.1122 60.5711 60.5717 53.8926 3.น้าหนักน้ากลั่น (g) (2) - (1) = (3) 10.9456 8.9445 9.9658 9.9431 9.9553 4.ปริมาตรของน้ากลั่น (ml) 10.9809 8.9734 9.9979 9.9752 9.9874 ประเภทขวดก้าหนดปริมาตร ขนาด 25 ml class A อุณหภูมิที่ท้าการทดลอง 26 C ความหนาแน่นของน้ากลั่น เท่ากับ 0.996783 รายการ การทดสอบ ขวดก้าหนดปริมาตร หมาย
  • 7. 7 สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ บีกเกอร์ ใบที่ 1 บีกเกอร์ ใบที่ 2 บีกเกอร์ ใบที่ 3 บีกเกอร์ ใบที่ 4 บีกเกอร์ ใบที่ 5 เหตุ 1.น้าหนักขวดกาหนด ปริมาตร (g) 21.7748 2.น้าหนักขวดกาหนด ปริมาตร + น้าหนักน้ากลั่น (g) 46.6734 46.7221 46.7737 46.7764 46.7269 3.น้าหนักน้ากลั่น (g) (2) - (1) = (3) 24.8950 24.9437 24.9953 24.9980 24.9485 4.ปริมาตรของน้ากลั่น (ml) 24.9753 25.0242 25.0759 25.0787 25.0290 3. ค้านวณหาค่าเฉลี่ย ความผิดพลาดสัมพัทธ์ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่าเฉลี่ยได้จากสมการ = ค่าเฉลี่ยปริมาตรของน้ากลั่นโดยการใช้ปิเปตต์ xpipette = xpipette = xpipette = 11.2889 ml ค่าเฉลี่ยปริมาตรของน้ากลั่นโดยการใช้บิวเรต xburette = xburette = xburette = 9.9829 ml ค่าเฉลี่ยปริมาตรของน้ากลั่นโดยการใช้ขวดก้าหนดปริมาตร xขวดกาหนดปริมาตร =
  • 8. 8 สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ xขวดกาหนดปริมาตร = xขวดกาหนดปริมาตร = 25.0366 ml หาค่าความผิดพลาดสัมพัทธ์ได้จากสมการ ค่าความผิดพลาดสัมพัทธ์ของการใช้ปิเปตต์ จะได้ = 13.5031 % = 13.1878 % = 13.2094 % = 13.7386 % = -32.1087 % ค่าความผิดพลาดสัมพัทธ์ของการใช้บิวเรต จะได้ = -9.0885 % = 11.2499 % = -0.1500 % = 0.0772 % = -0.0451 % ค่าความผิดพลาดสัมพัทธ์ของการใช้ขวดก้าหนดปริมาตร
  • 9. 9 สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ จะได้ = 0.2454 % = 0.0496 % = -0.1567 % = -0.1679 % = 0.0304 % หาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานได้จากสมการ s = ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการใช้ปิเปตต์ จะได้ s = = 2.9487 ml ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการใช้บิวเรต จะได้ s = = 0.7098 ml ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาจรฐานของการใช้ขวดก้าหนดปริมาตร จะได้ s = = 0.0427 ml
  • 10. 10 สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ 4. แผนภาพแสดงปริมาตรที่ได้แต่ละครังของเครื่องแก้วแต่ละชนิด แผนภาพที่ 4.1 แสดงปริมาตรในแต่ละครั้งของปิเปตต์และบิวเรต แผนภาพที่ 4.2 แสดงปริมาตรในแต่ละครั้งของขวดกาหนดปริมาตร 0 0.4 0.8 8 8.6 9.2 9.8 10.4 11 11.6 12.2 12.8 13.4 14 14.6 15.2 15.8 16.4 17 ปริมาตร (ml) Pipette Burett
  • 11. 11 สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ 5. เปรียบเทียบความเที่ยงของเครื่องแก้วทังสามและเปรียบเทียบส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานกับค่าความ คลาดเคลื่อนยินยอมของเครื่องแก้วปริมาตรทังสามชนิด จากการคานวณค่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเพื่อเปรียบเทียบกับค่าความเที่ยงของข้อมูลแล้วเป็น ดังนี้ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ปิเปตต์ บิวเรต และขวดกาหนดปริมาตร เป็น 2.9487,0.7098และ0.0427 ตามลาดับ แสดงว่า เครื่องแก้วที่มีความเที่ยงจากสูงไปต่าคือ ขวดกาหนดปริมาตร , บิวเรต และปิเปตต์ ตามลาดับ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ปิเปตต์ , บิวเรต และขวดกาหนดปริมาตร เมื่อเปรียบเทียบกับค่า ความคลาดเคลื่อนยินยอมแล้วจะได้ตารางต่อไปนี้ ประเภทเครื่อง แก้ว ความจุ(ml)ที่ใช้ ในการทดลอง ค่าความคลาด เคลื่อนยินยอม ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลที่ได้ ปิเปตต์กาหนด ปริมาตร 10 ±0.02 2.9487 2.9487 ≥ 0.02 ต่้ากว่ามาตรฐานมากที่สุด บิวเรต 25 ±0.03 0.7098 0.7098 ≥ 0.03 ต่้ากว่ามาตรฐานมาก ขวดกาหนด ปริมาตร 25 ±0.03 0.0427 0.0427 ≥ 0.03 ต่้ากว่ามาตรฐานเล็กน้อย 0 0.6 18 18.6 19.2 19.8 20.4 21 21.6 22.2 22.8 23.4 24 24.6 25.2 25.8 26.4 27 ปริมาตร (ml) ขวดกาหนด ปริมาตร
  • 12. 12 สาขาวิชาเคมี ระดับ คบ. 5/2 หมู่ 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ค้าถาม 1. นักศึกษาลองให้เหตุผลว่าทาไมวิธีการทดลองในการเทียบมาตรฐานเครื่องแก้วเชิงปริมาตรชนิดปิ เปตต์และบิวเรตจึงเหมือนกันแต่ต่างกับวิธีการทดลองของขวดกาหนดปริมาตร ตอบ เพราะว่าปิเปตต์และบิวเรตเป็นเครื่องแก้วสาหรับส่งมอบ(TD) ส่วนขวดกาหนดปริมาตรเป็น เครื่องแก้วสาหรับบรรจุ(TC) 2. ในการทดลองนี้หากเป็นการเทียบมาตรฐานของปิเปตต์กาหนดปริมาตรกับปิเปตต์ตวงที่มีขนาด ปริมาตรเท่ากันให้นักศึกษาทานายผลการทดลองที่จะเกิดขึ้นและให้เหตุผลประกอบ ตอบ ผลการทดลองจะได้ว่าปิเปตต์กาหนดปริมาตรจะให้ความแม่นและความเที่ยงสูงกว่าปิเปตต์ตวง เพราะปิเปตต์กาหนดปริมาตรจะให้ข้อมูลที่เป็นทศนิยม 4 ตาแหน่งจึงเป็นข้อมูลที่ละเอียดมากอีกทั้ง เนื่องจากปิเปตต์ดังกล่าวมีเพียงสเกลเดียวจึงทาให้มีค่าความคลาดเคลื่อนน้อยกว่าซึ่งส่งผลทาให้มี ความแม่นและเที่ยงสูงกว่าด้วย