SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
หน้าที่ 20

3. ให้ A เป็ นทรานสโพสของเมตริ กซ์ A ; Bt เป็ นทรานสโพสของเมตริ กซ์ B
                      2    5           4       1
    กาหนด A =               ,     B=                     จงหาเมตริ กซ์ต่อไปนี้
                      1    3            0      2
  ( 1 ) At =
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
  ( 2 ) ( At )t =
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
  ( 3 ) At + Bt =
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
   (4)     (A+B)t =
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….

    ข้ อสรุ ป การบวกเมตริ กซ์มีสมบัติดงนี้
                                      ั

        ให้ S   เป็ นเซตของ m  n เมตริ กซ์ กาหนด A, B, C เป็ นสมาชิกใด ๆ ของ S
            A   = [ aij ] m  n B = [ bij ] m  n      C = [ cij ] m  n
         (1)    สมบัติปิดของการบวก A  S และ B  S แล้ว A + B  S
         (2)    สมบัติการสลับที่ของการบวก A + B = B + A
         (3)    สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก ( A + B ) + C = A + ( B + C )
         ( 4 ) มีเอกลักษณ์สาหรับการบวก มี         0 m n       โดยที่ A +    0   = A =A+       0
                                                                                             

                           นันคือ
                             ่      0 m n    เป็ นเอกลักษณ์สาหรับการบวก
                                    
         ( 5 ) แต่ละสมาชิกมีอินเวอร์ สาหรับการบวก แต่ละ A  S จะมี - A                    S
                       โดยที่ A + ( - A ) = 0 = ( - A ) + A
                                                      
                 ดังนั้น A และ ( - A ) เป็ นอินเวอร์ สสาหรับการบวกซึ่ งกันและกัน

     โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 21


3.7    สมบัติเกียวกับการคูณเมตริกซ์ ด้วยเมตริกซ์
                ่
       ถ้า a, b, c เป็ นจานวนจริ งใด ๆ จะมีสมบัติเกี่ยวกับการคูณดังนี้
       1. สมบัติปิดของการคูณ ถ้า a  R และ b  R แล้ว ab  R
       2. สมบัติการสลับทีของการคูณ
                           ่                   ab = ba
       3. สมบัติการเปลียนกลุ่มได้ ของการคูณ ( a b ) c = a ( b c )
                         ่
       4. มีเอกลักษณ์ การคูณ มี I  R โดยที่ I . a = a . I = a ทุกค่า a                               R
       5. มีอนเวอร์ สการคูณสาหรับการคูณสาหรับจานวนจริงแต่ ละจานวนทีไม่ ใช่ 0
              ิ                                                        ่
                  แต่ ละ a  R จะมี a- 1 = 1 ซึ่งเป็ นจานวนจริ ง โดยที่
                                                         a
                     . -1       -1 .
                    a a = a a = 1
       6. สมบัติการแจกแจง             a( b + c ) = ab + ac
                                        ( a + b ) c = ac + bc
            และสมบัติอื่น ๆ ที่สาคัญบางประการ เช่น สมบัติการตัดออกของการคูณ
              ถ้า ab = ac และ a  0 แล้ว b = c
            จากสมบัติการคูณของจานวนจริ งข้างต้นนี้ เมื่อพิจารณาถึงการคูณของเมตริ กซ์สองเมตริ กซ์ A และ
B ใด ๆ ที่สามารถหาการคูณ AB และ BA ได้เสมอ ซึ่ งจะเห็นว่า ต้องเป็ นเมตริ กซ์จตุรัสมิติ ั
n  n ตัวอย่างเช่ น 2  2 เมตริ กซ์ นันคือ ถ้าให้ S เป็ นเซตของเมตริ กซ์ที่มีมิติ 2  2 โดยที่สมาชิก
                                          ่
                                                                                     ่
ทุกตัวของเมตริ กซ์เป็ นจานวนจริ ง เมื่อพิจารณาถึงผลคูณของเมตริ กซ์ดวยเมตริ กซ์ จะได้วา
                                                                   ้
มีสมบัติเกี่ยวกับการคูณบางประการ ดังนี้
        สมบัติปิดเกียวกับการคูณ
                    ่
        ให้ S เป็ นเซตของ 2  2 และ A, B เป็ นสมาชิกใด ๆ ของ S
                                 a11         a12                         b11       b12 
        กาหนดให้        A =                          และ          B =                   
                                 a 21        a 22                        b 21      b 22 


                                 a11 b11         a12 b 21                         a12 b 22 
              ่
        จะได้วา       AB =      
                                                                     a11 b12
                                                                                               
                                 a 21 b 21       a 22 b 21         a 21 b12       a 22 b 22 



                                                        ่
        ดังนั้น ถ้า A และ B เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ จะได้วา A B เป็ น 2  2 เมตริ กซ์




      โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 22




สมบัตเิ กียวกับการคูณเมตริกซ์ ด้วยเมตริกซ์ สาหรับ 2
          ่                                                2 เมตริกซ์
1.    สมบัติปิดของการคูณ
        ให้ A และ B เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ ใด ๆ แล้ว ผลคูณ A B เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ เสมอ
2.    สมบัติการเปลียนกลุ่มของการคูณ
                   ่
        ให้ A , B และ C เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ ใด ๆ แล้ว ( A B ) C = A ( B C )
3.    การมีเอกลักษณ์ สาหรับการคูณ
                           1     0
       จะมีเมตริ กซ์ I =              ซึ่งเป็ น 2  2 เมตริ กซ์ ที่ทาให้ A I = I A = A ทุกเมตริ กซ์
                           0     1
ซึ่งเป็ น 2  2 เมตริ กซ์ใด ๆ
                    1   0
       เรี ยก I =           ว่าเอกลักษณ์สาหรับการคูณในเซตของ 2  2 เมตริ กซ์ หรื อเรี ยกว่า เมตริกซ์
                    0   1

เอกลักษณ์ ( Unit matrix )
4. การทีแต่ ละเมตริกซ์ มีอนเวอร์ สสาหรับการคูณ
          ่               ิ
                    a     b
        ให้ A =               เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ โดยที่ ad - bc        0 จะมีเมตริ กซ์ A– 1 เป็ น 2  2
                    c     d
                                         d    b
เมตริ กซ์ โดยที่ A– 1 =           1
                              ad  bc
                                                    ซึ่งทาให้ AA- 1 = A– 1 A = I
                                        c     a

       เรี ยก A– 1 ว่า อินเวอร์ สการคูณของ A
5.    สมบัติการแจกแจงสาหรับการคูณ
       ให้ A, B และ C เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ ใด ๆ
              สมบัติการแจกแจงทางซ้าย A ( B + C ) = A B + A C
              สมบัติการแจกแจงทางขวา ( A + B ) C = A C + B C

     ข้ อสั งเกตสาหรับการสลับทีของการคูณ A B และ B A
                               ่
            ถ้า A และ B เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ ใด ๆ ผลคูณ A B และผลคูณ BA อาจจะมีค่าเท่ากัน
     หรื อไม่เท่ากันก็ได้

     บทนิยาม กาหนดให้ A เป็ น n  n เมตริ กซ์ ใด ๆ จะมี In  n เป็ นเอกลักษณ์ของการคูณ ซึ่งทาให้
               A I = I A = A โดยที่ I = [ipq ] n  n
          กาหนดโดย ipq = 1 เมื่อ p = q
                            0 เมื่อ p  q

      โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 23


          นั้นคือ เอกลักษณ์ของการคูณ 1  1 เมตริ กซ์ คือ [ 1 ]
                                                                 1    0
                  เอกลักษณ์ของการคูณ 2  2 เมตริ กซ์ คือ               
                                                                 0    1
                                                                 1    0     0
                                                                             
                  เอกลักษณ์ของการคูณ 3  3 เมตริ กซ์ คือ         0    1     0
                                                                 0
                                                                      0     1
                                                                              
                                                                 1    0     0     0
                                                                                   
                  เอกลักษณ์ของการคูณ 4  4 เมตริ กซ์ คือ         0
                                                                 0
                                                                       1     0     0
                                                                                        เป็ นต้น
                                                                       0     1     0
                                                                                   
                                                                 0    0     0     1



      บทนิยาม กาหนดให้ A เป็ น n  n เมตริ กซ์ ใด ๆ จะมีเมตริ กซ์ B ซึ่งมีมิติ n  n เป็ นอินเวอร์ส
      การคูณของเมตริ กซ์ A ก็ต่อเมื่อ AB = BA = I
      เมื่อ I คือ เมตริ กซืเอกลักษณ์มิติ n  n เขียนแทน B ซึ่งเป็ นอินเวอร์สของ A ด้วย A – 1

                                                                             1
     นั้นคือ ถ้า A = [a] ซึ่งเป็ น I  I เมตริ กซ์ จะได้วา A – 1 =
                                                         ่                  a    โดยที่ a        0
                                                                             
                                      1           1
     ซึ่งทาให้ A . A – 1 = [a]       a    =   a a     = [1] = I
                                                    
                                  1           1     
                A –1 . A =       a    [a] =    a a    = [1] = I
                                                    
                 a       b                                                             d         b
     ถ้า A =                 ซึ่งเป็ น 2  2 เมตริ กซ์ จะได้วา A – 1 =
                                                               ่                1
                                                                             ad  bc
                                                                                                     
                 c       d                                                            c          a

     เมื่อ ad – bc       0 ซึ่งทาให้ A . A– 1 = A– 1. A = I

   จะเห็นได้วา เมื่อกาหนด A เป็ น n  n เมตริ กซ์ ใด ๆ อาจจะหาเมตริ กซ์ A– 1 ได้ หรื ออาจจะหา
                 ่
เมตริ กซ์ A– 1 ไม่ได้ ขึ้นอยูกบเมตริ กซ์ A
                                  ่ ั
   กรณี หา A– 1 ไม่ได้ จะเรี ยกเมตริ กซ์ A เช่นนี้วา ซิงกูลาร์ เมตริกซ์ ( singular matrix ) หรื อ เมตริกซ์
                                                    ่
เอกฐาน
   กรณี ที่หา A– 1 ได้ เรี ยกเมคริ กซ์ A เช่นนี้วา นอนซิงกูลาร์ เมตริกซ์ ( non – singular matrix ) หรื อ
                                                 ่
เมตริกซ์ ซึ่งไม่ ใช่ เมตริกซ์ เอกฐาน




      โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 24


                                                      แบบฝึ กหัด 7

                                      ่
1. จงพิจารณาว่า เมตริ กซื ที่กาหนดให้ตอไปนี้มีอินเวอร์ สการคูณหรื อไม่ ถ้ามีจงหาอินเวอร์ สของเมตริ กซ์
   นั้น ๆ
                      2       5
     (1) A =                          พิจารณา ad – bc = 2(3) – 1(5)       0
                      1       3
                                                 d    b         1  3     5        3    5
            ดังนั้น A- 1 =               1
                                                           =                   =           
                                      ad  bc   c     a       6 5  1    2        1    2
                      1        3
    (2) B =                           พิจารณา ad – bc = ………………………………………………..
                      2        4



            ดังนั้น B- 1 =

                      2       4
    (3)     C =                       พิจารณา ad – bc = ……………………………………………….
                      3       6



            ดังนั้น C- 1 =

                      2       0
    (4)     D =                        พิจารณา ad – bc = ……………………………………………….
                      0       2



            ดังนั้น D- 1 =

                      1       0
    (5)     I =                         พิจารณา ad – bc = ……………………………………………..
                      0       1



            ดังนั้น I – 1 =

                      0        0
    (6)     0    =                      พิจารณา ad – bc = ………………………………………………….
                     0        0


                          -1
            ดังนั้น   0         =
                      




      โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 25

                3   2                3    5
2. ให้ A =              และ B =                   จงหาเมตริ กซ์ต่อไปนี้
                4   3                1    2



   ( 1 ) A- 1         =

   ( 2 ) ( A- 1 ) – 1 =

   ( 3 ) B- 1         =

   ( 4 ) A- 1 B- 1    =

   ( 5 ) B- 1 . A- 1 =

   ( 6 ) AB           =

           ( AB ) – 1 =



  ข้ อสั งเกต ( 1 ) จงพิจารณาว่ามีผลลัพธ์ในข้อใดที่มีค่าเท่ากัน
                      ……………………………………………………………………………….
                ( 2 ) (A– 1) – 1 และ A เป็ นเมตริ กซ์ที่เท่ากันหรื อไม่
                      ……………………………………………………………………………….

                     1   2
3. กาหนด A =                 จงหาผลของเมตริ กซ์ต่อไปนี้
                     0   1



   (1) A.A            =

   (2) A.(A.A)=

   (3) (A.A)A. =



    โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 26

    ข้ อสั งเกต ผลลัพธ์ A . ( A . A ) และ ( A . A ) A . เป็ นเมตริ กซ์ที่เท่ากันหรื อไม่
                 ……………………………………………………………………………

                    0    2
4. กาหนด A =                 จงหา A2
                    0    0
   A . A = …………………………………………………………………………………………………….
           …………………………………………………………………………………………………….
                                                                 ่
5. กาหนดให้ A, B และ C เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ n  n จงพิจารณาดูวาข้อความต่อไปนี้ ถูกหรื อผิด
   …………… ( 1 )        0A = 0             และ A 0 = 0 และ 0 . 0 = 0
                                                                                      
    …………… ( 2 ) ถ้า A B =                 0      แล้ว     A =       0       หรื อ B =   0
                                                                                      
    …………… ( 3 ) ถ้า A A =                 0     แล้ว      A =       0
                                                                   
    ……………          (4)     ถ้า    A   =   B     แล้ว A C = B C
    ……………          (5)     ถ้า    A   =   B     แล้ว A C = C B
    ……………          (6)     ถ้า   AB   =   AC     แล้ว B = C
    ……………          (7)     ถ้า   AB   =   AC     และ A  0 แล้ว B = C
                                                                        

    …………… ( 8 ) ถ้า A B = A                      แล้ว      B = In  n
    …………… ( 9 ) ถ้า A B = A                      และ       A           0    แล้ว B = In  n
                                                                        
    …………… ( 10 )               ( A B ) – 1 = A– 1 B– 1

สมบัตเิ พิมเติมบางประการในการคูณเมตริกซ์
          ่

   บทนิยาม ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์จตุรัสใด ๆ และ n เป็ นจานวนเต็มบวก แล้ว
                                ั
                An = A . A . … . A        ( n เมตริ กซ์ )

       นั้นคือ         A2 = A . A
                        A3 = A . A . A
    เนื่องจากการคูณเมตริ กซ์มีสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้สาหรับการคูณ
         ดังนั้น A . A . A = ( A . A ) A = A2 . A
         หรื อ    A . A . A = A . ( A . A ) = A . A2
         ดังนั้น    A2 . A = A . A2


     โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 27

คุณสมบัติเพิมเติมบางประการ สาหรับเมตริ กซ์ A, B ใด ๆ ที่หา A B และ B A ได้
            ่
1. ถ้า A = B แล้ว A B = B A              5. ( A + B ) ( A – B ) = ( A + B ) ( A + ( - B ) )
            2
2. ( A + B ) = ( A + B ) ( A + B )                                        = AA + A ( - B ) + BA + B( - B )
                = AA + AB + BA + BB                                       = A2 + ( -AB ) + BA + ( - B2 )
                = A2 + AB + BA + B2                                       = A2 - AB + BA + B2
3. ( A + B )2 = A2 + 2AB + B2                  6. ( A + B ) ( A – B ) = A2 - B2
            ก็ต่อเมื่อ AB = BA          7. c( AB ) = ( c A )B = A( c B )
4. A( - B ) = ( -A )B = - AB                เมื่อ c เป็ นจานวนจริ งใด ๆ
                                        8. ถ้า A = B แล้ว AC = BC
                                             ( การคูณด้วยเมตริ กซ์ที่เท่ากันทางขวามือ )
   9. ถ้า A = B แล้ว CA = CB ( การคูณด้วยเมตริ กซ์ที่เท่ากันทางซ้ายมือ )
   10. กาหนด A, B เป็ น n  n เมตริ กซ์ ถ้า AB = A โดยที่ A  0
                                                                                   

        และ A เป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์แล้ว B = In  n

      คุณสมบัตของทรานสโพส
              ิ
                                                               t
          1. ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ m  n แล้ว ( At ) = A
          2. ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ m  n และ k เป็ นจานวนจริ ง แล้ว ( k A )t = k At
          3. ถ้า A และ B เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ m  n แล้ว ( A  B )t = At  Bt
                                                                                      
          4. ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ m  n และ B เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ n  k แล้ว ( AB )t = At Bt


                                ทฤษฎีเกียวกับอินเวอร์ สการคูณของเมตริกซ์
                                        ่


ทฤษฎีบทที่ 1 ถ้า A และ B เป็ นนอนซิ งกูลาร์ เมตริ กซ์ ซึ่ งมีมิติเท่ากับ n  n แล้ว
                   A B จะเป็ นนอนซิงกูลาร์ดวย และ
                                           ้                  ( AB )- 1 = B-1A-1
 ทฤษฎีบทที่ 2 ถ้า A เป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์ จะได้วา A– 1 เป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์
                                                     ่
                และ ( A– 1 ) – 1 = A
                                                                                            ่
 ทฤษฎีบทที่ 3 ถ้า A, B และ C เป็ น n  n เมตริ กซ์ และ A เป็ นนอนซิ งกูลาร์ เมตริ กซ์ จะได้วา
                ( 1 ) ถ้า AB = AC แล้ว B = C
                ( 2 ) ถ้า BA = CA แล้ว B = C
      โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 28


                                                   แบบฝึ กหัด 8

1. จงหาเมตริ กซ์ A จากสมการต่อไปนี้
            1    2             0      1
    (1)              A =               
            1    3             1     2




                 3    2          5     0
   (2) A.                 =              
                 2    2          1    1




           5     2         1    3         1   0
   (3)               A-              =         
           2     1         1    1         0   2




     โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 29



2.     บทนิยาม ถ้า A เป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์ และ n                     I*
                                         A- n =      ( A– 1 ) n

                          2    5
     กาหนดให้ A =                      จงหา A- 2
                          1    3




3.8     ดีเทอร์ มินันต์ ( Determinant )
                                                                  a   b
      ในการพิจารณาอินเวอร์สการคูณของเมตริ กซ์ A =                             จะเห็นว่า เมตริ กซ์ A จะมีอินเวอร์ส
                                                                  c   d
                       ่ ั                                                 ่
การคูณหรื อไม่ข้ ึนอยูกบค่าของ ad – bc ซึ่ งเป็ นจานวนจริ งจานวนหนึ่งและมีคาเดียวสาหรับเมตริ กซ์ A จะ
                                    ่
เรี ยกจานวนจริ งที่เกิดในรู ปแบบนี้วา ดีเทอร์ มินันต์ ของ A
      ให้ A เป็ น n  n เมตริ กซ์ จะหาจานวนจริ งในรู ปแบบดีเทอร์มินนต์ของ A นี้ได้เสมอ ไม่วา A จะ
                                                                      ั                          ่
มีมิติเช่นไร
       กาหนดให้ A = [aij ] n  n ดีเทอร์มินนต์ของ A จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
                                                  ั
                            a11 a12 . . . a1n
det (A) หรื อ | A | =       .    . . .. .
                            a n1 a n 2 . . . a nn



     บทนิยาม     ถ้า A = [a] เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ 1  1 แล้ว det ( A ) = a

ตัวอย่างที่ 1     ถ้า A = [5 ]              แล้ว det ( A ) = 5
                   ถ้า A = [0 ]              แล้ว det ( A ) = 0
                                 1
                   ถ้า A =        2       แล้ว det ( A ) = -        1
                                                                     2



        โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 30


                               a11     a12 
     บทนิยาม      ถ้า A =                           เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ 2  2 แล้ว
                               a 21    a 22 

                    det ( A ) = a 11 a 22 - a 21 a 12


                            2    1
ตัวอย่างที่ 2   ถ้า A =                         แล้ว det ( A ) = 2(3) - 6(1) = 0
                            6    3


                             2       1
                 ถ้า A =                            แล้ว det ( A ) = (-2)4 - 3(1) = (-8) - 3
                              3       4


                             2     3
                 ถ้า A =                            แล้ว det ( A ) = 2(5) - 1(-3) = 10 + 3 = 13
                             1      5
      จากบทนิยามดีเทอร์มินนต์ของ 2  2 เมตริ กซ์ที่ให้ไว้ขางต้น จะนาไปใช้ในการนิยามดีเทอร์มินนต์
                          ั                               ้                                  ั
n  n เมตริ กซ์ ที่ n > 2 ดังบทนิยามต่อไปนี้

บทนิยามการหาไมเนอร์ ( Minor ) ของสมาชิก a i j ของ n                     n เมตริกซ์ A ( n      2)

       บทนิยาม กาหนดเมตริ กซ์ A = [aij ] n  n โดยที่ a ij  R และ n เป็ นจานวนเต็ม
       มีมากกว่าหรื อเท่ากับ 2 ไมเนอร์ของ aij คือ ดีเทอร์มินนต์ของเมตริ กซ์ที่ได้จากการตัดแถวที่ i
                                                            ั
      และหลักที่ j ของเมตริ กซ์ A ออก
             เขียนแทนไมเนอร์ ของ aij ด้ วย M ij( A )

ตัวอย่างที่ 3    จงหาไมเนอร์ของสมาชิกทุกตัวของเมตริ กซ์ A เมื่อ
                                                 2    1      1
                                                               
                                       A =       1     4      0
                                                 2
                                                       0     2
                                                                
วิธีทา จากบทนิยามการหาไมเนอร์ของ aij จะต้องตัดแถวที่ i และหลักที่ j ของเมตริ กซ์ออก แล้วจึงหาดี
เทอร์มินนต์ของเมตริ กซ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เหลือ
        ั

       ดังนั้น จะได้ M ij ( A ) แต่ละตัว ดังนี้
                      M 11 ( A ) =          4
                                            0
                                                  0
                                                 2
                                                            = (-8)–0 = -8
                      M 12 ( A ) =      1
                                        2
                                                  0
                                                 2
                                                            = (-2)–0 = -2

       โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 31

                        M 13 ( A ) =      1     4
                                                           = 0–8           = -8
                                          2     0
                                           1
                        M 21 ( A ) =        0
                                                     1
                                                    2
                                                           = 2–0           = 2
                        M 22 ( A ) =       2     1
                                                           = (-4)–2 = -6
                                           2    2
                                                1
                        M23 ( A ) =        2
                                                           = 0–(-2) = 2
                                           2     0
                                           1
                        M 31 ( A ) =        4
                                                    1
                                                    0
                                                           = 0–4           = -4
                        M 32 ( A ) =       2    1
                                                           = 0–1           = -1
                                           1    0
                                                1
                        M 33 ( A ) =       2
                                           1     4
                                                           = 8–(-1) = 9


บทนิยามการหาโคแฟกเตอร์ ( Cofactor ) ของสมาชิก a i j ของ n                  n เมตริกซ์ A ( n      2)

   บทนิยาม กาหนด A = [aij ] n  n โดยที่ a ij  R และ n เป็ นจานวนเต็มที่มากว่าหรื อเท่ากับ 2
            โคแฟกเตอร์ของ aij คือ ผลคูณ ( - 1 )I+ j และ M ij ( A )
            เขียนแทนโคแฟกเตอร์ ของ aij ด้ วย C ij ( A )

                จากบทนิยามจะได้วา C ij ( A ) = ( - 1 ) I+ j . M ij ( A )
                                ่
ตัวอย่างที่ 4     จงหาโคแฟกเตอร์ของสมาชิกทุกตัวของเมตริ กซ์ A ในตัวอย่างที่ 3
                                  2   1   1
                                            
                          A =     1    4 0
                                  2
                                       0  2
                                             
วิธีทา        จากบทนิยาม C ij ( A ) = ( - 1 ) I+ j . M ij ( A )
              ใช้ค่า M ij ( A ) จากตัวอย่างที่ 3 จะหาค่า C ij ( A ) แต่ละจานวนดังนี้
                      C 11 ( A ) = ( - 1 ) 1+1 . M 11 ( A ) = ( 1 ) ( -8 ) = - 8
                      C 12 ( A ) = ( - 1 ) 1+2 . M 12 ( A ) = ( -1 ) ( -2 ) = 2
                      C 13 ( A ) = ( - 1 ) 1+3 . M 13 ( A ) = ( 1 ) ( -8 ) = - 8
                      C 21 ( A ) = ( - 1 ) 2+1 . M 21 ( A ) = ( -1 ) ( 2 ) = - 2
                      C 22 ( A ) = ( - 1 ) 2+2 . M22 ( A ) = ( 1 ) ( -6 ) = - 6
                      C 23 ( A ) = ( - 1 ) 2+3 . M 23 ( A ) = ( -1 ) ( 2 ) = - 2
                      C 31 ( A ) = ( - 1 ) 3+1 . M 31 ( A ) = (1 ) ( - 4) = - 4
                      C 32 ( A ) = ( - 1 ) 3+2 . M 32 ( A ) = ( -1 ) ( -1 ) = 1

         โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 32

                 C 33 ( A ) = ( - 1 ) 3+3 . M 33 ( A ) = ( 1 ) ( 9 )  = 9
      จากบทนิยามของไมเนอร์และโคแฟกเตอร์ของสมาชิก aij ของเมตริ กซ์จตุรัส n  n ที่กล่าวมาข้างต้น
                                                                       ั
จะนาไปใช้การหาดีเทอร์มินนต์ของเมตริ กซ์ โดยนิยามดีเทอร์มินนต์ของเมตริ กซ์จตุรัส n  n เมื่อ n  2
                         ั                                  ั             ั
ได้ดงนี้
    ั

         บทนิยาม กาหนด A = [aij ] n  n โดยที่ a ij  R และ n เป็ นจานวน เต็มที่มากกว่าหรื อเท่ากับ 2
          ดีเทอร์มินนต์ของ A เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ det (A)
                    ั
          กาหนดโดย det ( A ) = ai1 C i1(A) + a i2Ci2 ( A ) + … + ainCin( A )
           หรื อ         det ( A ) = a1j C 1 j(A) + a 2jC2j ( A ) + … + anjCnj( A )



  จากบทนิยาม จะหาค่า          det ( A ) อย่างง่าย โดยใช้แถวที่ 1 ดังนี้
             det ( A )        = a11C 11+ a 12C12 ( A ) + … + a1nC 1n( A )
       หรื ออาจจะหาค่า         det ( A ) โดยใช้แถวที่ 1 ดังนี้
            det ( A )         = a11 C 11 + a 21C21 ( A ) + … + an1Cn1( A )

ตัวอย่างที่ 5       จงหาดีเทอร์มินนต์ของเมตริ กซ์ A จากตัวอย่างที่ 4
                                  ั
                                    2   1   1
                                              
วิธีทา            det ( A )    =    1    4   0
                                    2
                                         0  2
                                               
      จากบทนิยามของดีเทอร์มินนต์ det ( A ) = a11 C 11(A) + a 12C12 ( A ) + a13C13( A ) ใช้แถวที่ 1
                              ั
                                               = 2 ( -8 ) + ( -1 ) ( 2 ) + 1 ( -8 )
                                               = ( -16 ) + ( -2 ) + ( -8 ) = - 26
                     หรื อ          det ( A ) = a11 C 11 + a 21C21 ( A ) + a31C31( A ) ใช้แถวที่ 1
                                               = 2 ( -8 ) + 1 ( -2 ) + 2 ( -4 )
                                               = ( -16 ) + ( -2 ) + ( -8 ) = - 26
ในทานองเดียวกัน จะสามารถหาค่า det ( A ) จากบทนิยามโดยใช้แถวที่ i ใด ๆ หรื อหลักที่ j ใด ๆ ได้เสมอ




         โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 33


                                                   แบบฝึ กหัดที่ 9

1.    จงหาดีเทอร์ มินันต์ ของเมตริกซ์ ต่อไปนี้
                    2     3                              2     3
      (1) A =               ;            det ( A ) =                 = ( -2 ) ( -1 ) - 3 ( 5 ) = 2 – 5 = - 13
                     5  1                                 5  1
                     2 4                                    2 4
      (2) B =            ;                  det ( B ) =              = 2 ( 5 ) - 3 ( 4 ) = 10 – 12 = - 2
                     3 5                                    3 5


                    3    6
      (3) C =                ;              det ( C ) =
                    2    4


                     x        x  1
      (4) D =                            ; det ( D ) =
                     x 1      2x 


                    cos x          sin x 
      (5) E =                                ; det ( E ) =
                    sin x        cos x 


                         2    4     1
                                      
2. กาหนด A =             3    4     6        จงหาค่า det ( A ) จากบทนิยาม ตามเงื่อนไขดังนี้
                         1
                              0     1
     (1 )    det ( A ) = a11 C 11 + a 12C12 ( A ) + a13C13( A )




     (2)     det ( A ) = a11 C 11 + a 21C21 ( A ) + a31C31( A )




     (3)     det ( A ) = a 31 C 31 + a 32C32 ( A ) + a33C33( A )




     โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 34




     ข้ อสั งเกต การหา det ( A ) จากข้อ ( 1 ) - ( 3 ) มีค่าเท่ากันหรื อไม่ ……………………….

3.
       การหาค่าดีเทอร์ มินนต์ของ 3  3 เมตริ กซ์ที่กาหนด อาจหาโดยวิธีลดได้ดงนี้
                          ั                                           ั    ั
                                2    4      1
                                              
                  ให้ A =       3    4      6
                                1
                                     0      1
      ขั้นที่ 1 นาสมาชิกเมตริ กซ์ไปเขียนเรี ยงกันโดยเขียนเพิ่มอีก 2 หลัก เหมือนหลัก 2 หลักแรก
                              2 4 -1 2 4
                            3 4 6 3 4
                            1 0 1 1 0
      ขั้นที่ 2 หาผลคูณตามแนวลูกศร โดยคูณลงเป็ นบวก คูณขึ้นเป็ นลบ
                                             - - -
                              2 4 -1 2 4
                            3 4 6 3 4
                            1 0 1 1 0
                                        + + +

      ขั้นที่ 3  หาค่า det ( A ) คือ ผลบวกของผลคูณทั้งหมด
                         det ( A ) = 8 + 24 + 0 – ( -4 ) – 0 – 12 = 24
       จงใช้วธีการเดียวกับข้างต้นหาค่าดีเทอร์ มินนต์ต่อไปนี้
             ิ                                   ั
                          1    2     3
                                      
      ( 1 ) ให้ B =       4    5     6    จงหา det ( B )
                          7
                               8     9
                                       




                          2        3     4
                                             
      ( 2 ) ให้ C =        0         5     7     จงหา det ( C )
                           1
                                     2    1 
                                              




     โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 35


                              2   3    1
                                        
         ( 3 ) ให้ D =        4   0    1   จงหา det ( D )
                              0
                                  0    0
                                         




                               1 2    3
                                        
         ( 4 ) ให้ E =         1 5     1        จงหา det ( E )
                               1 2
                                       3
                                         




                              2   3   1                     1    2    3
                                                                        
         (5)    ให้ F =       1    2   3    และ G =          2   3    1     จงหา det ( F ) และ det ( G )
                              2
                                   1   1
                                                              2
                                                                    1    1
                                                                           




          ข้ อสั งเกต เมตริ กซ์ G เกิดจากการสลับแถวที่ 1 และแถวที่ 2 ของเมตริ กซ์ F
                       จงพิจารณาว่า det ( G ) และ det ( F ) มีความสัมพันธ์อย่างไร
                       …………………………………………………………………………

               1 2      3                  2     4   6
                                                      
5. ให้ A =     4 5      6    และ B =       4     5   6     จงหาค่าต่อไปนี้
               1 1
                        2
                                            1
                                                   1   2
                                                         
   (1)     det ( A ) =



   (2)     det ( B ) =




   ข้ อสั งเกต เมตริ กซ์ B เกิดจากการนา 2 คูณกับแถวของเมตริ กซ์ A
                จงพิจารณาว่า det ( B ) และ det ( A ) มีความสัมพันธ์อย่างไร

    โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
หน้าที่ 36

                  …………………………………………………………………………
                  1 2     3                          1         2            3 
                                                                                
6. ให้ A =        4 5     6       และ C =            4         5           6 
                  1 1
                          2
                                                2(1)  1
                                                            2(2)  1   2 ( 3)  2 
                                                                                   
    โดยแถวที่ 3 ของ C เกิดจาก 2 เท่าของสมาชิกแถวที่ 1 ของ A บวกกับแถวที่ 3 ของ A จงหา
    det ( A ) และ det ( C )

    (1)      det ( A ) =

    (2)      det ( C ) =



    ข้ อสั งเกต   det ( A ) และ det ( C ) มีค่าเท่ากันหรื อไม่ ……………………………


                   1         2        3 
                                          
7. ให้ A =         3(1)   3( 2 )    3( 3)    จงหา det ( A )
                   1
                             0         2 
.




    โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32

Contenu connexe

Tendances

การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์porntipa Thupmongkol
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)Thanuphong Ngoapm
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Thanuphong Ngoapm
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่Chon Chom
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงRitthinarongron School
 

Tendances (20)

การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์
 
Addition matrix
Addition matrixAddition matrix
Addition matrix
 
Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
 
Unit 1 matrix
Unit 1 matrixUnit 1 matrix
Unit 1 matrix
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
Matrix problem p
Matrix problem pMatrix problem p
Matrix problem p
 
Logic problem p
Logic problem pLogic problem p
Logic problem p
 
P2a
P2aP2a
P2a
 
Square Root
Square RootSquare Root
Square Root
 
Math3
Math3Math3
Math3
 
Linear1
Linear1Linear1
Linear1
 

Similaire à Matrix2

อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrusongkran
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติmou38
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติThphmo
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02witthawat silad
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมaass012
 
Chapter1 vector
Chapter1 vectorChapter1 vector
Chapter1 vectorRangsit
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์Krudodo Banjetjet
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบprapasun
 
จัตุรัสพาเพลืิน
จัตุรัสพาเพลืินจัตุรัสพาเพลืิน
จัตุรัสพาเพลืินJiraprapa Suwannajak
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์wisita42
 
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ทับทิม เจริญตา
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2krookay2012
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริงChwin Robkob
 
ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03witthawat silad
 

Similaire à Matrix2 (20)

Ch02 linear algrebra2
Ch02 linear algrebra2Ch02 linear algrebra2
Ch02 linear algrebra2
 
Number
NumberNumber
Number
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
Onet math
Onet mathOnet math
Onet math
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
Chapter1 vector
Chapter1 vectorChapter1 vector
Chapter1 vector
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
Conc mat กสพท54
Conc mat กสพท54Conc mat กสพท54
Conc mat กสพท54
 
จัตุรัสพาเพลืิน
จัตุรัสพาเพลืินจัตุรัสพาเพลืิน
จัตุรัสพาเพลืิน
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง
 
ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03
 

Matrix2

  • 1. หน้าที่ 20 3. ให้ A เป็ นทรานสโพสของเมตริ กซ์ A ; Bt เป็ นทรานสโพสของเมตริ กซ์ B 2 5 4 1 กาหนด A =  , B=   จงหาเมตริ กซ์ต่อไปนี้ 1 3  0  2 ( 1 ) At = …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. ( 2 ) ( At )t = …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. ( 3 ) At + Bt = …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. (4) (A+B)t = …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. ข้ อสรุ ป การบวกเมตริ กซ์มีสมบัติดงนี้ ั ให้ S เป็ นเซตของ m  n เมตริ กซ์ กาหนด A, B, C เป็ นสมาชิกใด ๆ ของ S A = [ aij ] m  n B = [ bij ] m  n C = [ cij ] m  n (1) สมบัติปิดของการบวก A  S และ B  S แล้ว A + B  S (2) สมบัติการสลับที่ของการบวก A + B = B + A (3) สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก ( A + B ) + C = A + ( B + C ) ( 4 ) มีเอกลักษณ์สาหรับการบวก มี 0 m n โดยที่ A + 0 = A =A+ 0    นันคือ ่ 0 m n เป็ นเอกลักษณ์สาหรับการบวก  ( 5 ) แต่ละสมาชิกมีอินเวอร์ สาหรับการบวก แต่ละ A  S จะมี - A  S โดยที่ A + ( - A ) = 0 = ( - A ) + A  ดังนั้น A และ ( - A ) เป็ นอินเวอร์ สสาหรับการบวกซึ่ งกันและกัน โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 2. หน้าที่ 21 3.7 สมบัติเกียวกับการคูณเมตริกซ์ ด้วยเมตริกซ์ ่ ถ้า a, b, c เป็ นจานวนจริ งใด ๆ จะมีสมบัติเกี่ยวกับการคูณดังนี้ 1. สมบัติปิดของการคูณ ถ้า a  R และ b  R แล้ว ab  R 2. สมบัติการสลับทีของการคูณ ่ ab = ba 3. สมบัติการเปลียนกลุ่มได้ ของการคูณ ( a b ) c = a ( b c ) ่ 4. มีเอกลักษณ์ การคูณ มี I  R โดยที่ I . a = a . I = a ทุกค่า a  R 5. มีอนเวอร์ สการคูณสาหรับการคูณสาหรับจานวนจริงแต่ ละจานวนทีไม่ ใช่ 0 ิ ่ แต่ ละ a  R จะมี a- 1 = 1 ซึ่งเป็ นจานวนจริ ง โดยที่ a . -1 -1 . a a = a a = 1 6. สมบัติการแจกแจง a( b + c ) = ab + ac ( a + b ) c = ac + bc และสมบัติอื่น ๆ ที่สาคัญบางประการ เช่น สมบัติการตัดออกของการคูณ ถ้า ab = ac และ a  0 แล้ว b = c จากสมบัติการคูณของจานวนจริ งข้างต้นนี้ เมื่อพิจารณาถึงการคูณของเมตริ กซ์สองเมตริ กซ์ A และ B ใด ๆ ที่สามารถหาการคูณ AB และ BA ได้เสมอ ซึ่ งจะเห็นว่า ต้องเป็ นเมตริ กซ์จตุรัสมิติ ั n  n ตัวอย่างเช่ น 2  2 เมตริ กซ์ นันคือ ถ้าให้ S เป็ นเซตของเมตริ กซ์ที่มีมิติ 2  2 โดยที่สมาชิก ่ ่ ทุกตัวของเมตริ กซ์เป็ นจานวนจริ ง เมื่อพิจารณาถึงผลคูณของเมตริ กซ์ดวยเมตริ กซ์ จะได้วา ้ มีสมบัติเกี่ยวกับการคูณบางประการ ดังนี้ สมบัติปิดเกียวกับการคูณ ่ ให้ S เป็ นเซตของ 2  2 และ A, B เป็ นสมาชิกใด ๆ ของ S  a11 a12   b11 b12  กาหนดให้ A =   และ B =    a 21 a 22   b 21 b 22   a11 b11  a12 b 21  a12 b 22  ่ จะได้วา AB =  a11 b12   a 21 b 21  a 22 b 21 a 21 b12  a 22 b 22  ่ ดังนั้น ถ้า A และ B เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ จะได้วา A B เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 3. หน้าที่ 22 สมบัตเิ กียวกับการคูณเมตริกซ์ ด้วยเมตริกซ์ สาหรับ 2 ่  2 เมตริกซ์ 1. สมบัติปิดของการคูณ ให้ A และ B เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ ใด ๆ แล้ว ผลคูณ A B เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ เสมอ 2. สมบัติการเปลียนกลุ่มของการคูณ ่ ให้ A , B และ C เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ ใด ๆ แล้ว ( A B ) C = A ( B C ) 3. การมีเอกลักษณ์ สาหรับการคูณ 1 0 จะมีเมตริ กซ์ I =   ซึ่งเป็ น 2  2 เมตริ กซ์ ที่ทาให้ A I = I A = A ทุกเมตริ กซ์ 0 1 ซึ่งเป็ น 2  2 เมตริ กซ์ใด ๆ 1 0 เรี ยก I =   ว่าเอกลักษณ์สาหรับการคูณในเซตของ 2  2 เมตริ กซ์ หรื อเรี ยกว่า เมตริกซ์ 0 1 เอกลักษณ์ ( Unit matrix ) 4. การทีแต่ ละเมตริกซ์ มีอนเวอร์ สสาหรับการคูณ ่ ิ a b ให้ A =   เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ โดยที่ ad - bc  0 จะมีเมตริ กซ์ A– 1 เป็ น 2  2 c d  d b เมตริ กซ์ โดยที่ A– 1 = 1 ad  bc   ซึ่งทาให้ AA- 1 = A– 1 A = I c a เรี ยก A– 1 ว่า อินเวอร์ สการคูณของ A 5. สมบัติการแจกแจงสาหรับการคูณ ให้ A, B และ C เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ ใด ๆ สมบัติการแจกแจงทางซ้าย A ( B + C ) = A B + A C สมบัติการแจกแจงทางขวา ( A + B ) C = A C + B C ข้ อสั งเกตสาหรับการสลับทีของการคูณ A B และ B A ่ ถ้า A และ B เป็ น 2  2 เมตริ กซ์ ใด ๆ ผลคูณ A B และผลคูณ BA อาจจะมีค่าเท่ากัน หรื อไม่เท่ากันก็ได้ บทนิยาม กาหนดให้ A เป็ น n  n เมตริ กซ์ ใด ๆ จะมี In  n เป็ นเอกลักษณ์ของการคูณ ซึ่งทาให้ A I = I A = A โดยที่ I = [ipq ] n  n กาหนดโดย ipq = 1 เมื่อ p = q 0 เมื่อ p  q โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 4. หน้าที่ 23 นั้นคือ เอกลักษณ์ของการคูณ 1  1 เมตริ กซ์ คือ [ 1 ] 1 0 เอกลักษณ์ของการคูณ 2  2 เมตริ กซ์ คือ   0 1 1 0 0   เอกลักษณ์ของการคูณ 3  3 เมตริ กซ์ คือ 0 1 0 0  0 1  1 0 0 0   เอกลักษณ์ของการคูณ 4  4 เมตริ กซ์ คือ 0 0 1 0 0 เป็ นต้น 0 1 0   0 0 0 1 บทนิยาม กาหนดให้ A เป็ น n  n เมตริ กซ์ ใด ๆ จะมีเมตริ กซ์ B ซึ่งมีมิติ n  n เป็ นอินเวอร์ส การคูณของเมตริ กซ์ A ก็ต่อเมื่อ AB = BA = I เมื่อ I คือ เมตริ กซืเอกลักษณ์มิติ n  n เขียนแทน B ซึ่งเป็ นอินเวอร์สของ A ด้วย A – 1  1 นั้นคือ ถ้า A = [a] ซึ่งเป็ น I  I เมตริ กซ์ จะได้วา A – 1 = ่ a โดยที่ a  0    1  1 ซึ่งทาให้ A . A – 1 = [a] a = a a = [1] = I      1 1  A –1 . A = a [a] =  a a  = [1] = I     a b  d  b ถ้า A =   ซึ่งเป็ น 2  2 เมตริ กซ์ จะได้วา A – 1 = ่ 1 ad  bc   c d c a เมื่อ ad – bc  0 ซึ่งทาให้ A . A– 1 = A– 1. A = I จะเห็นได้วา เมื่อกาหนด A เป็ น n  n เมตริ กซ์ ใด ๆ อาจจะหาเมตริ กซ์ A– 1 ได้ หรื ออาจจะหา ่ เมตริ กซ์ A– 1 ไม่ได้ ขึ้นอยูกบเมตริ กซ์ A ่ ั กรณี หา A– 1 ไม่ได้ จะเรี ยกเมตริ กซ์ A เช่นนี้วา ซิงกูลาร์ เมตริกซ์ ( singular matrix ) หรื อ เมตริกซ์ ่ เอกฐาน กรณี ที่หา A– 1 ได้ เรี ยกเมคริ กซ์ A เช่นนี้วา นอนซิงกูลาร์ เมตริกซ์ ( non – singular matrix ) หรื อ ่ เมตริกซ์ ซึ่งไม่ ใช่ เมตริกซ์ เอกฐาน โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 5. หน้าที่ 24 แบบฝึ กหัด 7 ่ 1. จงพิจารณาว่า เมตริ กซื ที่กาหนดให้ตอไปนี้มีอินเวอร์ สการคูณหรื อไม่ ถ้ามีจงหาอินเวอร์ สของเมตริ กซ์ นั้น ๆ 2 5 (1) A =   พิจารณา ad – bc = 2(3) – 1(5)  0 1 3  d  b 1  3 5  3 5 ดังนั้น A- 1 = 1   =   =   ad  bc c a 6 5  1 2  1 2 1  3 (2) B =   พิจารณา ad – bc = ……………………………………………….. 2 4 ดังนั้น B- 1 = 2 4 (3) C =   พิจารณา ad – bc = ………………………………………………. 3 6 ดังนั้น C- 1 = 2 0 (4) D =   พิจารณา ad – bc = ………………………………………………. 0 2 ดังนั้น D- 1 = 1 0 (5) I =   พิจารณา ad – bc = …………………………………………….. 0 1 ดังนั้น I – 1 = 0 0 (6) 0 =   พิจารณา ad – bc = ………………………………………………….  0 0 -1 ดังนั้น 0 =  โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 6. หน้าที่ 25 3 2 3 5 2. ให้ A =   และ B =   จงหาเมตริ กซ์ต่อไปนี้ 4 3 1 2 ( 1 ) A- 1 = ( 2 ) ( A- 1 ) – 1 = ( 3 ) B- 1 = ( 4 ) A- 1 B- 1 = ( 5 ) B- 1 . A- 1 = ( 6 ) AB = ( AB ) – 1 = ข้ อสั งเกต ( 1 ) จงพิจารณาว่ามีผลลัพธ์ในข้อใดที่มีค่าเท่ากัน ………………………………………………………………………………. ( 2 ) (A– 1) – 1 และ A เป็ นเมตริ กซ์ที่เท่ากันหรื อไม่ ………………………………………………………………………………. 1 2 3. กาหนด A =   จงหาผลของเมตริ กซ์ต่อไปนี้ 0 1 (1) A.A = (2) A.(A.A)= (3) (A.A)A. = โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 7. หน้าที่ 26 ข้ อสั งเกต ผลลัพธ์ A . ( A . A ) และ ( A . A ) A . เป็ นเมตริ กซ์ที่เท่ากันหรื อไม่ …………………………………………………………………………… 0 2 4. กาหนด A =   จงหา A2 0 0 A . A = ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ่ 5. กาหนดให้ A, B และ C เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ n  n จงพิจารณาดูวาข้อความต่อไปนี้ ถูกหรื อผิด …………… ( 1 ) 0A = 0 และ A 0 = 0 และ 0 . 0 = 0        …………… ( 2 ) ถ้า A B = 0 แล้ว A = 0 หรื อ B = 0    …………… ( 3 ) ถ้า A A = 0 แล้ว A = 0   …………… (4) ถ้า A = B แล้ว A C = B C …………… (5) ถ้า A = B แล้ว A C = C B …………… (6) ถ้า AB = AC แล้ว B = C …………… (7) ถ้า AB = AC และ A  0 แล้ว B = C  …………… ( 8 ) ถ้า A B = A แล้ว B = In  n …………… ( 9 ) ถ้า A B = A และ A  0 แล้ว B = In  n  …………… ( 10 ) ( A B ) – 1 = A– 1 B– 1 สมบัตเิ พิมเติมบางประการในการคูณเมตริกซ์ ่ บทนิยาม ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์จตุรัสใด ๆ และ n เป็ นจานวนเต็มบวก แล้ว ั An = A . A . … . A ( n เมตริ กซ์ ) นั้นคือ A2 = A . A A3 = A . A . A เนื่องจากการคูณเมตริ กซ์มีสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้สาหรับการคูณ ดังนั้น A . A . A = ( A . A ) A = A2 . A หรื อ A . A . A = A . ( A . A ) = A . A2 ดังนั้น A2 . A = A . A2 โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 8. หน้าที่ 27 คุณสมบัติเพิมเติมบางประการ สาหรับเมตริ กซ์ A, B ใด ๆ ที่หา A B และ B A ได้ ่ 1. ถ้า A = B แล้ว A B = B A 5. ( A + B ) ( A – B ) = ( A + B ) ( A + ( - B ) ) 2 2. ( A + B ) = ( A + B ) ( A + B ) = AA + A ( - B ) + BA + B( - B ) = AA + AB + BA + BB = A2 + ( -AB ) + BA + ( - B2 ) = A2 + AB + BA + B2 = A2 - AB + BA + B2 3. ( A + B )2 = A2 + 2AB + B2 6. ( A + B ) ( A – B ) = A2 - B2 ก็ต่อเมื่อ AB = BA 7. c( AB ) = ( c A )B = A( c B ) 4. A( - B ) = ( -A )B = - AB เมื่อ c เป็ นจานวนจริ งใด ๆ 8. ถ้า A = B แล้ว AC = BC ( การคูณด้วยเมตริ กซ์ที่เท่ากันทางขวามือ ) 9. ถ้า A = B แล้ว CA = CB ( การคูณด้วยเมตริ กซ์ที่เท่ากันทางซ้ายมือ ) 10. กาหนด A, B เป็ น n  n เมตริ กซ์ ถ้า AB = A โดยที่ A  0  และ A เป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์แล้ว B = In  n คุณสมบัตของทรานสโพส ิ t 1. ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ m  n แล้ว ( At ) = A 2. ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ m  n และ k เป็ นจานวนจริ ง แล้ว ( k A )t = k At 3. ถ้า A และ B เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ m  n แล้ว ( A  B )t = At  Bt   4. ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ m  n และ B เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ n  k แล้ว ( AB )t = At Bt ทฤษฎีเกียวกับอินเวอร์ สการคูณของเมตริกซ์ ่ ทฤษฎีบทที่ 1 ถ้า A และ B เป็ นนอนซิ งกูลาร์ เมตริ กซ์ ซึ่ งมีมิติเท่ากับ n  n แล้ว A B จะเป็ นนอนซิงกูลาร์ดวย และ ้ ( AB )- 1 = B-1A-1 ทฤษฎีบทที่ 2 ถ้า A เป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์ จะได้วา A– 1 เป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์ ่ และ ( A– 1 ) – 1 = A ่ ทฤษฎีบทที่ 3 ถ้า A, B และ C เป็ น n  n เมตริ กซ์ และ A เป็ นนอนซิ งกูลาร์ เมตริ กซ์ จะได้วา ( 1 ) ถ้า AB = AC แล้ว B = C ( 2 ) ถ้า BA = CA แล้ว B = C โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 9. หน้าที่ 28 แบบฝึ กหัด 8 1. จงหาเมตริ กซ์ A จากสมการต่อไปนี้ 1 2  0 1 (1)   A =   1 3  1 2 3 2  5 0 (2) A.   =   2 2  1  1 5 2 1 3 1 0 (3)   A-   =   2 1 1 1 0 2 โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 10. หน้าที่ 29 2. บทนิยาม ถ้า A เป็ นนอนซิงกูลาร์เมตริ กซ์ และ n  I* A- n = ( A– 1 ) n 2 5 กาหนดให้ A =   จงหา A- 2 1 3 3.8 ดีเทอร์ มินันต์ ( Determinant ) a b ในการพิจารณาอินเวอร์สการคูณของเมตริ กซ์ A =   จะเห็นว่า เมตริ กซ์ A จะมีอินเวอร์ส c d ่ ั ่ การคูณหรื อไม่ข้ ึนอยูกบค่าของ ad – bc ซึ่ งเป็ นจานวนจริ งจานวนหนึ่งและมีคาเดียวสาหรับเมตริ กซ์ A จะ ่ เรี ยกจานวนจริ งที่เกิดในรู ปแบบนี้วา ดีเทอร์ มินันต์ ของ A ให้ A เป็ น n  n เมตริ กซ์ จะหาจานวนจริ งในรู ปแบบดีเทอร์มินนต์ของ A นี้ได้เสมอ ไม่วา A จะ ั ่ มีมิติเช่นไร กาหนดให้ A = [aij ] n  n ดีเทอร์มินนต์ของ A จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ั a11 a12 . . . a1n det (A) หรื อ | A | = . . . .. . a n1 a n 2 . . . a nn บทนิยาม ถ้า A = [a] เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ 1  1 แล้ว det ( A ) = a ตัวอย่างที่ 1 ถ้า A = [5 ] แล้ว det ( A ) = 5 ถ้า A = [0 ] แล้ว det ( A ) = 0  1 ถ้า A =   2 แล้ว det ( A ) = - 1   2 โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 11. หน้าที่ 30  a11 a12  บทนิยาม ถ้า A =   เป็ นเมตริ กซ์ที่มีมิติ 2  2 แล้ว  a 21 a 22  det ( A ) = a 11 a 22 - a 21 a 12 2 1 ตัวอย่างที่ 2 ถ้า A =   แล้ว det ( A ) = 2(3) - 6(1) = 0 6 3 2 1 ถ้า A =   แล้ว det ( A ) = (-2)4 - 3(1) = (-8) - 3  3 4 2  3 ถ้า A =   แล้ว det ( A ) = 2(5) - 1(-3) = 10 + 3 = 13 1 5 จากบทนิยามดีเทอร์มินนต์ของ 2  2 เมตริ กซ์ที่ให้ไว้ขางต้น จะนาไปใช้ในการนิยามดีเทอร์มินนต์ ั ้ ั n  n เมตริ กซ์ ที่ n > 2 ดังบทนิยามต่อไปนี้ บทนิยามการหาไมเนอร์ ( Minor ) ของสมาชิก a i j ของ n  n เมตริกซ์ A ( n  2) บทนิยาม กาหนดเมตริ กซ์ A = [aij ] n  n โดยที่ a ij  R และ n เป็ นจานวนเต็ม มีมากกว่าหรื อเท่ากับ 2 ไมเนอร์ของ aij คือ ดีเทอร์มินนต์ของเมตริ กซ์ที่ได้จากการตัดแถวที่ i ั และหลักที่ j ของเมตริ กซ์ A ออก เขียนแทนไมเนอร์ ของ aij ด้ วย M ij( A ) ตัวอย่างที่ 3 จงหาไมเนอร์ของสมาชิกทุกตัวของเมตริ กซ์ A เมื่อ 2 1 1   A = 1 4 0 2  0  2  วิธีทา จากบทนิยามการหาไมเนอร์ของ aij จะต้องตัดแถวที่ i และหลักที่ j ของเมตริ กซ์ออก แล้วจึงหาดี เทอร์มินนต์ของเมตริ กซ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เหลือ ั ดังนั้น จะได้ M ij ( A ) แต่ละตัว ดังนี้ M 11 ( A ) = 4 0 0 2 = (-8)–0 = -8 M 12 ( A ) = 1 2 0 2 = (-2)–0 = -2 โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 12. หน้าที่ 31 M 13 ( A ) = 1 4 = 0–8 = -8 2 0 1 M 21 ( A ) = 0 1 2 = 2–0 = 2 M 22 ( A ) = 2 1 = (-4)–2 = -6 2 2 1 M23 ( A ) = 2 = 0–(-2) = 2 2 0 1 M 31 ( A ) = 4 1 0 = 0–4 = -4 M 32 ( A ) = 2 1 = 0–1 = -1 1 0 1 M 33 ( A ) = 2 1 4 = 8–(-1) = 9 บทนิยามการหาโคแฟกเตอร์ ( Cofactor ) ของสมาชิก a i j ของ n  n เมตริกซ์ A ( n  2) บทนิยาม กาหนด A = [aij ] n  n โดยที่ a ij  R และ n เป็ นจานวนเต็มที่มากว่าหรื อเท่ากับ 2 โคแฟกเตอร์ของ aij คือ ผลคูณ ( - 1 )I+ j และ M ij ( A ) เขียนแทนโคแฟกเตอร์ ของ aij ด้ วย C ij ( A ) จากบทนิยามจะได้วา C ij ( A ) = ( - 1 ) I+ j . M ij ( A ) ่ ตัวอย่างที่ 4 จงหาโคแฟกเตอร์ของสมาชิกทุกตัวของเมตริ กซ์ A ในตัวอย่างที่ 3 2 1 1   A = 1 4 0 2  0  2  วิธีทา จากบทนิยาม C ij ( A ) = ( - 1 ) I+ j . M ij ( A ) ใช้ค่า M ij ( A ) จากตัวอย่างที่ 3 จะหาค่า C ij ( A ) แต่ละจานวนดังนี้ C 11 ( A ) = ( - 1 ) 1+1 . M 11 ( A ) = ( 1 ) ( -8 ) = - 8 C 12 ( A ) = ( - 1 ) 1+2 . M 12 ( A ) = ( -1 ) ( -2 ) = 2 C 13 ( A ) = ( - 1 ) 1+3 . M 13 ( A ) = ( 1 ) ( -8 ) = - 8 C 21 ( A ) = ( - 1 ) 2+1 . M 21 ( A ) = ( -1 ) ( 2 ) = - 2 C 22 ( A ) = ( - 1 ) 2+2 . M22 ( A ) = ( 1 ) ( -6 ) = - 6 C 23 ( A ) = ( - 1 ) 2+3 . M 23 ( A ) = ( -1 ) ( 2 ) = - 2 C 31 ( A ) = ( - 1 ) 3+1 . M 31 ( A ) = (1 ) ( - 4) = - 4 C 32 ( A ) = ( - 1 ) 3+2 . M 32 ( A ) = ( -1 ) ( -1 ) = 1 โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 13. หน้าที่ 32 C 33 ( A ) = ( - 1 ) 3+3 . M 33 ( A ) = ( 1 ) ( 9 ) = 9 จากบทนิยามของไมเนอร์และโคแฟกเตอร์ของสมาชิก aij ของเมตริ กซ์จตุรัส n  n ที่กล่าวมาข้างต้น ั จะนาไปใช้การหาดีเทอร์มินนต์ของเมตริ กซ์ โดยนิยามดีเทอร์มินนต์ของเมตริ กซ์จตุรัส n  n เมื่อ n  2 ั ั ั ได้ดงนี้ ั บทนิยาม กาหนด A = [aij ] n  n โดยที่ a ij  R และ n เป็ นจานวน เต็มที่มากกว่าหรื อเท่ากับ 2 ดีเทอร์มินนต์ของ A เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ det (A) ั กาหนดโดย det ( A ) = ai1 C i1(A) + a i2Ci2 ( A ) + … + ainCin( A ) หรื อ det ( A ) = a1j C 1 j(A) + a 2jC2j ( A ) + … + anjCnj( A ) จากบทนิยาม จะหาค่า det ( A ) อย่างง่าย โดยใช้แถวที่ 1 ดังนี้ det ( A ) = a11C 11+ a 12C12 ( A ) + … + a1nC 1n( A ) หรื ออาจจะหาค่า det ( A ) โดยใช้แถวที่ 1 ดังนี้ det ( A ) = a11 C 11 + a 21C21 ( A ) + … + an1Cn1( A ) ตัวอย่างที่ 5 จงหาดีเทอร์มินนต์ของเมตริ กซ์ A จากตัวอย่างที่ 4 ั 2 1 1   วิธีทา det ( A ) = 1 4 0 2  0  2  จากบทนิยามของดีเทอร์มินนต์ det ( A ) = a11 C 11(A) + a 12C12 ( A ) + a13C13( A ) ใช้แถวที่ 1 ั = 2 ( -8 ) + ( -1 ) ( 2 ) + 1 ( -8 ) = ( -16 ) + ( -2 ) + ( -8 ) = - 26 หรื อ det ( A ) = a11 C 11 + a 21C21 ( A ) + a31C31( A ) ใช้แถวที่ 1 = 2 ( -8 ) + 1 ( -2 ) + 2 ( -4 ) = ( -16 ) + ( -2 ) + ( -8 ) = - 26 ในทานองเดียวกัน จะสามารถหาค่า det ( A ) จากบทนิยามโดยใช้แถวที่ i ใด ๆ หรื อหลักที่ j ใด ๆ ได้เสมอ โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 14. หน้าที่ 33 แบบฝึ กหัดที่ 9 1. จงหาดีเทอร์ มินันต์ ของเมตริกซ์ ต่อไปนี้ 2 3 2 3 (1) A =  ; det ( A ) =   = ( -2 ) ( -1 ) - 3 ( 5 ) = 2 – 5 = - 13  5  1  5  1  2 4  2 4 (2) B =   ; det ( B ) =   = 2 ( 5 ) - 3 ( 4 ) = 10 – 12 = - 2  3 5  3 5 3 6 (3) C =   ; det ( C ) = 2 4  x x  1 (4) D =   ; det ( D ) =  x 1 2x   cos x sin x  (5) E =   ; det ( E ) =  sin x cos x  2 4  1   2. กาหนด A = 3 4 6 จงหาค่า det ( A ) จากบทนิยาม ตามเงื่อนไขดังนี้ 1  0 1 (1 ) det ( A ) = a11 C 11 + a 12C12 ( A ) + a13C13( A ) (2) det ( A ) = a11 C 11 + a 21C21 ( A ) + a31C31( A ) (3) det ( A ) = a 31 C 31 + a 32C32 ( A ) + a33C33( A ) โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 15. หน้าที่ 34 ข้ อสั งเกต การหา det ( A ) จากข้อ ( 1 ) - ( 3 ) มีค่าเท่ากันหรื อไม่ ………………………. 3. การหาค่าดีเทอร์ มินนต์ของ 3  3 เมตริ กซ์ที่กาหนด อาจหาโดยวิธีลดได้ดงนี้ ั ั ั 2 4  1   ให้ A = 3 4 6 1  0 1 ขั้นที่ 1 นาสมาชิกเมตริ กซ์ไปเขียนเรี ยงกันโดยเขียนเพิ่มอีก 2 หลัก เหมือนหลัก 2 หลักแรก 2 4 -1 2 4 3 4 6 3 4 1 0 1 1 0 ขั้นที่ 2 หาผลคูณตามแนวลูกศร โดยคูณลงเป็ นบวก คูณขึ้นเป็ นลบ - - - 2 4 -1 2 4 3 4 6 3 4 1 0 1 1 0 + + + ขั้นที่ 3 หาค่า det ( A ) คือ ผลบวกของผลคูณทั้งหมด det ( A ) = 8 + 24 + 0 – ( -4 ) – 0 – 12 = 24 จงใช้วธีการเดียวกับข้างต้นหาค่าดีเทอร์ มินนต์ต่อไปนี้ ิ ั 1 2 3   ( 1 ) ให้ B = 4 5 6 จงหา det ( B ) 7  8 9  2 3  4   ( 2 ) ให้ C =  0 5 7  จงหา det ( C )  1  2 1   โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 16. หน้าที่ 35 2 3 1   ( 3 ) ให้ D = 4 0 1 จงหา det ( D ) 0  0 0   1 2 3   ( 4 ) ให้ E =  1 5 1 จงหา det ( E )  1 2  3  2 3 1 1 2 3     (5) ให้ F = 1 2 3 และ G = 2 3 1 จงหา det ( F ) และ det ( G ) 2  1 1  2  1 1  ข้ อสั งเกต เมตริ กซ์ G เกิดจากการสลับแถวที่ 1 และแถวที่ 2 ของเมตริ กซ์ F จงพิจารณาว่า det ( G ) และ det ( F ) มีความสัมพันธ์อย่างไร ………………………………………………………………………… 1 2 3 2 4 6     5. ให้ A = 4 5 6 และ B = 4 5 6 จงหาค่าต่อไปนี้ 1 1  2  1  1 2  (1) det ( A ) = (2) det ( B ) = ข้ อสั งเกต เมตริ กซ์ B เกิดจากการนา 2 คูณกับแถวของเมตริ กซ์ A จงพิจารณาว่า det ( B ) และ det ( A ) มีความสัมพันธ์อย่างไร โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
  • 17. หน้าที่ 36 ………………………………………………………………………… 1 2 3  1 2 3      6. ให้ A = 4 5 6 และ C =  4 5 6  1 1  2   2(1)  1  2(2)  1 2 ( 3)  2   โดยแถวที่ 3 ของ C เกิดจาก 2 เท่าของสมาชิกแถวที่ 1 ของ A บวกกับแถวที่ 3 ของ A จงหา det ( A ) และ det ( C ) (1) det ( A ) = (2) det ( C ) = ข้ อสั งเกต det ( A ) และ det ( C ) มีค่าเท่ากันหรื อไม่ ……………………………  1 2 3    7. ให้ A =  3(1) 3( 2 ) 3( 3)  จงหา det ( A )  1  0 2  . โดย นายศราวุธ เสาเกลียว โรงเรี ยนพลับพลาชัยพิทยาคม สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32