SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
แบบฝึกการใช้สระแท้
ใบความรู้ที่ ๑ แผนการสอนที่ ๑
เรื่อง เสียงและอักษรไทย
๑ เสียงสระ เสียงสระในภาษาไทยมี ๓๒ เสียง) แบํงเป็น ๓ประเภทดังนี้
๑.๑ สระแท๎ คือ เสียงสระที่เปลํงออกจากลาคอโดยตรงไมํต๎องใช๎ลิ้นหรือริมฝีปาก
มากนัก มี ๑๘ เสียง ได๎แกํ
ลำดับที่ สระเสียงสั้น สระเสียงยาว
๑ อะ อา
๒ อิ อี
๓ อึ อื
๔ อุ อู
๕ เอะ เอ
๖ แอะ แอ
๗ โอะ โอ
๘ เอาะ ออ
๙ เออะ เออ
๑. คาสั่ง : ให๎นักเรียนเขียนแยกสระ จาก คาตํอไปนี้
(สระเสียงสั้นใช้สีน้าเงิน สระเสียงยาวใช้สีแดง)
เจอะเจาะจงโผนเริงแรง ฟันคางคอแข็งแกล๎งหยุดยืน
เจอะ = จ +
เจาะ = จ +
จง = จ + + ง
โผน = ผ + + น
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๒
เริง = ร + + ง
แรง = ร + + ง
๒. คาสั่ง : ให๎เขียนแยก สระ และพยัญชนะจากคาตํอไปนี้
ฟัน = + +
คาง = + +
คอ = +
แข็ง = + +
แกล๎ง = + +
หยุด = + +
ยืน = + +
๓. คาสั่ง ให้นักเรียนเลือกเติมคาที่ใช้สระต่อไปนี้ สระละ ๓ คา (เป็นคาที่มีความหมาย)
สระ ……………………………………………………………………………………..
สระ ี………………………………………………………………………………………
สระ อึ………………………………………………………………………………………
สระ ……………………………………………………………………………………….
สระ เ ะ…………………………………………………………………………………….
สระ เอ……………………………………………………………………………………..
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๓
แบบฝึกการใช้สระประสม
๑.๒ สระประสม คือ เสียงที่เกิดขึ้นจากสระแท๎ประสมกันมี ๖ เสียงได๎แกํ
สระเสียงสั้น สระเสียงยาว
เอียะ (อิ+อะ) เอีย (อี+อา)
เอือะ (อึ+อะ) เอือ (อื+อา)
อัวะ (อุ+อะ) อัว (อู+อา)
๑. คาสั่ง : ให๎เขียนแยก สระ และพยัญชนะจากคาตํอไปนี้
กลัวขนมเปี๊ยะเสีย ผัวะ เกือบ
กลัว แยกได๎ = +
ผัวะ แยกได๎ = +
เปี๊ยะ แยกได๎ = +
เสีย แยกได๎ = +
เกือบ แยกได๎ = + +
สระเอือะ มํมีที่ใช๎
๑.๓ สระเกิน คือ สระที่มีเสียงซ้ากับสระแท๎และมีเสียงพยัญชนะประสมอยูํมี ๘
เสียงได๎แกํ (บางตาราไมํนับวําเป็นเสียงสระ)
สระเสียงสั้น สระเสียงยาว
อา (อะ+ม) -
ไอ (อะ+ย) -
ใอ (อะ+ย) -
เอา (อะ+ว) -
ฤ ฤๅ
ฦ ฦๅ
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๔
คาสั่ง : นาคาที่ขีดเส๎นใต๎มาเขียนแยก สระ ละพยัญชนะ
ทั้งไม๎ลาค้าเรือนและเขื่อนเขา ใครลอดเอาอัปลักษณ๑เสียศักดิ์ศรี
ถึงฤทธิ์เดชฤๅเวทย๑มนตร๑ดลฤดี ตัวอัปรีย๑แปรกลับให๎อัปรา
ไม๎ = +
ค้า = +
เขา = +
ใคร = +
ฤทธิ์ = + + ธิ์
ฤๅ = +
ฦ ฦๅ ไมํมีที่ใช๎
หน้าที่ของสระ เสียงสระทาให๎คาแตํละคาออกเสียงได๎ยาวนาน หูของเราจึงได๎
ยินเสียงชัดเจน ตามหลักภาษาถือวําพยัญชนะต๎องอาศัยสระจึงจะออกเสียงได๎ยาว
แบบฝึกการใช้สระเกิน
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๕
ใบความรู้ที่๒ แผนการสอนที่ ๑
เรื่องเสียงและอักษรไทย
๒ เสียงพยัญชนะ พยัญชนะในภาษาไทยมี ๔๔ รูป ๒๑ เสียงดังนี้
ลาดับที่ เสียงพยัญชนะ รูปพยัญชนะ
๑. /ก/ ก
๒. /ค/ ข ฃ ค ฅ ฆ
๓. /ง/ ง
๔. /จ/ จ
๕. /ช/ ฉ ช ฌ
๖. /ซ/ ซ ส ศ ษ
๗. /ด/ ฏ ด
๘. /ต/ ฏ ต
๙. /ท/ ฐ ถ ฑ ฒ ท ธ
๑๐. /น/ ณ น
๑๑. /บ/ บ
๑๒. /ป/ ป
๑๓. /พ/ ผ พ ภ
๑๔. /ฟ/ ฝ ฟ
๑๕. /ม/ ม
๑๖. /ย/ ญ ย
๑๗. /ร/ ร
๑๘. /ล/ ล ฬ
๑๙. /ว/ ว
๒๐. /ฮ/ ห ฮ
๒๑. /อ/ อ
สาเหตุที่พยัญชนะไทยมี ๒๑ เสียง เพราะมีเสียงพยัญชนะซ้ากัน ๑๒ เสียง
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๖
๒.๑ พยัญชนะไตรยางศ์ พยัญชนะในภาษาไทยแบํงเป็นหมูํๆ ตามเสียงสูงต่าของ
พยัญชนะ ๔๔ ตัว ได๎เป็น ๓ หมูํ เรียกวํา “ไตรยางศ๑” ดังปรากฏในตารางตํอไปนี้
พยัญชนะจัดตามเสียง สููง-ต่า
อักษรสูง
อักษรกลาง
อักษรต่า
อักษรกลาง อักษรสูง
อักษรต่า
อักษรคูํ อักษรเดี่ยว
ก
จ
ฎ ด
ฏ ต
บ
ป
อ
ข ฃ
ฉ
ฐ ถ
ผ
ฝ
ศ ษ ส
ห
ค ฅ ฆ
ช ฌ
ฑ ฒ ท ธ
พ ภ
ฟ
ซ
ฮ
ง
ญ ย
ณ น
ม
ร
ล ฬ
ว
มี….๙…ตัว มี…๑๑…ตัว มี…๑๔…ตัว มี…๑๐…ตัว
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๗
หน้าที่ของพยัญชนะ พยัญชนะในภาษาไทยทาหน๎าที่ตําง ๆ ดังนี้
๑.ููทาหน๎าที่เป็นพยัญชนะต๎นของคามี ๒ ประเภท
๑.๑ พยัญชนะต๎นตัวเดียว เชํน ฉัน นั่ง เลํน คน เดียว ฯลฯ
๑.๒ พยัญชนะต๎นสองตัว เรียกวํา พยัญชนะควบกล้า หมายถึง
พยัญชนะ ๒ ตัวที่ออกเสียงพร๎อมกัน (ตัวหลังเป็นตัว ร ล ว) อยํางละ
ครึ่งเสียงเมื่อประสมสระและตัวสะกดตัวเดียวกัน เชํน คราง ครึ่ง ไกล ปลา
กวาง ไกว เรียกวําควบแท๎ ถ๎าพยัญชนะสองตัวเรียงกัน แตํอําน ออกเสียงตัวหน๎า
ตัวเดียวหรืออํานออกเสียงเป็นอยํางอื่น เรียกวํา ควบไมํแท๎ เชํน สร๎าง จริง หรือ
ทราบ ทรวดทรง (ออกเสียง ซ ) ตามลาดับ พยัญชนะควบกล้าที่เป็นพยัญชนะ
ต๎นมีดังนี้
- กว กร กล เช่น แตงกวา กวาด กราบ เกลือก กลับ
- ขว ขร ขล เช่น ขวาน ขวนขวาย ขริบ ขลาด
- คว คร คล เช่น คว่า ความ ครู เครือ คลาน คลุม
- พร รึบ พลาง ลู
- ผล
- ปร ปล ป ป ปลาย แปลก ปลียน
- ตร
นอกจากนี้ ยังมีเสียงพยัญชนะควบกล้าบางเสียงที่เรารับมาจากภาษาอื่น
เชํน อิเควเตอร๑ ฟรี ดราฟต๑ ฟลุก บล็อก ทรัสต๑ เสียงพยัญชนะเหลํานี้ไมํมี
หนํวย เสียงในภาษาไทยทาให๎เรามีเสียงพยัญชนะควบกล้าเพิ่มขึ้น
๒. ทาหน๎าที่เป็นพยัญชนะท๎ายพยางค๑ของคามี ๒ ประเภท คือ
๒.๑ เป็นพยัญชนะตัวสะกดมี ๘ มาตราคือ
- แมํ กก คือ คาที่มี ก ข ค ฆ เป็นตัวสะกดและออก
เสียงเหมือน ก สะกด เชํน ผัก สุนัข อัคคี เมฆ ฯลฯ
- แมํ กด คือ คาที่มี จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ
ท ธ ศ ษ ส เป็นตัวสะกดและออกเสียงเหมือน ด สะกด เชํน อาจ คช
ก๏าช กฎหมาย ปรากฏ รัฐ ครุฑ วุฒิ ลัด จิต รถ บท อาพาธ ทิศ เศษ
สาหัส ฯลฯ
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๘
- แมํ กบ คือ คาที่มี บ ป พ ฟ ภ เป็นตัวสะกดและ
ออกเสียงเหมือน บ สะกด เชํน กบ บาป ลพบุรี ยีราฟ ลาภ ฯลฯ
- แมํ กง คือ คาที่มี ง เป็นตัวสะกด เชํน นั่ง ข๎าง ฉาง ฯลฯ
ฯ - แมํ กน คือ คาที่มี ญ ณ น ร ล ฬ เป็นตัวสะกด และ
ออกเสียงเหมือน น สะกด เชํน คน เพ็ญ คุณ ลูกศร การ กาล กาฬ ฯลฯ
- แมํ กม คือ คาที่มี ม เป็นตัวสะกด เชํน โสม งาม
ยาม แรม ฯลฯ
- แมํ เกย คือ คาที่มี ย เป็นตัวสะกด เชํน ปุ๋ย คุย
สวย ตาย ฯลฯ
- แมํ เกอว คือ คาที่มี ว เป็นตัวสะกด เชํน กาว สิว
ขาว ฯลฯ
๒.๒ เป็นพยัญชนะตามหลังตัวสะกดเรียกวํา พยัญชนะตัวตาม ทา
หน๎าที่เชํนเดียวกับตัวสะกด (เป็นตัวสะกด ๒ ตัว) เชํน มาตร มิตร พุทธ
จักร และ บางครั้งจะเติมไม๎ทัณฑฆาตบนพยัญชนะตัวหลังเพื่อไมํให๎ออกเสียง
เรียกวํา ตัวการันต๑ เชํน ศัลย๑ ศิลป์ สัมพันธ๑ ตัวสะกด ประเภทนี้ เป็นคา
ที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤตและภาษาอื่นที่มีใช๎อยูํในภาษาไทย
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๙
ใบความรู้ที่ ๓ แผนการสอนที่ ๑
เรื่องเสียงและอักษรไทย
๓ เสียงวรรณยุกต์ วรรณยุกต๑ในภาษาไทยมี ๔ รูป ๕ เสียง ดังนี้
เสียงวรรณยุกต๑ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา
รูปวรรณยุกต๑ - ํ ๎ ๏ ๐
เสียงวรรณยุกต๑ในภาษาไทยมี ๕ เสียง ได๎แกํ เสียงสามัญ เอก โท ตรี จัตวา แตํมีเพียง ๔
รูปเพราะเสียง สามัญไมํมีรูป
การผันอักษร หรือการผันเสียงวรรณยุกต๑นั้น นอกจากเสียงของคาหรือพยางค๑จะแตกตําง
กันไปตามระดับเสียงของอักษร ๓ หมูํแล๎ว ยังขึ้นอยูํกับลักษณะคาเป็น คาตาย และความสั้น – ยาว
ของเสียงสระอีกด๎วย
เพื่อสะดวกในการใช๎เสียงพยัญชนะรํวมกับวรรณยุกต์ (เป็นหลักส่าคัญของวรรณยุกต์) จึง
ควรทาความเข๎าใจเรื่อง คาเป็น คาตายดังนี้
คาเป็นคาตาย
คาเป็น และคาตาย มีลักษณะตํางกัน ดังตํอไปนี้
คาเป็น คาตาย
๑. คาที่ประสมด๎วย สระเสียงยาวในแมํ ก กา ๑. คาที่ประสมด๎วยสระเสียงสั้น ในแมํ ก กา
รวมทั้งคาที่ประสม สระ อา ใอ ไอ เอา เชํน เชํน จะ ดุ ติ ฯลฯ
กา ตี ปู ฯลฯ
๒. คาที่มีตัวสะกดใ นแมํ กง กน กม เกยเกอว ๒. คาที่มีตัวสะกด ในแมํ กก กด กบ เชํน
และเกอว เชํน ลุง นอน เลํนสาม ขมสาม รัก เกิด จบ ฯลฯ
เงย คุย ฯลฯ
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๑๐
คาสั่ง : อํานคาประพันธ๑แล๎วเลือกทาเครื่องหมาย / ลงในชํอง คาเป็น หรือ คำตาย
“ดีงาม พรํางพราวเผื่อแผํชนผอง
อรํามเหลืองทั้งทุํงรวงทอง ผุดผํองชีพชื่นยืนยง”
คา คาเป็น คาตาย
ดี
งาม
ดั่ง
สร๎อย
รวง
ข๎าว
พรําง
พราว
เผื่อ
แผํ
ชน
ผอง
อรําม
เหลือง
ทั้ง
ทุํง
รวง
ทอง
ผุด
ผํอง
ชีพ
ชื่น
แบบฝึกความเข้าใจ – คาตาย
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๑๑
รูปที่ ๑.๑ คำในภำษำ ทยทุกคาต๎องเป็นคาเป็นหรือเป็นคาตาย
๑.๓.๒ู การผันวรรณยุกต์ ูวรรณยุกต๑เป็นตัวอักษรที่แทนเสียงดนตรี ใช๎เขียนบน
สํวนท๎ายของพยัญชนะต๎น ไมํเขียนบนตัวสะกด หรือสระ วรรณยุกต๑ผันตามไตรยางศ๑ได๎ ดังนี้
ก.ููคาที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง ผันได๎ ๒ วิธี คือ
๑) อักษรกลาง คาเป็น พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันได๎ครบทั้ง ๔ เสียง
เชํน กา กํา ก๎า ก๏า ก๐า ฯลฯ
๒) อักษรกลาง คาตาย พื้นเสียงเป็นเสียงเอก ผันได๎ครบทั้ง โท ตรี
จัตวา เชํน จะ จ๎ะ จ๏ะ จ๐ะ และ จาก จ๎าก จ๏าก จ๐าก ฯลฯ
ข.ููที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง ผันได๎ ๒ วิธี คือ
๑) อักษรสูง คาเป็น พื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันด๎วยไม๎เอก และไม๎โท
ได๎เสียงเอกและเสียงโท ตามลาดับ เชํน ขา ขํา ข๎า, ฉาย ฉําย ฉ๎าย ฯลฯ
๒) อักษรสูง คาตาย พื้นเสียงเป็นเสียงเอก ผันด๎วยไม๎โท ได๎เสียงโท
เชํน ขะ ข๎ะ ,ผัก ผั้ก ฯลฯ
ูค.ู คาที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรต่า ผันได๎ ๓ วิธี คือ
๑) อักษรต่า คาเป็น พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันด๎วยไม๎เอกได๎เสียงโท
ผันด๎วยไม๎โทได๎เสียงตรี เชํน คา คํา ค๎า, เพิง เพิ่ง เพิ้ง ฯลฯ
เราคูํกัน
คาเป็น - ค
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๑๒
แผนผังการผันเสียงวรรณยุกต์ของพยัญชนะไทย
สามัญ เอก โท ตรี จัตวา
คาเป็น กา กํา ก๎า ก๏า ก๐า
อักษรกลาง
คาตาย - จะ จ๎ะ จ๏ะ จ๐า
คาเป็น ขํา ข๎า ขา
อักษรสูง
คาตาย ผัก ผั้ก
คาเป็น คา คํา ค๎า
อักษรต่า คาตายสั้น
คาตายยาว
คํะ
นาก
คะ
น๎าก
๒) อักษรต่า คาตายเสียงสั้น พื้นเสียงเป็นเสียงตรีผันด๎วยไม๎เอกได๎ เสียง
โท เชํน คะ คํะ, รัก รั่ก ฯลฯ
๓) อักษรต่า คาตายเสียงยาว พื้นเสียงเป็นเสียงโท ผันด๎วยไม๎โทได๎
เสียงตรี เชํน นาก น๎าก ฯลฯ
หน้าที่ของวรรณยุกต์ ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีวรรณยุกต๑ เราใช๎วรรณยุกต๑
จาแนกความหมายของคา วรรณยุกต๑เติมลงบนคา จะได๎คาในความหมายตําง ๆ มากมาย
คาที่ใช๎รูปวรรณยุกต๑ตํางกันความหมายตํางกัน วรรณยุกต๑มีหน๎าที่เพิ่มคาในภาษา เชํน
นอง - ก. เจิ่ง, ล๎น, ค๎างขังอยูํบนพื้น
นํอง - น. กล๎ามเนื้อที่อยูํด๎านหลังหน๎าแข๎ง
น๎อง - น. ผู๎รํวมบิดามารดาเดียวกันและเกิดที
หลัง, ลูกของอาหรือน๎า
ปา - ก. ซัดไปด๎วยอาการยกแขนขึ้นสูงแล๎วเอี้ยวตัว
ป่า - น. ที่มีต๎นไม๎ตําง ๆ
ป้า - น. พี่สาวของพํอหรือแมํ
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๑๓
คาสั่ง : วิเคราะห๑คาที่กาหนดให๎แล๎วเติมข๎อมูลลงในตาราง
คา
พยัญชนะต้น
สูง กลาง ต่า
สระ เสียงวรรณยุกต์
กาญจน๑
ขับ
ค๎น
นอต
เงิน
เมฆ
หมอน
ลาภ
การใช้วรรณยุกต์ไม่ยากแต่ต้องเข้าใจ ๒ ประการคือคาเป็นคาตายและไตรยางศ์
แบบฝึกการใช้ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
รู๎จัก
คาเป็น-คาตาย
จาพยัญชนะไตรยางศ๑
ได๎จึงจะผันวรรณยุกต๑
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๑๔
ใบความรู้ที่ ๔ แผนการสอนที่ ๑
เรื่อง เ ะ ษร ทย
สํวนของคาหรือพยางค๑หนึ่งนั้นถ๎าจะแยกเป็นตัวอักษรจะได๎อักษร ๓ พวกประสมกันได๎แกํ
พยัญชนะ สระ วรรณยุกต๑
พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ = คา
การประสมอักษร หมายถึง การนาเอาเสียงพยัญชนะ สระ วรรณยุกต๑ มารวมกันเป็น
พยางค๑ หรือ คา เพื่อเรียบเรียงเข๎าเป็นประโยค และนาไปใช๎ในการสื่อสาร วิธีประสมอักษรใน
ภาษาไทย แบํงได๎เป็น ๔ ลักษณะดังนี้
๒.๑ ประสมอักษร ๓ สํวน คือการนาเอาพยัญชนะ สระ วรรณยุกต๑ รวมกัน เชํน
ปู ประกอบด๎วย พยัญชนะต๎น ป
สระ ู
เสียงวรรณยุกต๑ สามัญ
๒.๒ ประสมอักษร ๔ สํวน คือการนาพยัญชนะต๎น สระ ตัวสะกด และวรรณยุกต๑
รวมกัน เชํน
ปูน ประกอบด๎วย พยัญชนะต๎น ป
สระ ู
ตัวสะกด น (แมํกน)
เสียงวรรณยุกต๑ สามัญ
๒.๓ ประสมอักษร ๔ ส่วนพิเศษ คือการประสมอักษร ๓ สํวน และเพิ่มตัวการันต๑
เชํน
สีห๑ ประกอบด๎วย พยัญชนะต๎น ส
สระ อี
เสียงวรรณยุกต๑ จัตวา
ตัวการันต๑ ห๑
๒. ส
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๑๕
๒.๔ ประสมอักษร ๕ ส่วน คือการประสมอักษร ๔ สํวน และ เพิ่มตัวการันต๑ เชํน
ยักษ๑ ประกอบด๎วย พยัญชนะต๎น ย
สระ อะ
ตัวสะกด ก (แมํกก)
เสียงวรรณยุกต๑ ตรี
ตัวการันต๑ ษ๑
พยางค๑ที่ประสมสระ ใอ ไอ อา ีตัวการันต๑ก็นับวําเป็นการประสมอักษร ๕ ่วน เชํน
เสาร๑ ประกอบด๎วย
สระ เอา ( ะ + สะกด)
สะกด ว
ตัวการันต๑ ร๑
ประสมคาคือการนา ส
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๑๖
ใบความรู้ที่ ๕ แผนการสอนที่ ๑
เรื่อง เสียงและอักษรไทย
๓.๑ พยางค๑ คือ การนาเสียง พยัญชนะ สระ วรรณยุกต๑ ประกอบเข๎าด๎วยกัน ออกเสียง
๑ ครั้งเป็น ๑ พยางค๑
พยางค๑เป็นกลุํมเสียง (เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต๑) ซึ่งเสียงในกลุํมนี้
จะมีเสียงหนึ่งดังเดํนกวําเสียงอื่นๆ เสียงนี้เป็นแกนของพยางค๑ อยูํหน๎าสระ ที่เรียกวําพยัญชนะต๎น
เมื่อรวมกลุํมกับเสียงสระและวรรณยุกต๑แล๎วออกเสียง เรียกวํา “พยางค๑” สํวนพยัญชนะที่อยูํหลังสระ
เรียกวําตัวสะกด ซึ่งบางโฮกาสก็จะรวมกลุํมด๎วย เมื่อรวมกันแล๎วออกเสียง ๑ ครั้ง เรียกวํา ๑ พยางค๑
พยางค๑กาหนดเอาการออกเสียงเป็นสาคัญ
พยางค๑ในภาษาไทยจะต๎องมีสํวนประกอบอยํางน๎อยสามสํวน คือพยัญชนะต๎น สระ
วรรณยุกต๑
๓. ๒ คา คือ พยางค๑ที่ออกเสียงแล๎วสื่อความหมายได๎
คา เป็นหนํวยที่เล็กที่สุดที่สามารถสื่อความหมายได๎ บางครั้งมีพยางค๑เดียว
บางครั้งมีหลายพยางค๑ โดยกาหนดเอาความหมายของคาเป็นสาคัญ เชํน
ก + า + วรรณยุกต๑สามัญ = กา ( ๑ พยางค๑ )
แตํคาวํา กา มีความหมายเราเรียกวํา คา
กา = ๑ คา มี ๑ พยางค๑
การะเกด = ๑ คา มี ๓ พยางค๑
เป็นส่วนย่อยของ คา
๓.
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc
๑๗
คาสั่ง : ค ค ไป มหลักการประสมอักษร
คา คา -พยางค๑ พยัญชนะต๎น สระ วรรณยุกต๑ สะกด-การันต๑
เกรียง
กุ
ลี
กระดาษ
ทุกข๑
ตัว
เมือง
สร๎าง
หาด
สา
แบบฝึกการประสมอักษร

More Related Content

What's hot

คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2iberryh
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2dnavaroj
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2Aunop Nop
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5SAM RANGSAM
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้bn k
 

What's hot (20)

คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
 
แนวข้อสอบภาษาไทย
แนวข้อสอบภาษาไทยแนวข้อสอบภาษาไทย
แนวข้อสอบภาษาไทย
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
 

Viewers also liked

ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
การผันวรรณยุกต์ ป.1
การผันวรรณยุกต์ ป.1การผันวรรณยุกต์ ป.1
การผันวรรณยุกต์ ป.1s6527718t
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1sompriaw aums
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (11)

ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
การผันวรรณยุกต์ ป.1
การผันวรรณยุกต์ ป.1การผันวรรณยุกต์ ป.1
การผันวรรณยุกต์ ป.1
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 

Similar to ใบงานไทย

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
4 160303102036-161109130549
4 160303102036-1611091305494 160303102036-161109130549
4 160303102036-161109130549TuochKhim
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
พยัญชนะสระตัวเลขบรรยายชมแรกๆ
พยัญชนะสระตัวเลขบรรยายชมแรกๆพยัญชนะสระตัวเลขบรรยายชมแรกๆ
พยัญชนะสระตัวเลขบรรยายชมแรกๆajchayutpat
 

Similar to ใบงานไทย (20)

กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยายสอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
4 160303102036-161109130549
4 160303102036-1611091305494 160303102036-161109130549
4 160303102036-161109130549
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
พยัญชนะสระตัวเลขบรรยายชมแรกๆ
พยัญชนะสระตัวเลขบรรยายชมแรกๆพยัญชนะสระตัวเลขบรรยายชมแรกๆ
พยัญชนะสระตัวเลขบรรยายชมแรกๆ
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

ใบงานไทย

  • 1. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc แบบฝึกการใช้สระแท้ ใบความรู้ที่ ๑ แผนการสอนที่ ๑ เรื่อง เสียงและอักษรไทย ๑ เสียงสระ เสียงสระในภาษาไทยมี ๓๒ เสียง) แบํงเป็น ๓ประเภทดังนี้ ๑.๑ สระแท๎ คือ เสียงสระที่เปลํงออกจากลาคอโดยตรงไมํต๎องใช๎ลิ้นหรือริมฝีปาก มากนัก มี ๑๘ เสียง ได๎แกํ ลำดับที่ สระเสียงสั้น สระเสียงยาว ๑ อะ อา ๒ อิ อี ๓ อึ อื ๔ อุ อู ๕ เอะ เอ ๖ แอะ แอ ๗ โอะ โอ ๘ เอาะ ออ ๙ เออะ เออ ๑. คาสั่ง : ให๎นักเรียนเขียนแยกสระ จาก คาตํอไปนี้ (สระเสียงสั้นใช้สีน้าเงิน สระเสียงยาวใช้สีแดง) เจอะเจาะจงโผนเริงแรง ฟันคางคอแข็งแกล๎งหยุดยืน เจอะ = จ + เจาะ = จ + จง = จ + + ง โผน = ผ + + น
  • 2. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๒ เริง = ร + + ง แรง = ร + + ง ๒. คาสั่ง : ให๎เขียนแยก สระ และพยัญชนะจากคาตํอไปนี้ ฟัน = + + คาง = + + คอ = + แข็ง = + + แกล๎ง = + + หยุด = + + ยืน = + + ๓. คาสั่ง ให้นักเรียนเลือกเติมคาที่ใช้สระต่อไปนี้ สระละ ๓ คา (เป็นคาที่มีความหมาย) สระ …………………………………………………………………………………….. สระ ี……………………………………………………………………………………… สระ อึ……………………………………………………………………………………… สระ ………………………………………………………………………………………. สระ เ ะ……………………………………………………………………………………. สระ เอ……………………………………………………………………………………..
  • 3. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๓ แบบฝึกการใช้สระประสม ๑.๒ สระประสม คือ เสียงที่เกิดขึ้นจากสระแท๎ประสมกันมี ๖ เสียงได๎แกํ สระเสียงสั้น สระเสียงยาว เอียะ (อิ+อะ) เอีย (อี+อา) เอือะ (อึ+อะ) เอือ (อื+อา) อัวะ (อุ+อะ) อัว (อู+อา) ๑. คาสั่ง : ให๎เขียนแยก สระ และพยัญชนะจากคาตํอไปนี้ กลัวขนมเปี๊ยะเสีย ผัวะ เกือบ กลัว แยกได๎ = + ผัวะ แยกได๎ = + เปี๊ยะ แยกได๎ = + เสีย แยกได๎ = + เกือบ แยกได๎ = + + สระเอือะ มํมีที่ใช๎ ๑.๓ สระเกิน คือ สระที่มีเสียงซ้ากับสระแท๎และมีเสียงพยัญชนะประสมอยูํมี ๘ เสียงได๎แกํ (บางตาราไมํนับวําเป็นเสียงสระ) สระเสียงสั้น สระเสียงยาว อา (อะ+ม) - ไอ (อะ+ย) - ใอ (อะ+ย) - เอา (อะ+ว) - ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
  • 4. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๔ คาสั่ง : นาคาที่ขีดเส๎นใต๎มาเขียนแยก สระ ละพยัญชนะ ทั้งไม๎ลาค้าเรือนและเขื่อนเขา ใครลอดเอาอัปลักษณ๑เสียศักดิ์ศรี ถึงฤทธิ์เดชฤๅเวทย๑มนตร๑ดลฤดี ตัวอัปรีย๑แปรกลับให๎อัปรา ไม๎ = + ค้า = + เขา = + ใคร = + ฤทธิ์ = + + ธิ์ ฤๅ = + ฦ ฦๅ ไมํมีที่ใช๎ หน้าที่ของสระ เสียงสระทาให๎คาแตํละคาออกเสียงได๎ยาวนาน หูของเราจึงได๎ ยินเสียงชัดเจน ตามหลักภาษาถือวําพยัญชนะต๎องอาศัยสระจึงจะออกเสียงได๎ยาว แบบฝึกการใช้สระเกิน
  • 5. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๕ ใบความรู้ที่๒ แผนการสอนที่ ๑ เรื่องเสียงและอักษรไทย ๒ เสียงพยัญชนะ พยัญชนะในภาษาไทยมี ๔๔ รูป ๒๑ เสียงดังนี้ ลาดับที่ เสียงพยัญชนะ รูปพยัญชนะ ๑. /ก/ ก ๒. /ค/ ข ฃ ค ฅ ฆ ๓. /ง/ ง ๔. /จ/ จ ๕. /ช/ ฉ ช ฌ ๖. /ซ/ ซ ส ศ ษ ๗. /ด/ ฏ ด ๘. /ต/ ฏ ต ๙. /ท/ ฐ ถ ฑ ฒ ท ธ ๑๐. /น/ ณ น ๑๑. /บ/ บ ๑๒. /ป/ ป ๑๓. /พ/ ผ พ ภ ๑๔. /ฟ/ ฝ ฟ ๑๕. /ม/ ม ๑๖. /ย/ ญ ย ๑๗. /ร/ ร ๑๘. /ล/ ล ฬ ๑๙. /ว/ ว ๒๐. /ฮ/ ห ฮ ๒๑. /อ/ อ สาเหตุที่พยัญชนะไทยมี ๒๑ เสียง เพราะมีเสียงพยัญชนะซ้ากัน ๑๒ เสียง
  • 6. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๖ ๒.๑ พยัญชนะไตรยางศ์ พยัญชนะในภาษาไทยแบํงเป็นหมูํๆ ตามเสียงสูงต่าของ พยัญชนะ ๔๔ ตัว ได๎เป็น ๓ หมูํ เรียกวํา “ไตรยางศ๑” ดังปรากฏในตารางตํอไปนี้ พยัญชนะจัดตามเสียง สููง-ต่า อักษรสูง อักษรกลาง อักษรต่า อักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่า อักษรคูํ อักษรเดี่ยว ก จ ฎ ด ฏ ต บ ป อ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห ค ฅ ฆ ช ฌ ฑ ฒ ท ธ พ ภ ฟ ซ ฮ ง ญ ย ณ น ม ร ล ฬ ว มี….๙…ตัว มี…๑๑…ตัว มี…๑๔…ตัว มี…๑๐…ตัว
  • 7. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๗ หน้าที่ของพยัญชนะ พยัญชนะในภาษาไทยทาหน๎าที่ตําง ๆ ดังนี้ ๑.ููทาหน๎าที่เป็นพยัญชนะต๎นของคามี ๒ ประเภท ๑.๑ พยัญชนะต๎นตัวเดียว เชํน ฉัน นั่ง เลํน คน เดียว ฯลฯ ๑.๒ พยัญชนะต๎นสองตัว เรียกวํา พยัญชนะควบกล้า หมายถึง พยัญชนะ ๒ ตัวที่ออกเสียงพร๎อมกัน (ตัวหลังเป็นตัว ร ล ว) อยํางละ ครึ่งเสียงเมื่อประสมสระและตัวสะกดตัวเดียวกัน เชํน คราง ครึ่ง ไกล ปลา กวาง ไกว เรียกวําควบแท๎ ถ๎าพยัญชนะสองตัวเรียงกัน แตํอําน ออกเสียงตัวหน๎า ตัวเดียวหรืออํานออกเสียงเป็นอยํางอื่น เรียกวํา ควบไมํแท๎ เชํน สร๎าง จริง หรือ ทราบ ทรวดทรง (ออกเสียง ซ ) ตามลาดับ พยัญชนะควบกล้าที่เป็นพยัญชนะ ต๎นมีดังนี้ - กว กร กล เช่น แตงกวา กวาด กราบ เกลือก กลับ - ขว ขร ขล เช่น ขวาน ขวนขวาย ขริบ ขลาด - คว คร คล เช่น คว่า ความ ครู เครือ คลาน คลุม - พร รึบ พลาง ลู - ผล - ปร ปล ป ป ปลาย แปลก ปลียน - ตร นอกจากนี้ ยังมีเสียงพยัญชนะควบกล้าบางเสียงที่เรารับมาจากภาษาอื่น เชํน อิเควเตอร๑ ฟรี ดราฟต๑ ฟลุก บล็อก ทรัสต๑ เสียงพยัญชนะเหลํานี้ไมํมี หนํวย เสียงในภาษาไทยทาให๎เรามีเสียงพยัญชนะควบกล้าเพิ่มขึ้น ๒. ทาหน๎าที่เป็นพยัญชนะท๎ายพยางค๑ของคามี ๒ ประเภท คือ ๒.๑ เป็นพยัญชนะตัวสะกดมี ๘ มาตราคือ - แมํ กก คือ คาที่มี ก ข ค ฆ เป็นตัวสะกดและออก เสียงเหมือน ก สะกด เชํน ผัก สุนัข อัคคี เมฆ ฯลฯ - แมํ กด คือ คาที่มี จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส เป็นตัวสะกดและออกเสียงเหมือน ด สะกด เชํน อาจ คช ก๏าช กฎหมาย ปรากฏ รัฐ ครุฑ วุฒิ ลัด จิต รถ บท อาพาธ ทิศ เศษ สาหัส ฯลฯ
  • 8. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๘ - แมํ กบ คือ คาที่มี บ ป พ ฟ ภ เป็นตัวสะกดและ ออกเสียงเหมือน บ สะกด เชํน กบ บาป ลพบุรี ยีราฟ ลาภ ฯลฯ - แมํ กง คือ คาที่มี ง เป็นตัวสะกด เชํน นั่ง ข๎าง ฉาง ฯลฯ ฯ - แมํ กน คือ คาที่มี ญ ณ น ร ล ฬ เป็นตัวสะกด และ ออกเสียงเหมือน น สะกด เชํน คน เพ็ญ คุณ ลูกศร การ กาล กาฬ ฯลฯ - แมํ กม คือ คาที่มี ม เป็นตัวสะกด เชํน โสม งาม ยาม แรม ฯลฯ - แมํ เกย คือ คาที่มี ย เป็นตัวสะกด เชํน ปุ๋ย คุย สวย ตาย ฯลฯ - แมํ เกอว คือ คาที่มี ว เป็นตัวสะกด เชํน กาว สิว ขาว ฯลฯ ๒.๒ เป็นพยัญชนะตามหลังตัวสะกดเรียกวํา พยัญชนะตัวตาม ทา หน๎าที่เชํนเดียวกับตัวสะกด (เป็นตัวสะกด ๒ ตัว) เชํน มาตร มิตร พุทธ จักร และ บางครั้งจะเติมไม๎ทัณฑฆาตบนพยัญชนะตัวหลังเพื่อไมํให๎ออกเสียง เรียกวํา ตัวการันต๑ เชํน ศัลย๑ ศิลป์ สัมพันธ๑ ตัวสะกด ประเภทนี้ เป็นคา ที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤตและภาษาอื่นที่มีใช๎อยูํในภาษาไทย
  • 9. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๙ ใบความรู้ที่ ๓ แผนการสอนที่ ๑ เรื่องเสียงและอักษรไทย ๓ เสียงวรรณยุกต์ วรรณยุกต๑ในภาษาไทยมี ๔ รูป ๕ เสียง ดังนี้ เสียงวรรณยุกต๑ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา รูปวรรณยุกต๑ - ํ ๎ ๏ ๐ เสียงวรรณยุกต๑ในภาษาไทยมี ๕ เสียง ได๎แกํ เสียงสามัญ เอก โท ตรี จัตวา แตํมีเพียง ๔ รูปเพราะเสียง สามัญไมํมีรูป การผันอักษร หรือการผันเสียงวรรณยุกต๑นั้น นอกจากเสียงของคาหรือพยางค๑จะแตกตําง กันไปตามระดับเสียงของอักษร ๓ หมูํแล๎ว ยังขึ้นอยูํกับลักษณะคาเป็น คาตาย และความสั้น – ยาว ของเสียงสระอีกด๎วย เพื่อสะดวกในการใช๎เสียงพยัญชนะรํวมกับวรรณยุกต์ (เป็นหลักส่าคัญของวรรณยุกต์) จึง ควรทาความเข๎าใจเรื่อง คาเป็น คาตายดังนี้ คาเป็นคาตาย คาเป็น และคาตาย มีลักษณะตํางกัน ดังตํอไปนี้ คาเป็น คาตาย ๑. คาที่ประสมด๎วย สระเสียงยาวในแมํ ก กา ๑. คาที่ประสมด๎วยสระเสียงสั้น ในแมํ ก กา รวมทั้งคาที่ประสม สระ อา ใอ ไอ เอา เชํน เชํน จะ ดุ ติ ฯลฯ กา ตี ปู ฯลฯ ๒. คาที่มีตัวสะกดใ นแมํ กง กน กม เกยเกอว ๒. คาที่มีตัวสะกด ในแมํ กก กด กบ เชํน และเกอว เชํน ลุง นอน เลํนสาม ขมสาม รัก เกิด จบ ฯลฯ เงย คุย ฯลฯ
  • 10. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๑๐ คาสั่ง : อํานคาประพันธ๑แล๎วเลือกทาเครื่องหมาย / ลงในชํอง คาเป็น หรือ คำตาย “ดีงาม พรํางพราวเผื่อแผํชนผอง อรํามเหลืองทั้งทุํงรวงทอง ผุดผํองชีพชื่นยืนยง” คา คาเป็น คาตาย ดี งาม ดั่ง สร๎อย รวง ข๎าว พรําง พราว เผื่อ แผํ ชน ผอง อรําม เหลือง ทั้ง ทุํง รวง ทอง ผุด ผํอง ชีพ ชื่น แบบฝึกความเข้าใจ – คาตาย
  • 11. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๑๑ รูปที่ ๑.๑ คำในภำษำ ทยทุกคาต๎องเป็นคาเป็นหรือเป็นคาตาย ๑.๓.๒ู การผันวรรณยุกต์ ูวรรณยุกต๑เป็นตัวอักษรที่แทนเสียงดนตรี ใช๎เขียนบน สํวนท๎ายของพยัญชนะต๎น ไมํเขียนบนตัวสะกด หรือสระ วรรณยุกต๑ผันตามไตรยางศ๑ได๎ ดังนี้ ก.ููคาที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง ผันได๎ ๒ วิธี คือ ๑) อักษรกลาง คาเป็น พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันได๎ครบทั้ง ๔ เสียง เชํน กา กํา ก๎า ก๏า ก๐า ฯลฯ ๒) อักษรกลาง คาตาย พื้นเสียงเป็นเสียงเอก ผันได๎ครบทั้ง โท ตรี จัตวา เชํน จะ จ๎ะ จ๏ะ จ๐ะ และ จาก จ๎าก จ๏าก จ๐าก ฯลฯ ข.ููที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง ผันได๎ ๒ วิธี คือ ๑) อักษรสูง คาเป็น พื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันด๎วยไม๎เอก และไม๎โท ได๎เสียงเอกและเสียงโท ตามลาดับ เชํน ขา ขํา ข๎า, ฉาย ฉําย ฉ๎าย ฯลฯ ๒) อักษรสูง คาตาย พื้นเสียงเป็นเสียงเอก ผันด๎วยไม๎โท ได๎เสียงโท เชํน ขะ ข๎ะ ,ผัก ผั้ก ฯลฯ ูค.ู คาที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรต่า ผันได๎ ๓ วิธี คือ ๑) อักษรต่า คาเป็น พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันด๎วยไม๎เอกได๎เสียงโท ผันด๎วยไม๎โทได๎เสียงตรี เชํน คา คํา ค๎า, เพิง เพิ่ง เพิ้ง ฯลฯ เราคูํกัน คาเป็น - ค
  • 12. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๑๒ แผนผังการผันเสียงวรรณยุกต์ของพยัญชนะไทย สามัญ เอก โท ตรี จัตวา คาเป็น กา กํา ก๎า ก๏า ก๐า อักษรกลาง คาตาย - จะ จ๎ะ จ๏ะ จ๐า คาเป็น ขํา ข๎า ขา อักษรสูง คาตาย ผัก ผั้ก คาเป็น คา คํา ค๎า อักษรต่า คาตายสั้น คาตายยาว คํะ นาก คะ น๎าก ๒) อักษรต่า คาตายเสียงสั้น พื้นเสียงเป็นเสียงตรีผันด๎วยไม๎เอกได๎ เสียง โท เชํน คะ คํะ, รัก รั่ก ฯลฯ ๓) อักษรต่า คาตายเสียงยาว พื้นเสียงเป็นเสียงโท ผันด๎วยไม๎โทได๎ เสียงตรี เชํน นาก น๎าก ฯลฯ หน้าที่ของวรรณยุกต์ ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีวรรณยุกต๑ เราใช๎วรรณยุกต๑ จาแนกความหมายของคา วรรณยุกต๑เติมลงบนคา จะได๎คาในความหมายตําง ๆ มากมาย คาที่ใช๎รูปวรรณยุกต๑ตํางกันความหมายตํางกัน วรรณยุกต๑มีหน๎าที่เพิ่มคาในภาษา เชํน นอง - ก. เจิ่ง, ล๎น, ค๎างขังอยูํบนพื้น นํอง - น. กล๎ามเนื้อที่อยูํด๎านหลังหน๎าแข๎ง น๎อง - น. ผู๎รํวมบิดามารดาเดียวกันและเกิดที หลัง, ลูกของอาหรือน๎า ปา - ก. ซัดไปด๎วยอาการยกแขนขึ้นสูงแล๎วเอี้ยวตัว ป่า - น. ที่มีต๎นไม๎ตําง ๆ ป้า - น. พี่สาวของพํอหรือแมํ
  • 13. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๑๓ คาสั่ง : วิเคราะห๑คาที่กาหนดให๎แล๎วเติมข๎อมูลลงในตาราง คา พยัญชนะต้น สูง กลาง ต่า สระ เสียงวรรณยุกต์ กาญจน๑ ขับ ค๎น นอต เงิน เมฆ หมอน ลาภ การใช้วรรณยุกต์ไม่ยากแต่ต้องเข้าใจ ๒ ประการคือคาเป็นคาตายและไตรยางศ์ แบบฝึกการใช้ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ รู๎จัก คาเป็น-คาตาย จาพยัญชนะไตรยางศ๑ ได๎จึงจะผันวรรณยุกต๑
  • 14. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๑๔ ใบความรู้ที่ ๔ แผนการสอนที่ ๑ เรื่อง เ ะ ษร ทย สํวนของคาหรือพยางค๑หนึ่งนั้นถ๎าจะแยกเป็นตัวอักษรจะได๎อักษร ๓ พวกประสมกันได๎แกํ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต๑ พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ = คา การประสมอักษร หมายถึง การนาเอาเสียงพยัญชนะ สระ วรรณยุกต๑ มารวมกันเป็น พยางค๑ หรือ คา เพื่อเรียบเรียงเข๎าเป็นประโยค และนาไปใช๎ในการสื่อสาร วิธีประสมอักษรใน ภาษาไทย แบํงได๎เป็น ๔ ลักษณะดังนี้ ๒.๑ ประสมอักษร ๓ สํวน คือการนาเอาพยัญชนะ สระ วรรณยุกต๑ รวมกัน เชํน ปู ประกอบด๎วย พยัญชนะต๎น ป สระ ู เสียงวรรณยุกต๑ สามัญ ๒.๒ ประสมอักษร ๔ สํวน คือการนาพยัญชนะต๎น สระ ตัวสะกด และวรรณยุกต๑ รวมกัน เชํน ปูน ประกอบด๎วย พยัญชนะต๎น ป สระ ู ตัวสะกด น (แมํกน) เสียงวรรณยุกต๑ สามัญ ๒.๓ ประสมอักษร ๔ ส่วนพิเศษ คือการประสมอักษร ๓ สํวน และเพิ่มตัวการันต๑ เชํน สีห๑ ประกอบด๎วย พยัญชนะต๎น ส สระ อี เสียงวรรณยุกต๑ จัตวา ตัวการันต๑ ห๑ ๒. ส
  • 15. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๑๕ ๒.๔ ประสมอักษร ๕ ส่วน คือการประสมอักษร ๔ สํวน และ เพิ่มตัวการันต๑ เชํน ยักษ๑ ประกอบด๎วย พยัญชนะต๎น ย สระ อะ ตัวสะกด ก (แมํกก) เสียงวรรณยุกต๑ ตรี ตัวการันต๑ ษ๑ พยางค๑ที่ประสมสระ ใอ ไอ อา ีตัวการันต๑ก็นับวําเป็นการประสมอักษร ๕ ่วน เชํน เสาร๑ ประกอบด๎วย สระ เอา ( ะ + สะกด) สะกด ว ตัวการันต๑ ร๑ ประสมคาคือการนา ส
  • 16. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๑๖ ใบความรู้ที่ ๕ แผนการสอนที่ ๑ เรื่อง เสียงและอักษรไทย ๓.๑ พยางค๑ คือ การนาเสียง พยัญชนะ สระ วรรณยุกต๑ ประกอบเข๎าด๎วยกัน ออกเสียง ๑ ครั้งเป็น ๑ พยางค๑ พยางค๑เป็นกลุํมเสียง (เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต๑) ซึ่งเสียงในกลุํมนี้ จะมีเสียงหนึ่งดังเดํนกวําเสียงอื่นๆ เสียงนี้เป็นแกนของพยางค๑ อยูํหน๎าสระ ที่เรียกวําพยัญชนะต๎น เมื่อรวมกลุํมกับเสียงสระและวรรณยุกต๑แล๎วออกเสียง เรียกวํา “พยางค๑” สํวนพยัญชนะที่อยูํหลังสระ เรียกวําตัวสะกด ซึ่งบางโฮกาสก็จะรวมกลุํมด๎วย เมื่อรวมกันแล๎วออกเสียง ๑ ครั้ง เรียกวํา ๑ พยางค๑ พยางค๑กาหนดเอาการออกเสียงเป็นสาคัญ พยางค๑ในภาษาไทยจะต๎องมีสํวนประกอบอยํางน๎อยสามสํวน คือพยัญชนะต๎น สระ วรรณยุกต๑ ๓. ๒ คา คือ พยางค๑ที่ออกเสียงแล๎วสื่อความหมายได๎ คา เป็นหนํวยที่เล็กที่สุดที่สามารถสื่อความหมายได๎ บางครั้งมีพยางค๑เดียว บางครั้งมีหลายพยางค๑ โดยกาหนดเอาความหมายของคาเป็นสาคัญ เชํน ก + า + วรรณยุกต๑สามัญ = กา ( ๑ พยางค๑ ) แตํคาวํา กา มีความหมายเราเรียกวํา คา กา = ๑ คา มี ๑ พยางค๑ การะเกด = ๑ คา มี ๓ พยางค๑ เป็นส่วนย่อยของ คา ๓.
  • 17. http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc http://e-learning.pbtc.ac.th/~kantaya/file.php/1/unit1/unit1.doc ๑๗ คาสั่ง : ค ค ไป มหลักการประสมอักษร คา คา -พยางค๑ พยัญชนะต๎น สระ วรรณยุกต๑ สะกด-การันต๑ เกรียง กุ ลี กระดาษ ทุกข๑ ตัว เมือง สร๎าง หาด สา แบบฝึกการประสมอักษร