SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Meditation
กิจกรรมอบรมจิตและเจริญปัญญาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
- เพื่อให้เกิดความเข้าใจในตนเอง ด้วยสติ
สัมปชัญญะผ่านแนวทางวิปัสสนา
กรรมฐาน
- เพื่อเรียนรู้การพัฒนาตนเองและการอยู่
ร่วมกับผู้อื่น ผ่านหลักธรรม แนวคิด แนว
ปฏิบัติ ที่ เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิต
- เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
และทบทวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับตนเอง
สถานที่ : วัดเวฬุวัน (วัดเขาจีนแล) ต.นิคม
สร้างตนเอง อ.เมือง จ.ลพบุรี
ระยะเวลา : วันที่ 12-16 พฤษภาคม 2557
วัตถุประสงค์
1. การตั้งเป้ าหมาย ก่อนไปทา
กิจกรรมได้ตั้งเป้ าหมายในการไปใน
ครั้งนี้คือ การที่จะทาให้ตนเองมีสมาธิ
มีสติ มีความสงบนิ่ง เพื่อสามารถ
รับมือกับสถานการณ์ต่างได้ด้วยใจที่
สงบนิ่ง สามารถที่จะแก้ปัญหาที่จะ
เกิดขึ้นได้
สิ่งที่คาดหวังจากการทากิจกรรม
ในครั้งนี้คือ อย่างน้อยได้เรียนรู้
วิธีการ การทาสมาธิ เพื่อนากลับมา
ปฏิบัติ มาเรียนรู้ต่อด้วยตนเอง ฝึกฝน
ด้วยตนเอง เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย
ที่ตั้งไว้
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
2. การเลือก Lead ในการทากิจกรรมนี้ต้องมีการเลือกผู้นาซึ่งเป็ นการกาหนด
หน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละคนดังนี้
ผู้นากิจกรรมหลัก : ควบคุม ดูแล จัดการ ภาพร่วมของกิจกรรม
ผู้นากิจกรรมย่อย : เป็ นการแบ่งหน้าที่การรับผิดชอบออกเป็ นส่วนๆ เช่น
การเดินทาง ที่พัก อาหาร เป็ นต้น
โดยรวมจะเป็ นการฝึกให้มีภาวะการเป็ นผู้นา ให้รู้จักการบริหารจัดการ
ความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเองที่ได้รับมอบหมาย
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
3. การรับศีล 8 เมื่อไปถึงวัดก็เริ่มจาการรับศีล 8
ก่อน การรับศีล 8 คือ การชาระจิตใจให้บริสุทธิ์
และเป็ นข้อปฏิบัติสาหรับการฝึกตน ที่ต้องยึดถึอ
และปฏิบัติตลอดการทากิจกรรมที่วัดในครั้งนี้
ประกอบไปด้วย
1. เว้นจากทาลายชีวิต
2. เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้
3. เว้นจากประพฤติผิดพรหมจรรย์ คือเว้นจาก
ร่วมประเวณี
4. เว้นจากพูดเท็จ
5. เว้นจากของเมา คือ สุราเมรัยอันเป็ นที่ตั้ง
แห่งความประมาท
6. เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล คือเที่ยง
แล้วไป
7. เว้นจากฟ้ อนรา ขับร้อง บรรเลงดนตรี การ
ทัดทรงดอกไม้ ของหอม และ เครื่องประดับ
ตกแต่ง
8. เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่ หรูหราฟุ่ มเฟื อย
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
4. การทาวัตรเช้า "ทาวัตร" หมายถึง
การทากิจที่พึงทาตามหน้าที่ หรือตาม
ธรรมเนียม ย่อมาจากคาว่า "กิจวัตร"
การทาวัตรเช้าจะเริ่มตั้งแต่ตีสี่ ทั้งพระ ชี
และผู้ที่มาปฏิบัติธรรม จะมาพร้อมกันที่
โบสถ์ สวดมนต์ และต่อด้วยนั่งสมาธิ ใช้
เวลาประมาณ 1 ชั่วโมงกว่าๆ การทา
วัตรเช้าก็เพื่อให้ตัวเราเองมีสติในการใช้
ชีวิตในวันนั้นๆ
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
5. ตามพระไปบิณฑบาต เป็ นกิจกรรมที่ต่อ
จากการทาวัตรเช้า การบิณฑบาตเป็ นกิจ
หน้าที่ของพระที่จะต้องออกรับถวาย
ภัตตาหารและสิ่งของจากชาวบ้านในตอน
เช้า ถือว่าเป็ นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาอีก
ทางหนึ่ง ตนเองได้มีโอกาสตามพระไป
บิณฑบาตครั้งนึง เป็ นประสพการณ์ครั้งแรก
ได้เห็นชาวบ้านมาใส่บาตรด้วยหน้าตายิ้ม
แย้ม ผู้เฒ่าผู้แก่ก็จะทักทาย ยิ้มให้บ้าง ถาม
บ้าง รู้สึกอิ่มใจมากๆ หน้าที่หลักสาหรับการ
ตามพระท่านไปบิณฑบาต ก็คือคอยเอา
อาหารที่ชาวบ้านมาถวายใส่ในปิ่นโต (ให้
ทัน) เพราะพระจะรับแต่ข้าว รับเสร็จก็จะเดิน
ต่อไป ถ้าเอาอาหารใส่ปิ่นโตช้าก็จะตามพระ
ไม่ทัน และด้วยความที่มือใหม่กว่าจะจัดการ
กับปิ่นโตเสร็จพระท่านก็เดินหายไปแล้ว
ต้องวิ่งตามกันเลยก็มี
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
6. ถวายภัตตาหารเช้า เมื่อกลับมาถึงวัด
ก็ต้องจัดเตรียมอาหารต่างๆที่ได้มาจาก
ในปิ่นโต แยกใส่ถาดที่มีล้อเลื่อน แล้ว
นาไปถวายหรือประเคนให้กับหลวงปู่
หรือพระที่มีพรรษามากที่สุด เมื่อพระ
ท่านพิจรณาอาหารหรือตักอาหารเสร็จ
ก็จะเลื่อนถาดอาหารให้พระรูปต่อไป
ได้พิจรณาทาอย่างนี้ไปเรื่อยๆจนถึงรูป
สุดท้ายที่มีพรรษาน้อยสุด จากนั้นก็จะ
ให้ศีลให้พรเป็ นอันจบพิธี วันใหนเป็ นวัน
พระใหญ่อย่างวันวิสาขบูชาก็จะมี
ชาวบ้านมาถวายภัตตาหารกันเต็มศาลา
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
7. ธรรมะบรรยายและธรรมะปฏิบัติ ในทุกๆวันเวลา
เก้าโมงเช้าและบ่ายโมง จะมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่
เรียกว่า ธรรมะบรรยายและธรรมะปฏิบัติ โดยมี
พระอาจารย์, แม่ชี ผลัดกันมาให้ความรู้ ให้ปฏิบัติ
กัน มีดังนี้
ธรรมะบรรยาย : ได้เรียนรู้ถึงประวัติของพระพุธ
เจ้า สิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ได้โดยพระองค์เอง
ได้แก่ อริยสัจ 4 คือความจริง 4 ประการ ได้แก่
ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค และหัวใจของคาสอน
ของพระพุทธเจ้า (โอวาทปาฏิโมกข์) เป็ นหลักคา
สอนสาคัญที่เป็ นหัวใจของพระพุทธศาสนาคือ ทา
ความดี ละความชั่วทาให้จิตใจผ่องใส รวมถึง
ความสาคัญของวันวิสาขบูชาซึ่งถือเป็ นวันพุทธ
ศาสนาโลกด้วย โดยสถานที่ที่ควรไปเคารพ
สักการะที่เกี่ยวข้องกับวันวิสาขบูชาอันได้แก่
ลุมพินี สถานที่ประสูติ ประเทศเนปาล
พุทธคายา สถานที่ตรัสรู้ ประเทศอินเดีย
สารนาถ สถานที่แสดงปฐมเทศนา ประเทศอินเดีย
กุสินารา สถานที่ปรินิพาน ประเทศอินเดีย
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
ฝึกการนั่งสมาธิ : เริ่มตั้งแต่ท่านั้ง การเพ่งจิตไปที่
ลมหายใจเข้าออก เพื่อให้จิตไม่ฟุ้ งซ่าน ทาให้เกิด
ความสงบ แต่เนื่องจากเป็ นการนั่งสมาธิในครั้ง
แรกอุปสรรคที่เกิดขึ้นก็คือร่างกาย ความปวด
เมื่อยจากการนั่งในเวลานานๆ ทาให้จิตไม่สงบ
พระท่านก็สอนว่าเราสามารถเปลี่ยนหรือขยับ
ร่างกายได้ไม่จาเป็ นต้องฝืน หรือถ้าฝึกบ่อยๆจน
สามารถเพ่งจิตให้นิ่งได้แล้ว ความเจ็บความเมื่อย
จะหายไปเอง
ฝึกการเดินจงกรม : ในการทาให้เกิดสมาธิไม่
จาเป็ นต้องนั่งอย่างเดียว การเดินจงกรมก็เป็ นวิธี
หนึ่งที่จะทาให้เกิดสมาธิได้ วิธีการคือเดินให้ช้า
ที่สุด มองไปข้างหน้าก้มหัวลงเล็กน้อย กาหนดจิต
ไปที่การเดินให้รู้ตัวเองว่ากาลังยกเท้า ก้าวเท้า
วางเท้า ทั้งซ้ายและขวา ไม่หวั่นไหวไปตาม
สภาพแวดล้อม เมื่อจิตใจสงบนิ่งแล้วก็ค่อย
เปลี่ยนไปนั่งสมาธิต่อ หรือนั่งสมาธินานๆปวด
เมื่อยก็สามารถลุกมาเดินจงกรมได้
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
ทั้ง 2 วิธีถือว่าเป็ นกิจกรรมหลักในการ
เรียนรู้ ทางพระอาจารย์ก็จะเน้นเรื่อง
การทาสมาธิเป็ นหลัก มีการเปลี่ยน
สถานที่ในการนั่งสมาธิหรือเดินจงกรม
โดยเริ่มจากในโบสถ์ที่เงียบสงบ บนเขา
ที่กว่าจะเดินขึ้นไปถึงก็เหนื่อยล้าในป่ าที่
เต็มไปด้วยมดแมลง เสียงต่างๆที่มา
รบกวน ไปจนถึงฝึกในถ้าที่มืดและอับ
ชื้น เพื่อฝึกความอดทนและการทาสมาธิ
ในสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
8. ธรรมะสัญจร เป็ นการไปทัศนศึกษา
และเปลี่ยนบรรยากาศในการปฏิบัติ
ธรรม ทั้งหมด 3 วัดได้แก่
วัดพระพุทธบาท จ.สระบุรี
วัดเขาวง จ.สระบุรี
วัดถ้าพรหมสวัสดิ์ จ.ลพบุรี
ซึ่งทั้ง 3 วัดนี้เป็ นวัดที่มีความสาคัญที่
ชาวบ้านและคนทั่วไปให้ความเคารพ
เลื่อมใส สังเกตุได้จากแต่ละวัดจะมี
ประชาชนมาเป็ นจานวนมาก ทางพระ
อาจารย์ก็ได้แนะนาสถานที่ ประวัติ และ
ได้สอนธรรมะไปด้วย
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
9. ทาความสะอาดลานวัดและดื่มน้า
ปานะ เมื่อเสร็จจากกิจกรรมการเรียน
ในช่วงเย็นทุกคนก็จะช่วยกันทาความ
สะอาดวัด มีทั้งกวาดใบไม้ ล้างห้องน้า
ทาความสะอาดโบสถ์, ศาลาที่พัก เพื่อ
เป็ นการบาเพ็ญประโยชน์ และได้ออก
กาลังกายยืดเส้นยืดสายไปในตัว
ดื่มน้าปานะ : จริงๆแล้วน้าปานะคือ
เครื่องดื่มที่คั้นจากผลไม้ ที่พระภิกษุฉัน
ได้ตั้งแต่หลังเที่ยงไปจนถึงก่อนรุ่งเช้า
ผู้ที่มาปฏิบัติธรรมถือศีล 8 ก็เช่นกัน
ส่วนพวกชา กาแฟ ท่านก็อนุโลมไห้
สามารถดื่มได้
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
10. ทาวัตรเย็น การทาวัตรเย็นก็
เหมือนกับการทาวัตรเช้า โดยจะเริ่ม
ตั้งแต่ 6 โมงเย็นเป็ นต้นไป ใช้เวลา
ประมาณ 1 ชั่วโมง จากนั้นก็นั่งสมาธิ
เจริญจิตภาวนาต่อจนถึงสองทุ่ม
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
11. ธรรมะนิเทศ เมื่อเสร็จจากการทา
วัตรเย็นและการนั่งสมาธิแล้วก็จะต่อ
ด้วยธรรมะนิเทศ คือ การเทศน์ การให้
ความรู้ของพระอาจารย์ ตั้งแต่การนา
ธรรมะไปใช้ในชีวิตประจาวัน และใน
การทางาน
สรุปรายละเอียดกิจกรรม
12. พักกาย ผ่อนคลายจิต เมื่องเสร็จ
จากกิจวัตรประจาวันก็ได้เวลาพักผ่อน
เมื่อเหน็ดเหนื่อย ปวดเมื่อยจากการทาก
จิกรรมมาทั้งวันการที่จะนอนให้หลับใน
สถานที่ที่ไม่คุ้นเคยจึงเป็ นเรื่องง่าย หัว
ถึงหมอนก็หลับเลย เวลานอนปกติก็จะ
ประมาณ 4 ทุ่ม และตื่นในเวลาตี 3 เพื่อ
ชาระร่างกายเตรียมที่จะไปทาวัตรเช้า
ต่อไป
สิ่งที่ได้และสิ่งที่ต้องทาต่อ
………………………
ได ้เรียนรู้วิธีการ ได ้ทดลองนั่งสมาธิ
เกิดอาการปวดหลังมาก ทาให ้ไม่มีสมาธิ
จิตใจยังไม่นิ่ง สงบ
ต ้องฝึกฝน
ใช ้ระยะเวลาเพื่อขจัดอาการปวดหลัง
เพ่งจิตให ้แน่วแน่ ให ้ได ้นานที่สุด
ทาทุกวัน
มีสมาธิเพื่อควบคุม
จิตใจตัวเอง
สรุปการเรียนรู้
เริ่มจากเป้ าหมายที่ได้ตั้งไว้ก่อนไปทากิจกรรมคือฝึกการมีสมาธิ ทาสมาธิให้
เกิดความสงบนิ่ง ซึ่งในระยะเวลา 5 วันที่ไปเรียนรู้ และได้เริ่มปฏิบัติ ทาให้ได้
รู้ว่าตนเองยังไม่สามารถฝึกให้จิตใจสงบนิ่งได้ เนื่องจากความปวดเมื่อยของ
ร่างกายที่เพิ่มขึ้นทุกวัน แต่ก็ได้เรียนรู้วิธีการทาสมาธิ ที่สามารถนากลับมา
ฝึกฝนต่อไปได้ โดยตั้งใจว่าจะฝึกฝนจนสามารถที่จะมีสมาธิ มีจิตใจที่สงบ
นิ่ง สามารถรับมือกับสถานการณ์ต่างๆได้
สาหรับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในส่วนอื่นๆ ก็คือ กิจวัตรของพระภิกษุ และแม่ชี การใช้
ชีวิตอยู่ที่วัด การอยู่รวมกัน โดยแต่ละคนมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่แตกต่าง
กัน แต่ทาเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายเดียวกัน การได้รู้จักเพื่อนใหม่ ได้รู้ได้ทา
ในสิ่งที่ไม่เคยทา ถือว่าเป็ นประสพการณ์ที่ดีมากๆในการร่วมทากิจกรรมใน
ครั้งนี้
Next Step : ฝึกทุกวันเพื่อให้ร่างก่ายอยู่ตัวจะได้ไม่ปวดหลัง และเมื่ออาการ
ปวดหลังหายไปการฝึกให้มีสมาธิก็น่าจะง่ายขึ้น

More Related Content

What's hot

เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2Taweedham Dhamtawee
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิTeacher Sophonnawit
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิงniralai
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3ฟองเพียร ใจติ๊บ
 
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธPPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธauei angkana
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
Luangpoo fun
Luangpoo funLuangpoo fun
Luangpoo funMI
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานPadvee Academy
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมPadvee Academy
 

What's hot (20)

เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิ
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3
 
งาน
งานงาน
งาน
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
 
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธPPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Luangpoo fun
Luangpoo funLuangpoo fun
Luangpoo fun
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 

Viewers also liked

Dynamics of Big Data - Survey Tool
Dynamics of Big Data - Survey ToolDynamics of Big Data - Survey Tool
Dynamics of Big Data - Survey ToolDavid Sloand
 
สรุปกิจกรรม Getting diversity (j)
สรุปกิจกรรม Getting diversity (j)สรุปกิจกรรม Getting diversity (j)
สรุปกิจกรรม Getting diversity (j)monthsut
 
Proyecto final dpi_grupo 49_2014-i.
Proyecto final dpi_grupo 49_2014-i.Proyecto final dpi_grupo 49_2014-i.
Proyecto final dpi_grupo 49_2014-i.MANUELCOMAS
 
All You Need to Know About A Durable Power of Attorney
All You Need to Know About A Durable Power of AttorneyAll You Need to Know About A Durable Power of Attorney
All You Need to Know About A Durable Power of AttorneyScott Schomer
 
Bài tập lớn số 1 Quy hoạch và phát triển năng lượng
Bài tập lớn số 1 Quy hoạch và phát triển năng lượngBài tập lớn số 1 Quy hoạch và phát triển năng lượng
Bài tập lớn số 1 Quy hoạch và phát triển năng lượngPhú Khánhh
 
Модель киновоспитания_подростков_на примере создания _кинофестиваля
 Модель киновоспитания_подростков_на примере создания _кинофестиваля Модель киновоспитания_подростков_на примере создания _кинофестиваля
Модель киновоспитания_подростков_на примере создания _кинофестиваляТамара Спиридонова
 

Viewers also liked (9)

sebas apple
sebas applesebas apple
sebas apple
 
Dynamics of Big Data - Survey Tool
Dynamics of Big Data - Survey ToolDynamics of Big Data - Survey Tool
Dynamics of Big Data - Survey Tool
 
สรุปกิจกรรม Getting diversity (j)
สรุปกิจกรรม Getting diversity (j)สรุปกิจกรรม Getting diversity (j)
สรุปกิจกรรม Getting diversity (j)
 
Proyecto final dpi_grupo 49_2014-i.
Proyecto final dpi_grupo 49_2014-i.Proyecto final dpi_grupo 49_2014-i.
Proyecto final dpi_grupo 49_2014-i.
 
All You Need to Know About A Durable Power of Attorney
All You Need to Know About A Durable Power of AttorneyAll You Need to Know About A Durable Power of Attorney
All You Need to Know About A Durable Power of Attorney
 
Vanmahoutsav
VanmahoutsavVanmahoutsav
Vanmahoutsav
 
baigalmaa Lexicology history
baigalmaa Lexicology historybaigalmaa Lexicology history
baigalmaa Lexicology history
 
Bài tập lớn số 1 Quy hoạch và phát triển năng lượng
Bài tập lớn số 1 Quy hoạch và phát triển năng lượngBài tập lớn số 1 Quy hoạch và phát triển năng lượng
Bài tập lớn số 1 Quy hoạch và phát triển năng lượng
 
Модель киновоспитания_подростков_на примере создания _кинофестиваля
 Модель киновоспитания_подростков_на примере создания _кинофестиваля Модель киновоспитания_подростков_на примере создания _кинофестиваля
Модель киновоспитания_подростков_на примере создания _кинофестиваля
 

Similar to สรุปกิจกรรม Maditation (j)

กิจกรรมที่ 1 medatation
กิจกรรมที่ 1 medatationกิจกรรมที่ 1 medatation
กิจกรรมที่ 1 medatationKamon Kaewmanee
 
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatation
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatationบันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatation
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatationKamon Kaewmanee
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Watpadhammaratana Pittsburgh
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

Similar to สรุปกิจกรรม Maditation (j) (20)

กิจกรรมที่ 1 medatation
กิจกรรมที่ 1 medatationกิจกรรมที่ 1 medatation
กิจกรรมที่ 1 medatation
 
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatation
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatationบันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatation
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatation
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขางานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
 

สรุปกิจกรรม Maditation (j)

  • 2. - เพื่อให้เกิดความเข้าใจในตนเอง ด้วยสติ สัมปชัญญะผ่านแนวทางวิปัสสนา กรรมฐาน - เพื่อเรียนรู้การพัฒนาตนเองและการอยู่ ร่วมกับผู้อื่น ผ่านหลักธรรม แนวคิด แนว ปฏิบัติ ที่ เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิต - เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และทบทวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับตนเอง สถานที่ : วัดเวฬุวัน (วัดเขาจีนแล) ต.นิคม สร้างตนเอง อ.เมือง จ.ลพบุรี ระยะเวลา : วันที่ 12-16 พฤษภาคม 2557 วัตถุประสงค์
  • 3. 1. การตั้งเป้ าหมาย ก่อนไปทา กิจกรรมได้ตั้งเป้ าหมายในการไปใน ครั้งนี้คือ การที่จะทาให้ตนเองมีสมาธิ มีสติ มีความสงบนิ่ง เพื่อสามารถ รับมือกับสถานการณ์ต่างได้ด้วยใจที่ สงบนิ่ง สามารถที่จะแก้ปัญหาที่จะ เกิดขึ้นได้ สิ่งที่คาดหวังจากการทากิจกรรม ในครั้งนี้คือ อย่างน้อยได้เรียนรู้ วิธีการ การทาสมาธิ เพื่อนากลับมา ปฏิบัติ มาเรียนรู้ต่อด้วยตนเอง ฝึกฝน ด้วยตนเอง เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย ที่ตั้งไว้ สรุปรายละเอียดกิจกรรม
  • 4. สรุปรายละเอียดกิจกรรม 2. การเลือก Lead ในการทากิจกรรมนี้ต้องมีการเลือกผู้นาซึ่งเป็ นการกาหนด หน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละคนดังนี้ ผู้นากิจกรรมหลัก : ควบคุม ดูแล จัดการ ภาพร่วมของกิจกรรม ผู้นากิจกรรมย่อย : เป็ นการแบ่งหน้าที่การรับผิดชอบออกเป็ นส่วนๆ เช่น การเดินทาง ที่พัก อาหาร เป็ นต้น โดยรวมจะเป็ นการฝึกให้มีภาวะการเป็ นผู้นา ให้รู้จักการบริหารจัดการ ความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเองที่ได้รับมอบหมาย
  • 5. สรุปรายละเอียดกิจกรรม 3. การรับศีล 8 เมื่อไปถึงวัดก็เริ่มจาการรับศีล 8 ก่อน การรับศีล 8 คือ การชาระจิตใจให้บริสุทธิ์ และเป็ นข้อปฏิบัติสาหรับการฝึกตน ที่ต้องยึดถึอ และปฏิบัติตลอดการทากิจกรรมที่วัดในครั้งนี้ ประกอบไปด้วย 1. เว้นจากทาลายชีวิต 2. เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้ 3. เว้นจากประพฤติผิดพรหมจรรย์ คือเว้นจาก ร่วมประเวณี 4. เว้นจากพูดเท็จ 5. เว้นจากของเมา คือ สุราเมรัยอันเป็ นที่ตั้ง แห่งความประมาท 6. เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล คือเที่ยง แล้วไป 7. เว้นจากฟ้ อนรา ขับร้อง บรรเลงดนตรี การ ทัดทรงดอกไม้ ของหอม และ เครื่องประดับ ตกแต่ง 8. เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่ หรูหราฟุ่ มเฟื อย
  • 6. สรุปรายละเอียดกิจกรรม 4. การทาวัตรเช้า "ทาวัตร" หมายถึง การทากิจที่พึงทาตามหน้าที่ หรือตาม ธรรมเนียม ย่อมาจากคาว่า "กิจวัตร" การทาวัตรเช้าจะเริ่มตั้งแต่ตีสี่ ทั้งพระ ชี และผู้ที่มาปฏิบัติธรรม จะมาพร้อมกันที่ โบสถ์ สวดมนต์ และต่อด้วยนั่งสมาธิ ใช้ เวลาประมาณ 1 ชั่วโมงกว่าๆ การทา วัตรเช้าก็เพื่อให้ตัวเราเองมีสติในการใช้ ชีวิตในวันนั้นๆ
  • 7. สรุปรายละเอียดกิจกรรม 5. ตามพระไปบิณฑบาต เป็ นกิจกรรมที่ต่อ จากการทาวัตรเช้า การบิณฑบาตเป็ นกิจ หน้าที่ของพระที่จะต้องออกรับถวาย ภัตตาหารและสิ่งของจากชาวบ้านในตอน เช้า ถือว่าเป็ นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาอีก ทางหนึ่ง ตนเองได้มีโอกาสตามพระไป บิณฑบาตครั้งนึง เป็ นประสพการณ์ครั้งแรก ได้เห็นชาวบ้านมาใส่บาตรด้วยหน้าตายิ้ม แย้ม ผู้เฒ่าผู้แก่ก็จะทักทาย ยิ้มให้บ้าง ถาม บ้าง รู้สึกอิ่มใจมากๆ หน้าที่หลักสาหรับการ ตามพระท่านไปบิณฑบาต ก็คือคอยเอา อาหารที่ชาวบ้านมาถวายใส่ในปิ่นโต (ให้ ทัน) เพราะพระจะรับแต่ข้าว รับเสร็จก็จะเดิน ต่อไป ถ้าเอาอาหารใส่ปิ่นโตช้าก็จะตามพระ ไม่ทัน และด้วยความที่มือใหม่กว่าจะจัดการ กับปิ่นโตเสร็จพระท่านก็เดินหายไปแล้ว ต้องวิ่งตามกันเลยก็มี
  • 8. สรุปรายละเอียดกิจกรรม 6. ถวายภัตตาหารเช้า เมื่อกลับมาถึงวัด ก็ต้องจัดเตรียมอาหารต่างๆที่ได้มาจาก ในปิ่นโต แยกใส่ถาดที่มีล้อเลื่อน แล้ว นาไปถวายหรือประเคนให้กับหลวงปู่ หรือพระที่มีพรรษามากที่สุด เมื่อพระ ท่านพิจรณาอาหารหรือตักอาหารเสร็จ ก็จะเลื่อนถาดอาหารให้พระรูปต่อไป ได้พิจรณาทาอย่างนี้ไปเรื่อยๆจนถึงรูป สุดท้ายที่มีพรรษาน้อยสุด จากนั้นก็จะ ให้ศีลให้พรเป็ นอันจบพิธี วันใหนเป็ นวัน พระใหญ่อย่างวันวิสาขบูชาก็จะมี ชาวบ้านมาถวายภัตตาหารกันเต็มศาลา
  • 9. สรุปรายละเอียดกิจกรรม 7. ธรรมะบรรยายและธรรมะปฏิบัติ ในทุกๆวันเวลา เก้าโมงเช้าและบ่ายโมง จะมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่ เรียกว่า ธรรมะบรรยายและธรรมะปฏิบัติ โดยมี พระอาจารย์, แม่ชี ผลัดกันมาให้ความรู้ ให้ปฏิบัติ กัน มีดังนี้ ธรรมะบรรยาย : ได้เรียนรู้ถึงประวัติของพระพุธ เจ้า สิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ได้โดยพระองค์เอง ได้แก่ อริยสัจ 4 คือความจริง 4 ประการ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค และหัวใจของคาสอน ของพระพุทธเจ้า (โอวาทปาฏิโมกข์) เป็ นหลักคา สอนสาคัญที่เป็ นหัวใจของพระพุทธศาสนาคือ ทา ความดี ละความชั่วทาให้จิตใจผ่องใส รวมถึง ความสาคัญของวันวิสาขบูชาซึ่งถือเป็ นวันพุทธ ศาสนาโลกด้วย โดยสถานที่ที่ควรไปเคารพ สักการะที่เกี่ยวข้องกับวันวิสาขบูชาอันได้แก่ ลุมพินี สถานที่ประสูติ ประเทศเนปาล พุทธคายา สถานที่ตรัสรู้ ประเทศอินเดีย สารนาถ สถานที่แสดงปฐมเทศนา ประเทศอินเดีย กุสินารา สถานที่ปรินิพาน ประเทศอินเดีย
  • 10. สรุปรายละเอียดกิจกรรม ฝึกการนั่งสมาธิ : เริ่มตั้งแต่ท่านั้ง การเพ่งจิตไปที่ ลมหายใจเข้าออก เพื่อให้จิตไม่ฟุ้ งซ่าน ทาให้เกิด ความสงบ แต่เนื่องจากเป็ นการนั่งสมาธิในครั้ง แรกอุปสรรคที่เกิดขึ้นก็คือร่างกาย ความปวด เมื่อยจากการนั่งในเวลานานๆ ทาให้จิตไม่สงบ พระท่านก็สอนว่าเราสามารถเปลี่ยนหรือขยับ ร่างกายได้ไม่จาเป็ นต้องฝืน หรือถ้าฝึกบ่อยๆจน สามารถเพ่งจิตให้นิ่งได้แล้ว ความเจ็บความเมื่อย จะหายไปเอง ฝึกการเดินจงกรม : ในการทาให้เกิดสมาธิไม่ จาเป็ นต้องนั่งอย่างเดียว การเดินจงกรมก็เป็ นวิธี หนึ่งที่จะทาให้เกิดสมาธิได้ วิธีการคือเดินให้ช้า ที่สุด มองไปข้างหน้าก้มหัวลงเล็กน้อย กาหนดจิต ไปที่การเดินให้รู้ตัวเองว่ากาลังยกเท้า ก้าวเท้า วางเท้า ทั้งซ้ายและขวา ไม่หวั่นไหวไปตาม สภาพแวดล้อม เมื่อจิตใจสงบนิ่งแล้วก็ค่อย เปลี่ยนไปนั่งสมาธิต่อ หรือนั่งสมาธินานๆปวด เมื่อยก็สามารถลุกมาเดินจงกรมได้
  • 11. สรุปรายละเอียดกิจกรรม ทั้ง 2 วิธีถือว่าเป็ นกิจกรรมหลักในการ เรียนรู้ ทางพระอาจารย์ก็จะเน้นเรื่อง การทาสมาธิเป็ นหลัก มีการเปลี่ยน สถานที่ในการนั่งสมาธิหรือเดินจงกรม โดยเริ่มจากในโบสถ์ที่เงียบสงบ บนเขา ที่กว่าจะเดินขึ้นไปถึงก็เหนื่อยล้าในป่ าที่ เต็มไปด้วยมดแมลง เสียงต่างๆที่มา รบกวน ไปจนถึงฝึกในถ้าที่มืดและอับ ชื้น เพื่อฝึกความอดทนและการทาสมาธิ ในสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน
  • 12. สรุปรายละเอียดกิจกรรม 8. ธรรมะสัญจร เป็ นการไปทัศนศึกษา และเปลี่ยนบรรยากาศในการปฏิบัติ ธรรม ทั้งหมด 3 วัดได้แก่ วัดพระพุทธบาท จ.สระบุรี วัดเขาวง จ.สระบุรี วัดถ้าพรหมสวัสดิ์ จ.ลพบุรี ซึ่งทั้ง 3 วัดนี้เป็ นวัดที่มีความสาคัญที่ ชาวบ้านและคนทั่วไปให้ความเคารพ เลื่อมใส สังเกตุได้จากแต่ละวัดจะมี ประชาชนมาเป็ นจานวนมาก ทางพระ อาจารย์ก็ได้แนะนาสถานที่ ประวัติ และ ได้สอนธรรมะไปด้วย
  • 13. สรุปรายละเอียดกิจกรรม 9. ทาความสะอาดลานวัดและดื่มน้า ปานะ เมื่อเสร็จจากกิจกรรมการเรียน ในช่วงเย็นทุกคนก็จะช่วยกันทาความ สะอาดวัด มีทั้งกวาดใบไม้ ล้างห้องน้า ทาความสะอาดโบสถ์, ศาลาที่พัก เพื่อ เป็ นการบาเพ็ญประโยชน์ และได้ออก กาลังกายยืดเส้นยืดสายไปในตัว ดื่มน้าปานะ : จริงๆแล้วน้าปานะคือ เครื่องดื่มที่คั้นจากผลไม้ ที่พระภิกษุฉัน ได้ตั้งแต่หลังเที่ยงไปจนถึงก่อนรุ่งเช้า ผู้ที่มาปฏิบัติธรรมถือศีล 8 ก็เช่นกัน ส่วนพวกชา กาแฟ ท่านก็อนุโลมไห้ สามารถดื่มได้
  • 14. สรุปรายละเอียดกิจกรรม 10. ทาวัตรเย็น การทาวัตรเย็นก็ เหมือนกับการทาวัตรเช้า โดยจะเริ่ม ตั้งแต่ 6 โมงเย็นเป็ นต้นไป ใช้เวลา ประมาณ 1 ชั่วโมง จากนั้นก็นั่งสมาธิ เจริญจิตภาวนาต่อจนถึงสองทุ่ม
  • 15. สรุปรายละเอียดกิจกรรม 11. ธรรมะนิเทศ เมื่อเสร็จจากการทา วัตรเย็นและการนั่งสมาธิแล้วก็จะต่อ ด้วยธรรมะนิเทศ คือ การเทศน์ การให้ ความรู้ของพระอาจารย์ ตั้งแต่การนา ธรรมะไปใช้ในชีวิตประจาวัน และใน การทางาน
  • 16. สรุปรายละเอียดกิจกรรม 12. พักกาย ผ่อนคลายจิต เมื่องเสร็จ จากกิจวัตรประจาวันก็ได้เวลาพักผ่อน เมื่อเหน็ดเหนื่อย ปวดเมื่อยจากการทาก จิกรรมมาทั้งวันการที่จะนอนให้หลับใน สถานที่ที่ไม่คุ้นเคยจึงเป็ นเรื่องง่าย หัว ถึงหมอนก็หลับเลย เวลานอนปกติก็จะ ประมาณ 4 ทุ่ม และตื่นในเวลาตี 3 เพื่อ ชาระร่างกายเตรียมที่จะไปทาวัตรเช้า ต่อไป
  • 17. สิ่งที่ได้และสิ่งที่ต้องทาต่อ ……………………… ได ้เรียนรู้วิธีการ ได ้ทดลองนั่งสมาธิ เกิดอาการปวดหลังมาก ทาให ้ไม่มีสมาธิ จิตใจยังไม่นิ่ง สงบ ต ้องฝึกฝน ใช ้ระยะเวลาเพื่อขจัดอาการปวดหลัง เพ่งจิตให ้แน่วแน่ ให ้ได ้นานที่สุด ทาทุกวัน มีสมาธิเพื่อควบคุม จิตใจตัวเอง
  • 18. สรุปการเรียนรู้ เริ่มจากเป้ าหมายที่ได้ตั้งไว้ก่อนไปทากิจกรรมคือฝึกการมีสมาธิ ทาสมาธิให้ เกิดความสงบนิ่ง ซึ่งในระยะเวลา 5 วันที่ไปเรียนรู้ และได้เริ่มปฏิบัติ ทาให้ได้ รู้ว่าตนเองยังไม่สามารถฝึกให้จิตใจสงบนิ่งได้ เนื่องจากความปวดเมื่อยของ ร่างกายที่เพิ่มขึ้นทุกวัน แต่ก็ได้เรียนรู้วิธีการทาสมาธิ ที่สามารถนากลับมา ฝึกฝนต่อไปได้ โดยตั้งใจว่าจะฝึกฝนจนสามารถที่จะมีสมาธิ มีจิตใจที่สงบ นิ่ง สามารถรับมือกับสถานการณ์ต่างๆได้ สาหรับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในส่วนอื่นๆ ก็คือ กิจวัตรของพระภิกษุ และแม่ชี การใช้ ชีวิตอยู่ที่วัด การอยู่รวมกัน โดยแต่ละคนมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่แตกต่าง กัน แต่ทาเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายเดียวกัน การได้รู้จักเพื่อนใหม่ ได้รู้ได้ทา ในสิ่งที่ไม่เคยทา ถือว่าเป็ นประสพการณ์ที่ดีมากๆในการร่วมทากิจกรรมใน ครั้งนี้ Next Step : ฝึกทุกวันเพื่อให้ร่างก่ายอยู่ตัวจะได้ไม่ปวดหลัง และเมื่ออาการ ปวดหลังหายไปการฝึกให้มีสมาธิก็น่าจะง่ายขึ้น