SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Page 1 ภาษาคอมพิวเตอร์
Page 2 ภาษาคอมพิวเตอร์  เราใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาอื่นๆ อีกมากเพื่อสื่อสารระหว่างมนุษย์ ภาษามนุษย์ที่ใช้กันก็มีกฎเกณฑ์ของภาษามีโครงสร้างที่แน่นอน ผู้คิดค้นคอมพิวเตอร์ได้นำความรู้ด้านภาษาที่มนุษย์ใช้มาคิดค้นใช้กับคอมพิวเตอร์ จึงเกิดภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) ซึ่งถือว่าเป็นภาษาประดิษฐ์ (Artificial Language) ที่รวบรวมคำสั่งเฉพาะสำหรับการประมวลผลของคอมพิวเตอร์
Page 3 ภาษาเครื่องและล่ามแปลภาษา ภาษาเครื่อง (Machine Language) คือภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ โดยมีโครงสร้าง พื้นฐาน เป็นเลขฐานสอง  แต่การสื่อสารระหว่างมนุษย์และเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงจึงเป็นไปได้ด้วยความยากลำบาก  มนุษย์จึงพยายามสร้างเครื่องมือที่จะมาช่วยในการแปลภาษาที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย  เครื่องมือดังกล่าวเรียกว่าล่ามแปลภาษา (Language Translator)
Page 4 ล่ามแปลภาษา (Language Translator) คำสั่งที่มนุษย์สร้างขึ้นหรือเขียนขึ้นมา จะเรียกว่า (Source Code)  เมื่อนำ Source Code มาผ่านกระบวนการแปลภาษาของล่ามแปลภาษา ก็จะได้เป็น Object Code  และผ่านขั้นตอนอีกเล็กน้อยก็จะได้เป็นภาษาเครื่อง (Machine Language)  Source Code Lang Translator Object Code
Page 5 การทำงาน/ประเภทของล่ามแปลภาษา Source Code Lang Translator Object Code Link Compiler Interpreter .EXE .COM ใช้ Runtime ไม่ใช้ Runtime
Page 6 สามารถแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค   ภาษาเครื่อง (Machine Language)    ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)    ภาษาชั้นสูง (High - level Language)    ภาษาชั้นสูงมาก (Very High - level Language)    ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ภาษาคอมพิวเตอร์
Page 7 ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษายุคที่ 1ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาเครื่อง (Machine Language) ใช้อักขระ 0 และ 1 ลักษณะของภาษาเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์แต่ละระบบ รูปของรหัสของระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วย เลข 0 และเลข 1 ที่นำมาเขียนเรียงติดต่อกัน
Page 8 ภาษายุคที่ 2ภาษาระดับต่ำแอสเซมบลี (Assembly Language) ภาษาสัญลักษณ์และภาษาแอสแซมลี (Symbolic and Assembly) ผู้พัฒนาโปรแกรมต้องทราบขั้นตอนการทำงานภายในตัวประมวลผลโดยละเอียด ภาษาที่ใช้มีมากเท่ากับจำนวนตัวประมวลผลที่มีชุดของคำสั่ง (Instruction set) ตัวอย่างเช่นมีการใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้ A ย่อมาจาก ADD หมายถึงการบวกS ย่อมาจาก SUBTRACT หมายถึงการลบC ย่อมาจาก COMPLARE หมายถึงการเปรียบเทียบMP ย่อมาจาก MULTIPLY หมายถึงการคูณ ภาษาคอมพิวเตอร์
Page 9 ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษายุคที่ 3 ภาษาระดับสูง    การพัฒนาภาษาเขียนโปรแกรม (Programming Language)  จอห์น เบคัส (1954) ภาษา FORTRAN CODASYL (1962) ภาษา COBOL ซูริค (1958-60) ภาษา ALGOL จอห์น เคมเมนี และ ธอมัส เดิรตส์ ม.ดาร์ทเมิร์ท ภาษา BASIC มีคอมไพเลอร์ (Compiler) จะทำการแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องทีเดียว การแปลนี้จะเป็นการตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษา  อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นตัวแปลภาษาอีกตัวหนึ่งที่จะทำการแปลโปรแกรมภาษาชั้นสูงทีละคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่องและทำการเอ็กซ์วีคิวท์หรือทำงานคำสั่งนั้นทันทีทันใดเลยก่อนที่จะไปทำการแปลต่อในบรรทัดถัดไป
Page 10 ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษายุคที่ 4 ภาษาชั้นสูงมาก (Very high - Level Language)  ภาษารุ่นที่ 4 เป็นการระบุผลลัพธ์ที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ได้ระบุขั้นตอน (Non-procedural language) ภาษาสอบถาม (Query Language) ออกแบบสำหรับใช้ในการสืบค้นข้อมูล เช่น SQL (Structure Query Language) โดย อี. เอฟ. คอดด์ ตัวสร้างโปรแกรม (Program Generator) ใช้สร้างโปรแกรมภาษาเป็นภาษารุ่นที่ 3 จากคำสั่งง่าย ๆ มักทำงานร่วมกับโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลและมีส่วนที่กำหนดลักษณะจอภาพด้วย
Page 11 ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษายุคที่ 5 ภาษาธรรมชาติ    ภาษารุ่นที่ 5 เป็นการระบุผลลัพธ์ที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ได้ระบุขั้นตอน (Non-procedural language) ภาษาธรรมชาตินี้ ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ซึ่งเป็นงานที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence)  เช่น การแพทย์ พยากรณ์อากาศ การวิเคราะห์ทางเคมี การลงทุน ฯลฯ จะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจำนวนมหาศาลและให้ผู้ใช้สามารถใช้ภาษาธรรมชาติในการดึงข้อมูลจากฐานความรู้นี้ได้ ดังนั้นเราจึงอาจเรียกระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้อีกอย่างว่าเป็น ระบบฐานความรู้ (Knowledge Base System)

Contenu connexe

Tendances

ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาChatchaChantavaranurak
 
สอบกลางภาคเรียน
สอบกลางภาคเรียนสอบกลางภาคเรียน
สอบกลางภาคเรียนgasnaja
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาคMart Supanatt
 
การสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาคการสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาคSmart H Der
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Diiz Yokiiz
 
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์Nattawat Cjd
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์WEDPISIT KHAMCHAROEN
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์Pakkapong Kerdmanee
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKh ook
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาคnakorndon
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อThanisorn Deenarn
 

Tendances (20)

ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
สอบกลางภาคเรียน
สอบกลางภาคเรียนสอบกลางภาคเรียน
สอบกลางภาคเรียน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
การสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาคการสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาค
 
1236363
12363631236363
1236363
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
123456
123456123456
123456
 
ทดสอบกลางภาค
ทดสอบกลางภาคทดสอบกลางภาค
ทดสอบกลางภาค
 
49 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-749 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-7
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อ
 
1
11
1
 
Chepter2
Chepter2Chepter2
Chepter2
 

Similaire à Language

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Inam Chatsanova
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Monberry NooNan
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา Chanikan Kongkaew
 
สอบกลางภาค.Pdf
สอบกลางภาค.Pdfสอบกลางภาค.Pdf
สอบกลางภาค.Pdfkokiplus
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาJiranan Thongrit
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาJiranan Thongrit
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Hm Thanachot
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
นาวสาว หัทยา
นาวสาว   หัทยานาวสาว   หัทยา
นาวสาว หัทยาJiJee Pj
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคDai Punyawat
 

Similaire à Language (20)

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
work
workwork
work
 
Work
WorkWork
Work
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
content1
content1content1
content1
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
สอบกลางภาค.Pdf
สอบกลางภาค.Pdfสอบกลางภาค.Pdf
สอบกลางภาค.Pdf
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
Introprogramphp
IntroprogramphpIntroprogramphp
Introprogramphp
 
Intro program php
Intro program phpIntro program php
Intro program php
 
นาวสาว หัทยา
นาวสาว   หัทยานาวสาว   หัทยา
นาวสาว หัทยา
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Summer test
Summer testSummer test
Summer test
 

Plus de monchai chaiprakarn

Plus de monchai chaiprakarn (6)

ผลการเรียน ม4
ผลการเรียน ม4ผลการเรียน ม4
ผลการเรียน ม4
 
Updateweb kru
Updateweb kruUpdateweb kru
Updateweb kru
 
Webrd2
Webrd2Webrd2
Webrd2
 
วั
วัวั
วั
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
การละเล่นของไทย
การละเล่นของไทยการละเล่นของไทย
การละเล่นของไทย
 

Language

  • 2. Page 2 ภาษาคอมพิวเตอร์ เราใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาอื่นๆ อีกมากเพื่อสื่อสารระหว่างมนุษย์ ภาษามนุษย์ที่ใช้กันก็มีกฎเกณฑ์ของภาษามีโครงสร้างที่แน่นอน ผู้คิดค้นคอมพิวเตอร์ได้นำความรู้ด้านภาษาที่มนุษย์ใช้มาคิดค้นใช้กับคอมพิวเตอร์ จึงเกิดภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) ซึ่งถือว่าเป็นภาษาประดิษฐ์ (Artificial Language) ที่รวบรวมคำสั่งเฉพาะสำหรับการประมวลผลของคอมพิวเตอร์
  • 3. Page 3 ภาษาเครื่องและล่ามแปลภาษา ภาษาเครื่อง (Machine Language) คือภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ โดยมีโครงสร้าง พื้นฐาน เป็นเลขฐานสอง แต่การสื่อสารระหว่างมนุษย์และเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงจึงเป็นไปได้ด้วยความยากลำบาก มนุษย์จึงพยายามสร้างเครื่องมือที่จะมาช่วยในการแปลภาษาที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย เครื่องมือดังกล่าวเรียกว่าล่ามแปลภาษา (Language Translator)
  • 4. Page 4 ล่ามแปลภาษา (Language Translator) คำสั่งที่มนุษย์สร้างขึ้นหรือเขียนขึ้นมา จะเรียกว่า (Source Code) เมื่อนำ Source Code มาผ่านกระบวนการแปลภาษาของล่ามแปลภาษา ก็จะได้เป็น Object Code และผ่านขั้นตอนอีกเล็กน้อยก็จะได้เป็นภาษาเครื่อง (Machine Language) Source Code Lang Translator Object Code
  • 5. Page 5 การทำงาน/ประเภทของล่ามแปลภาษา Source Code Lang Translator Object Code Link Compiler Interpreter .EXE .COM ใช้ Runtime ไม่ใช้ Runtime
  • 6. Page 6 สามารถแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค   ภาษาเครื่อง (Machine Language)    ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)    ภาษาชั้นสูง (High - level Language)    ภาษาชั้นสูงมาก (Very High - level Language)    ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ภาษาคอมพิวเตอร์
  • 7. Page 7 ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษายุคที่ 1ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาเครื่อง (Machine Language) ใช้อักขระ 0 และ 1 ลักษณะของภาษาเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์แต่ละระบบ รูปของรหัสของระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วย เลข 0 และเลข 1 ที่นำมาเขียนเรียงติดต่อกัน
  • 8. Page 8 ภาษายุคที่ 2ภาษาระดับต่ำแอสเซมบลี (Assembly Language) ภาษาสัญลักษณ์และภาษาแอสแซมลี (Symbolic and Assembly) ผู้พัฒนาโปรแกรมต้องทราบขั้นตอนการทำงานภายในตัวประมวลผลโดยละเอียด ภาษาที่ใช้มีมากเท่ากับจำนวนตัวประมวลผลที่มีชุดของคำสั่ง (Instruction set) ตัวอย่างเช่นมีการใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้ A ย่อมาจาก ADD หมายถึงการบวกS ย่อมาจาก SUBTRACT หมายถึงการลบC ย่อมาจาก COMPLARE หมายถึงการเปรียบเทียบMP ย่อมาจาก MULTIPLY หมายถึงการคูณ ภาษาคอมพิวเตอร์
  • 9. Page 9 ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษายุคที่ 3 ภาษาระดับสูง    การพัฒนาภาษาเขียนโปรแกรม (Programming Language) จอห์น เบคัส (1954) ภาษา FORTRAN CODASYL (1962) ภาษา COBOL ซูริค (1958-60) ภาษา ALGOL จอห์น เคมเมนี และ ธอมัส เดิรตส์ ม.ดาร์ทเมิร์ท ภาษา BASIC มีคอมไพเลอร์ (Compiler) จะทำการแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องทีเดียว การแปลนี้จะเป็นการตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษา อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นตัวแปลภาษาอีกตัวหนึ่งที่จะทำการแปลโปรแกรมภาษาชั้นสูงทีละคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่องและทำการเอ็กซ์วีคิวท์หรือทำงานคำสั่งนั้นทันทีทันใดเลยก่อนที่จะไปทำการแปลต่อในบรรทัดถัดไป
  • 10. Page 10 ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษายุคที่ 4 ภาษาชั้นสูงมาก (Very high - Level Language) ภาษารุ่นที่ 4 เป็นการระบุผลลัพธ์ที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ได้ระบุขั้นตอน (Non-procedural language) ภาษาสอบถาม (Query Language) ออกแบบสำหรับใช้ในการสืบค้นข้อมูล เช่น SQL (Structure Query Language) โดย อี. เอฟ. คอดด์ ตัวสร้างโปรแกรม (Program Generator) ใช้สร้างโปรแกรมภาษาเป็นภาษารุ่นที่ 3 จากคำสั่งง่าย ๆ มักทำงานร่วมกับโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลและมีส่วนที่กำหนดลักษณะจอภาพด้วย
  • 11. Page 11 ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษายุคที่ 5 ภาษาธรรมชาติ    ภาษารุ่นที่ 5 เป็นการระบุผลลัพธ์ที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ได้ระบุขั้นตอน (Non-procedural language) ภาษาธรรมชาตินี้ ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ซึ่งเป็นงานที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence) เช่น การแพทย์ พยากรณ์อากาศ การวิเคราะห์ทางเคมี การลงทุน ฯลฯ จะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจำนวนมหาศาลและให้ผู้ใช้สามารถใช้ภาษาธรรมชาติในการดึงข้อมูลจากฐานความรู้นี้ได้ ดังนั้นเราจึงอาจเรียกระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้อีกอย่างว่าเป็น ระบบฐานความรู้ (Knowledge Base System)