SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
-1-


                                            โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒
เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 30244)                                            เรื่อง ระบบสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
ผู้สอน ครูน้าทิพย์ เที่ยงตรง                                                                  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
       ---------------------------------------------------------------------------------------
                                                     ระบบสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
                                                   (Reproduction and Development)
          การสืบพันธุ์ หมายถึง การกาเนิดสมาชิกใหม่แก่ประชากรพร้อมกับการถ่ายทอด gene หรือลักษณะทางพันธุกรรมไปด้วย
เพื่อดารงเผ่าพันธุ์ไม่ให้สูญหายไปจากโลก ซึ่งในบทเรียนนี้จะกล่าวถึงการสืบพันธุ์ของสัตว์
การสืบพันธุ์ของสัตว์
          การสืบพันธุ์ของสัตว์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) และการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction)
          1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) การสืบพันธุ์แบบนี้จะได้ลู กจากการแบ่งเซลล์แบบไมโตซีส
(mitosis) ลักษณะทางพันธุกรรมของลูกเหมือนพ่อแม่ทุกประการ มักพบในสัตว์จาพวกไม่มีกระดูกสันหลัง ซึ่งสามารถแบ่งออกได้หลาย
แบบ เช่น การแตกหน่อ (budding) ไบนารีฟิสชัน (Binary fission) แฟรกแมนเทชัน (fragmentation) การงอกใหม่
(regeneration) พาร์ทีโนจีนีซีส (parthenogenesis)
          2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่มีการรวมตัวระหว่างนิวเคลียสของเซลล์สืบพันธุ์
เพศผู้(male gamete)           หรืออสุจิ (sperm) กับนิวเคลียสของเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (female gamete) หรือไข่ (egg) ซึ่งได้จากการ
แบ่งเซลล์แบบไมโอซิส การรวมตัวของนิวเคลียสดังกล่าวเรียกว่า การปฏิสนธิ(fertilization)
          การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์จะมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียจะสร้างในรังไข่ เพศผู้สร้างอสุจิใน
อัณฑะ เมื่อนิวเคลียสของไข่และอสุจิผสมกันจะเกิดการปฏิสนธิ ซึ่งการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ
                2.1 กลุ่มที่มีอวัยวะสืบพันธุ์ทั้งเพศอยู่ในตัวเดียวกัน หรือสัตว์ที่เป็นกะเทย
                                                                                          (hermaphrodite) มีการปฏิสนธิ 2 แบบ คือ
                    2.1.1 การปฏิสนธิในตัวเอง (self fertilization) การเจริญของเซลล์สืบพันธุ์ทั้ง 2 ชนิดของสัตว์พวกนี้จะพร้อมกัน จึง
สามารถปฏิสนธิในตัวเองได้ เช่น พยาธิตัวตืด
                    2.1.2 การปฏิสนธิข้ามตัว (cross fertilization) การเจริญของเซลล์สืบพันธุ์ทั้ง 2 ชนิดของสัตว์พวกนี้จะไม่พร้อมกัน
จึงมีการปฏิสนธิข้ามตัว เช่น พลานาเรีย ไส้เดือน
                2.2 กลุ่มที่มีอวัยวะสืบพันธุ์อยู่แยกเพศผู้เพศเมียกัน มักพบในสัตว์ชั้นสูง มีการแยกเพศให้เห็นกันอย่างชัดเจนต่างจาก
ไฮดราหรือไส้เดือนดินที่มีสองเพศอยู่ในตัวเดียวกัน สาหรับตัวผู้มักจะมีสีสูดฉาด หรือสีเข้มกว่าตัวเมีย หรือมีเสียงร้องไพเราะกว่า เพราะ
จะเป็นฝ่ายดึงดูดให้ตัวเมียเข้าหา ซึ่งมักเป็นไปในทางตรงข้ามกับมนุษย์ ซึ่งมีการปฏิสนธิอยู่ 2 ประเภท
                    2.2.1 การปฏิสนธิภายนอก (external fertilization)
                    2.2.2 การปฏิสนธิภายใน (internal fertilization)
           --------------------------------------------------------------------------------
-2-
                                    การสืบพันธุ์ของมนุษย์
           การสืบพันธุ์ของมนุษย์เป็นแบบอาศัยเพศ โครงสร้างของระบบสืบพันธุ์ซับซ้อน
การสืบพันธุ์ไม่เป็นไปตามฤดูกาลเหมือนสัตว์ชนิดอื่น มีกลไกในร่างกายควบคุมระบบการ
สืบพันธุ์ ซึ่งกลไกนี้เกี่ยวข้องกับระบบฮอร์โมนหลายชนิด
           โครงสร้างของระบบสืบพันธุ์ เพศชาย (reproduction anatomy of the
human male) ได้แก่ส่วนที่อยู่ด้านนอก คือถุงอัณฑะ (scrotum) เพนิส (penis) และ
ส่วนที่อยู่ด้านในได้แก่ อัณฑะ (testes) ต่อม (accessory glands) และท่อต่าง ๆ
(associate ducts)
                                                                                          ภาพแสดงอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย

             อัณฑะเป็นโครงสร้างที่เจริญและพัฒนาอยู่ในช่องท้องของทารก ก่อนคลอดประมาณ 2 เดือน อัณฑะจะถูกดันจากช่ องท้อง
ให้เข้าไปอยู่ในถุงอัณฑะนอกร่างกาย เนื่องจากภายในช่องท้องมีอุณหภูมิไม่เหมาะสมต่อการเจริญและพัฒนาของสเปิร์ม ในกรณีที่อัณฑะ
ออกมาไม่ได้ ในที่สุดชายคนนั้นจะเป็นหมัน ถุงอัณฑะมีลักษณะยื่นออกมานอกช่องท้องและมีช่องทางติดต่อกับช่องท้อง เรียกว่า ช่อง
อินกวัยนอล (inguinal canals) ซึ่งเป็นช่องที่ค่อนข้างเปราะบาง การยกของหนักเกินไปอาจมีผลทาให้เยื่อที่คลุมอยู่ฉีกขาด ทาให้ลาไส้
บางส่วนไหลไปอุดบริเวณปากถุงอัณฑะ ซึ่งเรียกอาการที่เกิดขึ้นว่า ไส้เลื่อน (ingunial hernia)




                                          ภาพแสดงส่วนประกอบขององคชาติ และอัณฑะ

               ภายในอัณฑะประกอบด้วยท่อขนาดเล็กม้วนขดอยู่ภายใน
เรียกว่า ท่อเซมินิเฟอรัสทิวบูล (seminiferous tubules) ทาหน้าที่สร้าง
เสปิร์ม ซึ่งจะต้องผ่านก ระบวนการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์ หรือสเปอร์มาโทเจีนี
ซิส (spermatogenesis) ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างเซลล์สืบพัน ธุ์เมื่อเพศ
ชายเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์
               สเปิร์ม     ประกอบด้วย 3
ส่วน คือ หัว (head)          คอ และลาตัว
(midpiece) หาง (flagellum) โดยส่วนหัว
ภายในบรรจุไว้ด้วยนิวเคลียสและปลายสุด
ของหัวถูกห่อหุ้มไว้ด้วย อะโครโซม
(acrosome) ซึ่งบรรจุเอนไซม์สาหรับเข้า
เจาะไข่
-3-
               ส่วนท้ายสุดของท่อในองคชาติ (penis) เรียกท่อฉีดน้าอสุจิ (ejaculatory duct) มีกล้ามเนื้อแข็งแรง ดังนั้นเมื่อหดตัวจะ
ดันให้ตัวอสุจิและน้าเมือกเรียกว่า น้าอสุจิ (semen) ผ่านไปในท่อขององคชาต (urethra) และออกสู่ภายนอกตรงปลายองคชาติ บริเวณ
ท่อที่ตัวอสุจิผ่านไปก่อนถึงองคชาตจะมีต่อมต่าง ๆ
               จะเห็นได้ว่าในระบบสืบพันธุ์เพศชายมีต่อมชนิดต่าง ๆทาหน้าที่หลั่งของเหลวเข้าร่วมกับสเปิร์ม ได้เป็น semen ซึ่งในการ
หลั่งแต่ละครั้ง semen มีปริมาตรประมาณ 3.5 มิลลิลิตร และประกอบด้วยสเปิร์มประมาณ 400 ล้านเซลล์ ต่อมต่าง ๆ เหล่านี้ได้แก่
          1. อัณฑะ (Testis) ทา หน้าที่สร้างอสุจิ (sperm)
          2. หลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubule) ทา หน้าที่สร้างอสุจิไปเก็บที่ epididymis
          3. ท่อนา อสุจิ (vas deferens) ทางเดินของอสุจิ
          4. ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (seminal vesicle) สร้าง seminal fluid ประกอบด้วยน้าตาลฟรุกโตสโปรตีนพวก globulin และ
วิตามินซี
          5. ต่อมลูกหมาก (Prostate gland) สร้างสารมีฤทธิ์เป็นด่างอ่อนทา ลายกรดในปัสสาวะ และสร้างสารที่ทา ให้อสุจิแข็งแรง
และว่องไว
          6. ต่อมคาวเปอร์ (cowper’s gland) มี 2 ต่อม อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก ทา หน้าที่สร้างสารไปหล่อลื่นท่อปัสสาวะ
               ภาวะการเป็นหมันของเพศชายมีสาเหตุหลักอยู่ที่ปริมาณการผลิตสเปิร์มออกมาต่ากว่าระดับปกติ เช่นชายมีสเปิร์มต่ากว่า
35 ล้านเซลล์ต่อซีซี จัดว่าอยู่ในขั้นผิดปกติ ถ้าน้อยกว่า 30 ล้านเซลล์ต่อซีซี ถือว่าเป็นหมัน

            โครงสร้างของระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female reproduction)
ระบบสืบพันธุ์ของเพศหญิง มีความซับซ้อนกว่าของเพศชาย เพราะประกอบด้วยโครงสร้าง
สาหรับสร้างเซลล์สืบพันธุ์หรือ เซลล์ไข่ (immature gamete) รองรับสเปิร์ม สร้างฮอร์โมน
เพศและเป็นที่ฝังตัวเพื่อการเจริญ และพัฒนาของตัวอ่อน โครงสร้างที่ทาหน้าที่ดังกล่าว
ได้แก่     รังไข่ (ovaries) โครงสร้างนี้ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนและเซลล์สืบพันธุ์หรือไข่
กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ หรือไข่ (oogenesis) เกิดขึ้นที่นี่
          กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์หรือไข่ เริ่มจากเซลล์ที่จะเจริญไปเป็นเซลล์สืบพันธุ์หรือ
เรียกว่า โอโอโกเนีย (oogonia) จากการศึกษาพบว่าโอโอโกเนียนี้มีในรังไข่ของทารกหญิง
ก่อนคลอดเป็นจานวนมากและไปเป็นโอโอไซต์ ขั้นที่หนึ่ง (primary oocyte) เมื่อถึงเวลา
ใกล้คลอดจะเจริญและพัฒนาเป็นโอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง ระยะโพรเฟส I (prophase I) และจะ
หยุดอยู่ในระยะนี้จนกระทั่ง ทารกเพศหญิงเจริญเข้าสู่วัยรุ่น
-4-
              ขณะที่ฟอลลิเคิลเข้าสู่ระยะมาทัว (mature) จะเคลื่อนที่เข้าใกล้ผนังรังไข่รูปร่างคล้ายถุงน้า เซลล์ของฟอลลิเคิลจะหลังเอ็ม
ไซม์โพทิโอไลติก ( proteolytic enzyme) ย่อยผนังรังไข่ทาให้ โอโอไซต์ ขั้นที่สอง ผ่านผนังรังไข่ออกเข้าสู่ช่องท้อง ฟอลลิ เคิลที่
เหลืออยู่ในรังไข่จะเจริญและพัฒนาเป็นคอร์พัสลูเทียม (corpus luteum)
              ฮอร์โมน FSH เป็นตัวกระตุ้นให้ฟอลลิเคิลเจริญและขยายขนาดขึ้นได้ และเมื่อฟอลลิเคิลเจริญขึ้นจะสร้างและหลั่งฮอร์โมน
เอสโทรเจน (estrogen) ส่วนคอร์พัสลูเทียมสร้างและหลั่งเอสโทรเจน (estrogen) และโพรเจสเทอโรน (progesterone) ซึ่งมีหน้าที่
ควบคุมลักษณะขั้นที่สองของเพศหญิง ได้แก่ การมีเสียงแหลม นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับการเจริญของมดลูก การมีประจาเดือน
          1. รังไข่ (ovary) ทา หน้าที่สร้างไข่ และสร้างฮอร์โมน
          2. มดลูก (uterus) เป็นบริเวณที่เจริญเติบโตของทารก
          3. ท่อนา ไข่ (ปีกมดลูก) (fallopian tube or uterine tube) เป็นบริเวณที่ผสมของไข่กับอสุจิ
          4. ช่องคลอด (vagina) เป็นท่อกล้ามเนื้อยืดหยุ่น เชื่อมต่อระหว่างมดลูกและระบบสืบพันธุ์ด้านนอก ทาหน้าที่รองรับสเปิร์ม
และคลอดทารก
          การทางานของฮอร์โมนในระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
(hormone regulates reproduction) ฮอร์โมนควบคุม
การทางานในระบบสืบพันธุ์เพศหญิงมีความซับซ้อนกว่า
ที่เกิดในเพศชาย ประกอบด้วยฮอร์โมนที่สาคัญอย่างน้อย
5 ชนิด ที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันในวงจร
ประจาเดือนและวงจรไข่ (ovarian cycle)
        กลไกการ ทางานของฮอร์โมนแบ่งออกเป็น 2 แบบ
คือ กลไกสนองกลับแบบกระตุ้นและกลไกสนองกลับแบบ
ยับยั้ง การทางานที่ประสานกันของฮอร์โมน คือ ในแต่ละ
เดือนขณะที่มีการเจริญเติบโตของฟอลลิเคิลและตกไข่นั้น
ส่วนของผนังมดลูกได้มีการเตรียมพร้อมสาหรับการฝังตัวของ
เอ็มบริโอไปพร้อมกัน
        การ มีประจาเดือนของเพศหญิงเริ่มตั้งแต่ย่างเข้าสู่
วัยรุ่น จนถึงวัยอายุประมาณ 50 ปี วงจรประจาเดือนเกิด
ทุกๆ 28 วัน วันแรกของวงจรคือวันที่มีประจาเดือนไหล
ออกมาจากช่องคลอด ส่วนการตกไข่จะเริ่มจากวันที่ 14 ของวงจรประจาเดือน โดยฮอร์โมนจาก ไฮโพทาลามัส ต่อมใต้สมองส่วนห น้า
และจากรังไข่ จะทาหน้าที่ควบคุมวงจรประจาเดือน
การคุมกาเนิด (contraception)
             การคุมกาเนิดเป็นวิธีป้องกันการตั้งครรภ์สาหรับหญิงที่ไม่พร้อมจะมีบุตร การคุมกาเนิดมีหลายวิธีให้เลือกใช้ตามความ
เหมาะสม แบ่งออกเป็น 3 วิธีใหญ่ๆ คือ การป้องกันการเกิดปฏิสนธิ (prevent sperm and egg from meeting) การป้องกันการฝัง
ตัวของตัวอ่อน (pervent implantation) และการยับยั้งการตกไข่และสเปิร์ม (prevent release of gamete)
             1. การป้องกันการปฏิสนธิ (prevent sperm and egg from meeting)
                  1.1 การคุมกาเนิดแบบนับวัน (rhythm method) เป็นวิธีการหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ในช่วงไข่ตก จากการศึกษา
พบว่าไข่ที่ตกออกมาสามารถมีชีวิตอยู่ในท่อนาไข่ได้นาน 24 ถึง 48 ชั่วโมง ส่วนสเปิร์มอยู่ในท่อนาไข่ได้นานถึง 72 ชั่วโมง ดังนั้น
การคุมกาเนิดโดยวิธีนี้จึงควรหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ในช่วง 7 วันก่อนและหลังไข่ตก ประสิทธิภาพของการคุมกาเนิดด้วยวิธีการ
นี้ต้องใช้ควบคู่ไปกับความรู้เรื่องการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในร่างกาย การเปลี่ยนแปลงของเมือกในช่องคลอด เป็นต้น อัตราการ
ตั้งครรภ์จากการคุมกาเนิดแบบนับวัน คือ 10 ถึง 20 เปอร์เซ็นต์
-5-
                    1.2 การใช้ถุงยางอนามัย (condoms method) เป็นกลไกคุมกาเนิดที่ใช้กับฝ่ายชายเป็นวิธีป้องกันสเปิร์มเข้าไปใน
ระยะสืบพันธุ์ของเพศหญิงข้อดีของวิธีการใช้ถุงยางอนามัยนอกจากใช้คุมกาเนิดแล้วและวิธีนี้ยังสามารถป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์ได้
                    1.3 การใช้ไดอะแฟรม (diaphragm) เป็นวิธการคุมกาเนิดโดยใช้ฝาครอบปากมดลูก เพื่อป้องกันการเข้าไปปฏิสนธิ
                                                              ี
ของสเปิร์ม การคุมกาเนิดโดยวิธีนี้ก่อนใช้มักจะทาครีมลงบนไดอะแฟรมเพื่อฆ่าสเปิร์ม อัตราการตั้งครรภ์โดยวิธีการใช้ถุงยางอนามัยและ
การใช้ไดอะแฟรม น้อยกว่า 10 เปอร์เซ็นต์
                    1.4 การหลั่งภายนอก (withdrawal method) วิธีคุมกาเนิดโดยฝ่ายชายจะหลั่ง                  ซีเมนภานนอกระบบ
สืบพันธุ์เพศหญิง การคุมกาเนิดด้วยวิธีนี้พบว่าโอกาสในการตั้งครรภ์มีสูงถึง 22 เปอร์เซ็นต์
                    1.5 การทาหมันถาวร (sterilization) การคุมกาเนิดแบบถาวร เป็นวิธีการคุมกาเนิดที่นิยมอย่างแพร่หลายในสตรีที่มี
อายุเกิน 30 ปี อัตราการตั้งครรภ์ 0.15 เปอร์เซ็นต์ การคุมกาเนิดแบบถาวรมี 2 ประเภท
                     1.5.1 การทาหมันหญิง (tubal ligation) โดยการตัดท่อนาไข่ แล้วผูกปลายแต่
ละส่วนที่ตัดออก วิธีนี้เพศหญิง 1 ใน 4 เลือกใช้
                     1.5.2 การทาหมันชาย (vasectomy) โดยการตัด ท่อนาสเปิร์มหรือวาสดิเฟรนส์
แล้วผูกปลายแต่ละส่วนที่ถูกตัดออกเพื่อยับยั้งการเคลื่อนที่ของสเปิร์มออกนอกร่างกาย ไม่มี
ผลข้างเคียงเกิดขึ้น การผลิตสเปิร์มปกติ แต่อาจช้าลงและถูกเซลล์เม็ดเลือดขาวจับกิน
              2. การป้องกันการฝังตัวของตัวอ่อน (pervent implantation)
                เป็นวิธีการคุมกาเนิดโดยวิธีการใส่ห่วง (intrauterine device หรือ IUD) ซึ่งเป็น
                                                                                                      ภาพแสดงการทาหมันชาย
พลาสติกรูปกลมหรือโค้งขนาดเล็ก สอดเข้าไปในมดลูกโดยแพทย์ผู้ชานาญ การใส่ครั้งหนึ่งอาจทิ้ง
ไว้ได้นานถึง 10 ปี หรือจนต้องการมีบุตร ข้อเสียของการคุมกาเนิดแบบใส่ห่วงคือ เลือดไหลกระปิดก ระปอยและเป็นลิ่ม เสี่ยงต่อการ
อักเสบของมดลูก ปัจจุบันไม่เป็นที่นิยมใช้
              3. การยับยั้งการตกไข่และสเปิร์ม (prevent release of gamete)
                   เป็นการคุมกาเนิดโดยการใช้ฮอร์โมน เป็นการป้องกันการตกไข่ มีหลายประเภทให้เลือกใช้ เช่น รับประทานยา
คุมกาเนิด (oral pill) การฉีดยาคุมกาเนิด (DMPA หรือ Depo-Provera) การฝังแคปซูลใต้ผิวหนัง (norplant)
                   3.1 รับประทานยาเม็ดคุมกาเนิด เป็นการป้องกันการตกไข่ ยาเม็ดคุมกาเนิดเป็นยาที่ประกอบด้วยฮอร์โมน 2 ชนิด
คือ ฮอร์โมนโพรเจสติน (โพรเจสเทอโรนสังเคราะห์) และเอสโทรเจน(เอสโทรเจนสังเคราะห์ ) ซึ่งมีผลไปยับยั้งการหลั่ง LH และ FSH
วิธีการใช้ คือรับประทานครั้งละ 1 เม็ดเป็นเวลา 3 สัปดาห์แล้วหยุด สัปดาห์ต่อไปจะเว้นการรับประทาน แต่บางบริษัทจะให้
รับประทานน้าตาลหรือวิตามินอัดเม็ดโดยไม่มีการเว้น หลังจากนั้นเมื่อขาดฮอร์โมนประจาเดือนจะไหล
                    3.2 การคุ มกาเนิดแบบฉุกเฉิน (emergency contraception) ใช้หลังการมีเพศสัมพันธ์ ภายใน 72 ชั่วโมง
แพทย์ให้ใช้สาหรับสตรีที่ถูกข่มขืนและกรณีอื่นๆ ที่ไม่สามารถป้องกันได้ในขณะมีเพศสัมพันธ์ได้
                   3.3 การฉีดยาคุมกาเนิด เป็นการป้องกันการตกไข่ได้อีกวิธี หนึ่ง เป็นการฉีดฮอร์โม นโพรเจสติน ฮอร์โมนนี้ออกฤทธิ์
โดยกดการทางานของต่อมใต้สมองส่วนหน้า วิธีใช้ คือฉีดเข้ากล้ามเนื้อของสตรีที่ต้องการคุมกาเนิดทุก ๆ 3 เดือน
                   3.4 การฝังแคปซูลเข้าใต้ผิวหนัง เป็นการฝังฮอร์โมนโพรเจสตินที่เป็นแคปซูลบริเวณใต้ท้องแขนฮอร์โมนนี้จะถูกปล่อย
ออกจากแคปซูลแ ต่น้อย ๆ อย่างต่อเนื่องในกระแสเลือด ไปมีผลยับยั้งการตกไข่และกระตุ้นการหลั่งเมือกเหนียวในช่องคลอด การฝัง
แคปซูลนี้จะอยู่ได้ 5 ปี แต่มีผลข้างเคียงสาหรับผู้ใช้ คือ การมีประจาเดือนกระปิดกระปอยอาจนานถึง 1 ปี
              4. การแท้ง (abortion) หมายถึง ภาวะสิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อนถึงกาหนดคลอดตามปกติ เนื่องจากการตายของตัวอ่อนหรือ
ทารก การทาแท้งแบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ การแท้งเอง การทาแท้งเพื่อการรักษา การทาแท้งเพื่อการคุมกาเนิด
        --------------------------------------------------------------------------------------
-6-
                                                “การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต”

        กระบวนการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต ประกอบด้วย
        - การเพิ่มจา นวนเซลล์
        - การเพิ่มขนาดของเซลล์
        - การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของกลุ่มเซลล์ เพื่อทา หน้าที่เฉพาะอย่าง
        การวัดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต มีหลายวิธี คือ
        1. การหามวลของสิ่งมีชีวิตที่เปลี่ยนไป
        2. การนับจา นวนเซลล์
        3. การวัดความสูง
        4. การชั่งน้าหนัก
        5. การนับจา นวนโครงสร้างที่เพิ่มขึ้น
        การเจริญเติบโตของสัตว์ชั้นสูง
         Embryo Zygote ที่เจริญภายในเยื่อหุ้ม หรือภายในท้องแม่
         Embryo ของไก่ ระยะที่ไก่มีการเจริญตั้งแต่ Zygote ลูกไก่
         Embryo ของกบ ระยะที่กบเจริญภายในวุ้น จนกระทั่งฟักเป็นลูกอ๊อด
         Embryo ของคน ระยะเวลาตั้งแต่ Zygote ทารกแรกเกิด
         Fetus Embryo ที่มีอวัยวะต่าง ๆ ครบ แต่ยังอยู่ในท้องแม่ (อายุ 8 สัปดาห์)
         Aminion ถุงน้าคร่า สา หรับป้องกันการกระทบกระเทือนให้ทารก
         Allantois ถุงที่เจริญจากตัว embryo แทรกไปชิดกับเปลือกไข่ มีเส้นเลือดมาดใช้สา หรับแลกเปลี่ยนก๊าซกับบรรยากาศ
            เก็บของเสีย (ยูริค)
         Clevage ระยะที่ embryo มีการแบ่งเซลล์ ได้เซลล์จา นวนมากติดกัน รูปร่างคล้ายน้อยหน่า
         Placent (รก) บริเวณที่ติดต่อกับแม่ รับอาหารแลกเปลี่ยนก๊าซ
         Umbilical cord (สายสะดือ) หุ้มรอบเส้นเลือดใหญ่ ติดต่อระหว่างรกกับ embryo
         Metamorphosis การเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเป็นขั้น ๆ
         Complete metamorphosis เปลี่ยนครบ 4 ขั้น Egg – larva – pupa – adult เช่น ผีเสื้อ, ยุง, แมลงวัน, ด้วง,
            ผีเสื้อไหม
         Incomplete metamorphosis เปลี่ยนไม่ครบ 4 ขั้น เช่น ตั๊กแตน (ตัวอ่อนไม่มีปีก ตัวเต็มวัยมีปีก), แมลงปอ,
            แมลงสาบ, จิ้งหรีด, แมลงดานา
         Ametamorphosis ไม่มี metamorphosis เช่น แมลงหางดีด, ตัวสามง่าม

    การเจริญระยะเอ็มบริโอของมนุษย์
         การศึกษาพัฒนาการของตัวอ่อนนั้นทาให้เรารู้จักความเป็นมาของชีวิตและการเจริญเติบโตจนกระทั่งคลอด วงจรชีวิตเริ่มต้นตั้งแต่
การปฏิสนธิจน กระทั้งตายไป แบ่งออกเป็น 2 ช่วงใหญ่ๆคือ ช่วงชีวิตก่อนคลอด (prenatal life) มีหลายระยะเช่น preembryo,
embryo, fetus และช่วงชีวิตหลังคลอด (postnatal life) มีหลายระยะเช่น infancy or babyhood, neonate childhood,
puberty , aldolescens และระยะสุดท้ายคือ adulthood
         การศึกษาเอ็มบริโอนั้นเราจะต้องรู้คาศัพท์ที่ใช้เรียกทิศทางและแนวการตัดของตัวอ่อน เช่น cranial (superior) หมายถึงส่วน
หัว caudal (inferior) หมายถึงส่วนท้าย ventral (anterior) หมายถึงส่วนล่าง และ dorsal (posterior) หมายถึงส่วนบน
-7-
          Embryo หมายถึง ตัวอ่อนตั้งแต่ระยะสัปดาห์ที่ 2 ของการเจริญจนถึงปลายสัปดาห์ที่ 8 ระยะนี้ตัวอ่อนมีอวัยวะครบแล้ว
          Fetus หรือทารก หมายถึง ตัวอ่อนระยะตั้งแต่สัปดาห์ที่ 9 จนถึงคลอด ระยะนี้จะมีการเจริญเปลี่ยนแปลง (differention)
ของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆที่เกิดในระยะ embryo
          การปฏิสนธิและการฝังตัว
                 การตั้งครรภ์นั้นเป็นคารวมของ การปฏิสนธิ (fertilization) การฝังตัว (implantation) การพัฒนาของตัวอ่อน
(embryonic development) และการเจริญของทารก (fetal growth) รวมทั้งการปฏิสนธิภายในหลอดแก้ว ฮอร์โมนระหว่างการ
ตั้งครรภ์ และการวินิจฉัยหาความผิดปกติต่าง ๆ
                  การปฏิสนธิเกิดภายใน 12 – 24 ชั่วโมงหลังการตกไข่ ปกติจะเกิดที่แอมพูล่าของท่อนาไข่ แล้วฝังตัวตรงกลางของ
มดลูก (intrauterine site) แต่ฝังตัวผิดตาแหน่ง เช่น ในช่องท้อง ท่อนาไข่ ปากมดลูก หรือรังไข่ เกิดการท้องนอกมดลูก (ectopic
pregnancy) จะมีผลให้เกิดการตกเลือด (humorrhage) ระหว่างแปดสัปดาห์แรกและการเสียชีวิตของตัวอ่อน
               ผลของการปฏิสนธิ จะได้โครโมโซม 2n เกิดการแปรผันของสปีชีส์ซึ่งมาจากพ่อและแม่อย่างละครึ่ง เกิดเพศของไซโกต
และเกิดการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสที่เป็นการเริ่มต้นของคลีเวจ

            การเจริญขั้นต้นของตัวอ่อนมนุษย์
            การเจริญของสัตว์อาศัยการเปลี่ยนแปลงเป็นขั้นๆมีแบบแผนแน่นอน
กระบวนการเจริญจะต้องมีการเพิ่มจานวน (cell multiplication) โดยแบ่งเซลล์
แบบไมโทซิส การเติบโต (growth) โดยการเพิ่มปริมาณโพรโตพลาสซึม
การเปลี่ยนโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์เพื่อทาหน้าที่เฉพาะ (cell
differentiation) และการเกิดรูปร่างที่แน่นอน (morphogenesis) การเจริญของ
สิ่งมีชีวิตที่เริ่มตั้งแต่ ไซโกตแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว แล้วมี differentiation
จนถึงระยะที่มีอวัยวะต่างๆ ครบเรียกว่า embryonic development
            ภายหลังจากที่มีการปฏิสนธิของไข่และอสุจิคือ male and female pronuclei เคลื่อนที่มาผสมกันเกิดเป็น zygote และจะ
เกิด cleavage แบ่งเซลล์แบบ holoblastic equal type จนได้ตัวอ่อนที่เรียกว่า morula จากนั้นเข้าสู่ระยะ blastula เกิดช่อง
blastocyst cavity (blastocoel)
                   การเจริญในช่วงสัปดาห์แรก
                       ประมาณวันที่ 7 หลังจากปฏิสนธิ เอ็มบริโอจะสร้างถุงคอเรียนล้อมรอบเอ็มบริโอ และมีบางส่วนยื่นเป็นแขนงเล็ก ๆ
แทรกในเอนโดมีเทียมของมดลูก ซึ่งต่อมาจะพัฒนาเป็นรก ดังนั้นรกจึงประกอบด้วยส่วนของถุงคอเรียนของลูกและเนื้อเยื่อชั้ นเอนโดมี
เทียมของแม่ เอ็มบริโอมีการสร้างถุงน้าคร่าหุ้มตัวเอง ภายในถุงบรรจุของเหลวที่เรียกว่า น้าคร่า เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนและ
ช่วยให้ทารกเคลื่อนไหวอย่างอิสระ และตัวเอ็มบริโอยังมีการสร้างสายสะดือเชื่อมกับรก
                   การเจริญในช่วงสัปดาห์ที่ 2
                       เมื่ออายุได้ 2 สัปดาห์ เอ็มบริโอจะมีความยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตร มีการเจริญเติบโตในระยะแกสทรูลา ทาให้เกิด
เนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ เอกโทเดิร์ม (ectoderm) เมโซเดิร์ม (mesoderm) และ เอนโดเดิร์ม (endoderm) โดยที่เอกโทเดิร์มจะเจริญ
เป็นเยื่อบุผิว เยื่อบุผิวของโพรงจมูก เยื่อ บุผิวที่ทาหน้าที่รับกลิ่น ระบบประสาท เช่น สมอง ไขสันหลัง เลนส์ตา สารเคลือบฟัน และ
เนื้อฟัน เมโซเดิร์มจะเจริญเป็นโนโทคอร์ด (notochord) ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบโครงร่างค้าจุนร่างกาย ชั้นหนังแท้ ระบบ
ขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์ และเอนโดเดิร์มจะเจริญไปเป็นเยื่อบุทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร
                   การเจริญในช่วงสัปดาห์ที่ 3
                   เริ่มปรากฏร่องรอยของระบบอวัยวะ ได้แก่ ระบบประสาท หัวใจ มีลักษณะเป็นท่อ และเริ่มเต้นเป็นจังหวะ ระยะนี้
เอ็มบริโอ มีความยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร หลังจากนั้นเอ็มบริโอจะเริ่มมีอวัยวะต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น
-8-
                การเจริญในช่วงสัปดาห์ที่ 4
                แขนและขาเริ่มปรากฏชัดเจนเมื่ออายุได้ 4 สัปดาห์ อวัยวะต่างๆ จะเจริญเติบโตและมีอวัยวะครบเมื่ออายุได้ 8 สัปดาห์
ซึ่งเป็นระยะสิ้นสุดของเอ็มบริโอ และหลังจากนี้แล้วจะเรียกว่า ฟีตัส




ภาพแสดงการเจริญของเอ็มบริโอช่วงสัปดาห์ที่ 8 (Fetus embryo)                     ภาพแสดงการเจริญของเอ็มบริโอช่วงสัปดาห์ที่ 16

              การเจริญในช่วงสัปดาห์ที่ 8-9
               เมื่ออายุได้ 8-9 สัปดาห์ จะมีนิ้วมือ และนิ้วเท้าเจริญเห็นได้ชัดเจน สามารถบอกเพศได้ ในช่วงเดือนที่ 4-6 ฟีตัสจะมี
ขนาดโตขึ้นเรื่อยๆ มีการเคลื่อนไหวมากขึ้น สามารถรับฟังเสียงจากภายนอกได้ มีการเจริญเติบโตของกระดูก มีผม ขน ฟีตัสในเดือนที่6
จะมีน้าหนักประมาณ 680 กรัม ในช่วง 3 เดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ มีระบบประสาทเจริญมาก
               การนับอายุทารกในครรภ์ อาจนับตาม menstruation age (last normal menstruation period หรือ LPMP) คือ นับ
จากวันแรกของการมีประจาเดือนครั้งสุดท้ายจนกระทั่งคลอดรวม 40 สัปดาห์ หรือนับตาม fertilization age (conception) นับจาก
วันแรกที่ปฏิสนธิจนกระทั้งคลอดรวม 38 สัปดาห์ ช่วงปฏิสนธิจะเกิดก่อนการตกไข่ 4 วัน และหลังจากการตกไข่ 2 วัน
              การคลอด (parturition) เมื่อใกล้คลอดระดับฮอร์โมน progesterone จะลดลงและเพิ่มระดับของ estrogen,
prostagladins, oxytocin และ relaxin กลไกการคลอดเริ่มจากกล้ามเนื้อมดลูกหดตัวเป็นช่วงๆ ปวดบริเวณหลัง ปากช่องคลอดขยาย
การคลอดของทารกแบ่งได้ 3 ขั้นคือ
               1. stage of dilation กล้ามเนื้อมดลูกหดตัว ถุงน้าคร่าแตก ปากช่องคลอดขยายเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 ซม.
               2. stage of expulsion ทารกถูกขับออกมา
               3. placerta stage รกถูกขับออกมา
          การปฏิสนธิภายนอกในกรณีที่คู่สมรสมีปัญหาทาให้มีบุตรยาก ปัจจุบันมีวิธีการช่วยเหลือได้หลายวิธีดังนี้
               1. GIFT หรือ ZIFT = Gamete or Zygote Intrafallopian Transfer เป็นการนาไข่ของเพศหญิงออกมาผสม
กับอสุจิแล้วฉีดเข้าท่อนาไข่ วิธีนี้เพศหญิงต้องมีท่อนนาไข่ดีและสามารถประสบความสาเร็จได้ 30%
               2. IVF หรือ ET = In Vitro Fertilization or Embryo transfer เป็นการนาไข่ของเพศหญิงออกมาผสมกับอสุจิ
แล้วเลี้ยงในตู้อบ 2 วัน จึงนากลับเข้าไปในโพรงมดลูก
               3. ICSI หรือ SUZI = Intracytoplasmic Sperm Injection or Subzonal Sperm Insertion วิธีนี้ใช้ใน
กรณีที่เพศชายมีอสุจิน้อยมาก (oligospermia) หรือคุณภาพของอสุจิไม่ดี จะใช้เข็มแก้วเล็กๆ ดูดอสุจิ 1 ตัวฉีดเข้าไปในไข่ของฝ่ายหญิง
โดยตรง แล้วเลี้ยงในตู้อบจนได้ตัวอ่อนประมาณ 4 – 8 เซลล์จึงนาตัวอ่อนนี้กลับเข้าไปในโพรงมดลูกของฝ่ายหญิง
-9-




      ภาพแสดงส่วนประกอบต่างๆ ของไข่ไก่ และการพัฒนาของเอ็มบริโอหลังปฏิสนธิ 4 วัน




Egg              Cleavage              Morula            Blastula             Glastrula

                    ภาพแสดงการเจริญในระยะต่าง ๆ ของเอ็มบริโอกบ
- 10 -
- 11 -




http://php.med.unsw.edu.au/embryology/index.php?title=Foundations_Lecture_-_Introduction_to_Human_Development
- 12 -




     http://endofthegame.net/2011/11/16/psychology-101-development-i-physical-and-cognitive-development/



แหล่งศึกษาเพิ่มเติม
    1. http://www.cerebral-palsy.net/update2001/fetal.html
    2. http://endofthegame.net/2011/11/16/psychology-101-development-i-physical-and-cognitive-development/
    3. http://php.med.unsw.edu.au/embryology/index.php?title=Foundations_Lecture_-_Introduction_to_Human_Development

Contenu connexe

Tendances

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 

Tendances (20)

ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 

Similaire à ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011

ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์Lilrat Witsawachatkun
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 

Similaire à ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011 (20)

ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
กลุ่ม 1
กลุ่ม 1กลุ่ม 1
กลุ่ม 1
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 

Plus de Namthip Theangtrong

Plus de Namthip Theangtrong (6)

การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
แบบฝึกหัดทบทวนปลายภาค Bio4 2012
แบบฝึกหัดทบทวนปลายภาค Bio4 2012แบบฝึกหัดทบทวนปลายภาค Bio4 2012
แบบฝึกหัดทบทวนปลายภาค Bio4 2012
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 

ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011

  • 1. -1- โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 30244) เรื่อง ระบบสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ผู้สอน ครูน้าทิพย์ เที่ยงตรง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ --------------------------------------------------------------------------------------- ระบบสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (Reproduction and Development) การสืบพันธุ์ หมายถึง การกาเนิดสมาชิกใหม่แก่ประชากรพร้อมกับการถ่ายทอด gene หรือลักษณะทางพันธุกรรมไปด้วย เพื่อดารงเผ่าพันธุ์ไม่ให้สูญหายไปจากโลก ซึ่งในบทเรียนนี้จะกล่าวถึงการสืบพันธุ์ของสัตว์ การสืบพันธุ์ของสัตว์ การสืบพันธุ์ของสัตว์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) และการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) 1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) การสืบพันธุ์แบบนี้จะได้ลู กจากการแบ่งเซลล์แบบไมโตซีส (mitosis) ลักษณะทางพันธุกรรมของลูกเหมือนพ่อแม่ทุกประการ มักพบในสัตว์จาพวกไม่มีกระดูกสันหลัง ซึ่งสามารถแบ่งออกได้หลาย แบบ เช่น การแตกหน่อ (budding) ไบนารีฟิสชัน (Binary fission) แฟรกแมนเทชัน (fragmentation) การงอกใหม่ (regeneration) พาร์ทีโนจีนีซีส (parthenogenesis) 2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่มีการรวมตัวระหว่างนิวเคลียสของเซลล์สืบพันธุ์ เพศผู้(male gamete) หรืออสุจิ (sperm) กับนิวเคลียสของเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (female gamete) หรือไข่ (egg) ซึ่งได้จากการ แบ่งเซลล์แบบไมโอซิส การรวมตัวของนิวเคลียสดังกล่าวเรียกว่า การปฏิสนธิ(fertilization) การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์จะมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียจะสร้างในรังไข่ เพศผู้สร้างอสุจิใน อัณฑะ เมื่อนิวเคลียสของไข่และอสุจิผสมกันจะเกิดการปฏิสนธิ ซึ่งการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ 2.1 กลุ่มที่มีอวัยวะสืบพันธุ์ทั้งเพศอยู่ในตัวเดียวกัน หรือสัตว์ที่เป็นกะเทย (hermaphrodite) มีการปฏิสนธิ 2 แบบ คือ 2.1.1 การปฏิสนธิในตัวเอง (self fertilization) การเจริญของเซลล์สืบพันธุ์ทั้ง 2 ชนิดของสัตว์พวกนี้จะพร้อมกัน จึง สามารถปฏิสนธิในตัวเองได้ เช่น พยาธิตัวตืด 2.1.2 การปฏิสนธิข้ามตัว (cross fertilization) การเจริญของเซลล์สืบพันธุ์ทั้ง 2 ชนิดของสัตว์พวกนี้จะไม่พร้อมกัน จึงมีการปฏิสนธิข้ามตัว เช่น พลานาเรีย ไส้เดือน 2.2 กลุ่มที่มีอวัยวะสืบพันธุ์อยู่แยกเพศผู้เพศเมียกัน มักพบในสัตว์ชั้นสูง มีการแยกเพศให้เห็นกันอย่างชัดเจนต่างจาก ไฮดราหรือไส้เดือนดินที่มีสองเพศอยู่ในตัวเดียวกัน สาหรับตัวผู้มักจะมีสีสูดฉาด หรือสีเข้มกว่าตัวเมีย หรือมีเสียงร้องไพเราะกว่า เพราะ จะเป็นฝ่ายดึงดูดให้ตัวเมียเข้าหา ซึ่งมักเป็นไปในทางตรงข้ามกับมนุษย์ ซึ่งมีการปฏิสนธิอยู่ 2 ประเภท 2.2.1 การปฏิสนธิภายนอก (external fertilization) 2.2.2 การปฏิสนธิภายใน (internal fertilization) --------------------------------------------------------------------------------
  • 2. -2- การสืบพันธุ์ของมนุษย์ การสืบพันธุ์ของมนุษย์เป็นแบบอาศัยเพศ โครงสร้างของระบบสืบพันธุ์ซับซ้อน การสืบพันธุ์ไม่เป็นไปตามฤดูกาลเหมือนสัตว์ชนิดอื่น มีกลไกในร่างกายควบคุมระบบการ สืบพันธุ์ ซึ่งกลไกนี้เกี่ยวข้องกับระบบฮอร์โมนหลายชนิด โครงสร้างของระบบสืบพันธุ์ เพศชาย (reproduction anatomy of the human male) ได้แก่ส่วนที่อยู่ด้านนอก คือถุงอัณฑะ (scrotum) เพนิส (penis) และ ส่วนที่อยู่ด้านในได้แก่ อัณฑะ (testes) ต่อม (accessory glands) และท่อต่าง ๆ (associate ducts) ภาพแสดงอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย อัณฑะเป็นโครงสร้างที่เจริญและพัฒนาอยู่ในช่องท้องของทารก ก่อนคลอดประมาณ 2 เดือน อัณฑะจะถูกดันจากช่ องท้อง ให้เข้าไปอยู่ในถุงอัณฑะนอกร่างกาย เนื่องจากภายในช่องท้องมีอุณหภูมิไม่เหมาะสมต่อการเจริญและพัฒนาของสเปิร์ม ในกรณีที่อัณฑะ ออกมาไม่ได้ ในที่สุดชายคนนั้นจะเป็นหมัน ถุงอัณฑะมีลักษณะยื่นออกมานอกช่องท้องและมีช่องทางติดต่อกับช่องท้อง เรียกว่า ช่อง อินกวัยนอล (inguinal canals) ซึ่งเป็นช่องที่ค่อนข้างเปราะบาง การยกของหนักเกินไปอาจมีผลทาให้เยื่อที่คลุมอยู่ฉีกขาด ทาให้ลาไส้ บางส่วนไหลไปอุดบริเวณปากถุงอัณฑะ ซึ่งเรียกอาการที่เกิดขึ้นว่า ไส้เลื่อน (ingunial hernia) ภาพแสดงส่วนประกอบขององคชาติ และอัณฑะ ภายในอัณฑะประกอบด้วยท่อขนาดเล็กม้วนขดอยู่ภายใน เรียกว่า ท่อเซมินิเฟอรัสทิวบูล (seminiferous tubules) ทาหน้าที่สร้าง เสปิร์ม ซึ่งจะต้องผ่านก ระบวนการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์ หรือสเปอร์มาโทเจีนี ซิส (spermatogenesis) ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างเซลล์สืบพัน ธุ์เมื่อเพศ ชายเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ สเปิร์ม ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ หัว (head) คอ และลาตัว (midpiece) หาง (flagellum) โดยส่วนหัว ภายในบรรจุไว้ด้วยนิวเคลียสและปลายสุด ของหัวถูกห่อหุ้มไว้ด้วย อะโครโซม (acrosome) ซึ่งบรรจุเอนไซม์สาหรับเข้า เจาะไข่
  • 3. -3- ส่วนท้ายสุดของท่อในองคชาติ (penis) เรียกท่อฉีดน้าอสุจิ (ejaculatory duct) มีกล้ามเนื้อแข็งแรง ดังนั้นเมื่อหดตัวจะ ดันให้ตัวอสุจิและน้าเมือกเรียกว่า น้าอสุจิ (semen) ผ่านไปในท่อขององคชาต (urethra) และออกสู่ภายนอกตรงปลายองคชาติ บริเวณ ท่อที่ตัวอสุจิผ่านไปก่อนถึงองคชาตจะมีต่อมต่าง ๆ จะเห็นได้ว่าในระบบสืบพันธุ์เพศชายมีต่อมชนิดต่าง ๆทาหน้าที่หลั่งของเหลวเข้าร่วมกับสเปิร์ม ได้เป็น semen ซึ่งในการ หลั่งแต่ละครั้ง semen มีปริมาตรประมาณ 3.5 มิลลิลิตร และประกอบด้วยสเปิร์มประมาณ 400 ล้านเซลล์ ต่อมต่าง ๆ เหล่านี้ได้แก่ 1. อัณฑะ (Testis) ทา หน้าที่สร้างอสุจิ (sperm) 2. หลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubule) ทา หน้าที่สร้างอสุจิไปเก็บที่ epididymis 3. ท่อนา อสุจิ (vas deferens) ทางเดินของอสุจิ 4. ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (seminal vesicle) สร้าง seminal fluid ประกอบด้วยน้าตาลฟรุกโตสโปรตีนพวก globulin และ วิตามินซี 5. ต่อมลูกหมาก (Prostate gland) สร้างสารมีฤทธิ์เป็นด่างอ่อนทา ลายกรดในปัสสาวะ และสร้างสารที่ทา ให้อสุจิแข็งแรง และว่องไว 6. ต่อมคาวเปอร์ (cowper’s gland) มี 2 ต่อม อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก ทา หน้าที่สร้างสารไปหล่อลื่นท่อปัสสาวะ ภาวะการเป็นหมันของเพศชายมีสาเหตุหลักอยู่ที่ปริมาณการผลิตสเปิร์มออกมาต่ากว่าระดับปกติ เช่นชายมีสเปิร์มต่ากว่า 35 ล้านเซลล์ต่อซีซี จัดว่าอยู่ในขั้นผิดปกติ ถ้าน้อยกว่า 30 ล้านเซลล์ต่อซีซี ถือว่าเป็นหมัน โครงสร้างของระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (female reproduction) ระบบสืบพันธุ์ของเพศหญิง มีความซับซ้อนกว่าของเพศชาย เพราะประกอบด้วยโครงสร้าง สาหรับสร้างเซลล์สืบพันธุ์หรือ เซลล์ไข่ (immature gamete) รองรับสเปิร์ม สร้างฮอร์โมน เพศและเป็นที่ฝังตัวเพื่อการเจริญ และพัฒนาของตัวอ่อน โครงสร้างที่ทาหน้าที่ดังกล่าว ได้แก่ รังไข่ (ovaries) โครงสร้างนี้ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนและเซลล์สืบพันธุ์หรือไข่ กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ หรือไข่ (oogenesis) เกิดขึ้นที่นี่ กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์หรือไข่ เริ่มจากเซลล์ที่จะเจริญไปเป็นเซลล์สืบพันธุ์หรือ เรียกว่า โอโอโกเนีย (oogonia) จากการศึกษาพบว่าโอโอโกเนียนี้มีในรังไข่ของทารกหญิง ก่อนคลอดเป็นจานวนมากและไปเป็นโอโอไซต์ ขั้นที่หนึ่ง (primary oocyte) เมื่อถึงเวลา ใกล้คลอดจะเจริญและพัฒนาเป็นโอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง ระยะโพรเฟส I (prophase I) และจะ หยุดอยู่ในระยะนี้จนกระทั่ง ทารกเพศหญิงเจริญเข้าสู่วัยรุ่น
  • 4. -4- ขณะที่ฟอลลิเคิลเข้าสู่ระยะมาทัว (mature) จะเคลื่อนที่เข้าใกล้ผนังรังไข่รูปร่างคล้ายถุงน้า เซลล์ของฟอลลิเคิลจะหลังเอ็ม ไซม์โพทิโอไลติก ( proteolytic enzyme) ย่อยผนังรังไข่ทาให้ โอโอไซต์ ขั้นที่สอง ผ่านผนังรังไข่ออกเข้าสู่ช่องท้อง ฟอลลิ เคิลที่ เหลืออยู่ในรังไข่จะเจริญและพัฒนาเป็นคอร์พัสลูเทียม (corpus luteum) ฮอร์โมน FSH เป็นตัวกระตุ้นให้ฟอลลิเคิลเจริญและขยายขนาดขึ้นได้ และเมื่อฟอลลิเคิลเจริญขึ้นจะสร้างและหลั่งฮอร์โมน เอสโทรเจน (estrogen) ส่วนคอร์พัสลูเทียมสร้างและหลั่งเอสโทรเจน (estrogen) และโพรเจสเทอโรน (progesterone) ซึ่งมีหน้าที่ ควบคุมลักษณะขั้นที่สองของเพศหญิง ได้แก่ การมีเสียงแหลม นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับการเจริญของมดลูก การมีประจาเดือน 1. รังไข่ (ovary) ทา หน้าที่สร้างไข่ และสร้างฮอร์โมน 2. มดลูก (uterus) เป็นบริเวณที่เจริญเติบโตของทารก 3. ท่อนา ไข่ (ปีกมดลูก) (fallopian tube or uterine tube) เป็นบริเวณที่ผสมของไข่กับอสุจิ 4. ช่องคลอด (vagina) เป็นท่อกล้ามเนื้อยืดหยุ่น เชื่อมต่อระหว่างมดลูกและระบบสืบพันธุ์ด้านนอก ทาหน้าที่รองรับสเปิร์ม และคลอดทารก การทางานของฮอร์โมนในระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (hormone regulates reproduction) ฮอร์โมนควบคุม การทางานในระบบสืบพันธุ์เพศหญิงมีความซับซ้อนกว่า ที่เกิดในเพศชาย ประกอบด้วยฮอร์โมนที่สาคัญอย่างน้อย 5 ชนิด ที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันในวงจร ประจาเดือนและวงจรไข่ (ovarian cycle) กลไกการ ทางานของฮอร์โมนแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ กลไกสนองกลับแบบกระตุ้นและกลไกสนองกลับแบบ ยับยั้ง การทางานที่ประสานกันของฮอร์โมน คือ ในแต่ละ เดือนขณะที่มีการเจริญเติบโตของฟอลลิเคิลและตกไข่นั้น ส่วนของผนังมดลูกได้มีการเตรียมพร้อมสาหรับการฝังตัวของ เอ็มบริโอไปพร้อมกัน การ มีประจาเดือนของเพศหญิงเริ่มตั้งแต่ย่างเข้าสู่ วัยรุ่น จนถึงวัยอายุประมาณ 50 ปี วงจรประจาเดือนเกิด ทุกๆ 28 วัน วันแรกของวงจรคือวันที่มีประจาเดือนไหล ออกมาจากช่องคลอด ส่วนการตกไข่จะเริ่มจากวันที่ 14 ของวงจรประจาเดือน โดยฮอร์โมนจาก ไฮโพทาลามัส ต่อมใต้สมองส่วนห น้า และจากรังไข่ จะทาหน้าที่ควบคุมวงจรประจาเดือน การคุมกาเนิด (contraception) การคุมกาเนิดเป็นวิธีป้องกันการตั้งครรภ์สาหรับหญิงที่ไม่พร้อมจะมีบุตร การคุมกาเนิดมีหลายวิธีให้เลือกใช้ตามความ เหมาะสม แบ่งออกเป็น 3 วิธีใหญ่ๆ คือ การป้องกันการเกิดปฏิสนธิ (prevent sperm and egg from meeting) การป้องกันการฝัง ตัวของตัวอ่อน (pervent implantation) และการยับยั้งการตกไข่และสเปิร์ม (prevent release of gamete) 1. การป้องกันการปฏิสนธิ (prevent sperm and egg from meeting) 1.1 การคุมกาเนิดแบบนับวัน (rhythm method) เป็นวิธีการหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ในช่วงไข่ตก จากการศึกษา พบว่าไข่ที่ตกออกมาสามารถมีชีวิตอยู่ในท่อนาไข่ได้นาน 24 ถึง 48 ชั่วโมง ส่วนสเปิร์มอยู่ในท่อนาไข่ได้นานถึง 72 ชั่วโมง ดังนั้น การคุมกาเนิดโดยวิธีนี้จึงควรหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ในช่วง 7 วันก่อนและหลังไข่ตก ประสิทธิภาพของการคุมกาเนิดด้วยวิธีการ นี้ต้องใช้ควบคู่ไปกับความรู้เรื่องการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในร่างกาย การเปลี่ยนแปลงของเมือกในช่องคลอด เป็นต้น อัตราการ ตั้งครรภ์จากการคุมกาเนิดแบบนับวัน คือ 10 ถึง 20 เปอร์เซ็นต์
  • 5. -5- 1.2 การใช้ถุงยางอนามัย (condoms method) เป็นกลไกคุมกาเนิดที่ใช้กับฝ่ายชายเป็นวิธีป้องกันสเปิร์มเข้าไปใน ระยะสืบพันธุ์ของเพศหญิงข้อดีของวิธีการใช้ถุงยางอนามัยนอกจากใช้คุมกาเนิดแล้วและวิธีนี้ยังสามารถป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ได้ 1.3 การใช้ไดอะแฟรม (diaphragm) เป็นวิธการคุมกาเนิดโดยใช้ฝาครอบปากมดลูก เพื่อป้องกันการเข้าไปปฏิสนธิ ี ของสเปิร์ม การคุมกาเนิดโดยวิธีนี้ก่อนใช้มักจะทาครีมลงบนไดอะแฟรมเพื่อฆ่าสเปิร์ม อัตราการตั้งครรภ์โดยวิธีการใช้ถุงยางอนามัยและ การใช้ไดอะแฟรม น้อยกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ 1.4 การหลั่งภายนอก (withdrawal method) วิธีคุมกาเนิดโดยฝ่ายชายจะหลั่ง ซีเมนภานนอกระบบ สืบพันธุ์เพศหญิง การคุมกาเนิดด้วยวิธีนี้พบว่าโอกาสในการตั้งครรภ์มีสูงถึง 22 เปอร์เซ็นต์ 1.5 การทาหมันถาวร (sterilization) การคุมกาเนิดแบบถาวร เป็นวิธีการคุมกาเนิดที่นิยมอย่างแพร่หลายในสตรีที่มี อายุเกิน 30 ปี อัตราการตั้งครรภ์ 0.15 เปอร์เซ็นต์ การคุมกาเนิดแบบถาวรมี 2 ประเภท 1.5.1 การทาหมันหญิง (tubal ligation) โดยการตัดท่อนาไข่ แล้วผูกปลายแต่ ละส่วนที่ตัดออก วิธีนี้เพศหญิง 1 ใน 4 เลือกใช้ 1.5.2 การทาหมันชาย (vasectomy) โดยการตัด ท่อนาสเปิร์มหรือวาสดิเฟรนส์ แล้วผูกปลายแต่ละส่วนที่ถูกตัดออกเพื่อยับยั้งการเคลื่อนที่ของสเปิร์มออกนอกร่างกาย ไม่มี ผลข้างเคียงเกิดขึ้น การผลิตสเปิร์มปกติ แต่อาจช้าลงและถูกเซลล์เม็ดเลือดขาวจับกิน 2. การป้องกันการฝังตัวของตัวอ่อน (pervent implantation) เป็นวิธีการคุมกาเนิดโดยวิธีการใส่ห่วง (intrauterine device หรือ IUD) ซึ่งเป็น ภาพแสดงการทาหมันชาย พลาสติกรูปกลมหรือโค้งขนาดเล็ก สอดเข้าไปในมดลูกโดยแพทย์ผู้ชานาญ การใส่ครั้งหนึ่งอาจทิ้ง ไว้ได้นานถึง 10 ปี หรือจนต้องการมีบุตร ข้อเสียของการคุมกาเนิดแบบใส่ห่วงคือ เลือดไหลกระปิดก ระปอยและเป็นลิ่ม เสี่ยงต่อการ อักเสบของมดลูก ปัจจุบันไม่เป็นที่นิยมใช้ 3. การยับยั้งการตกไข่และสเปิร์ม (prevent release of gamete) เป็นการคุมกาเนิดโดยการใช้ฮอร์โมน เป็นการป้องกันการตกไข่ มีหลายประเภทให้เลือกใช้ เช่น รับประทานยา คุมกาเนิด (oral pill) การฉีดยาคุมกาเนิด (DMPA หรือ Depo-Provera) การฝังแคปซูลใต้ผิวหนัง (norplant) 3.1 รับประทานยาเม็ดคุมกาเนิด เป็นการป้องกันการตกไข่ ยาเม็ดคุมกาเนิดเป็นยาที่ประกอบด้วยฮอร์โมน 2 ชนิด คือ ฮอร์โมนโพรเจสติน (โพรเจสเทอโรนสังเคราะห์) และเอสโทรเจน(เอสโทรเจนสังเคราะห์ ) ซึ่งมีผลไปยับยั้งการหลั่ง LH และ FSH วิธีการใช้ คือรับประทานครั้งละ 1 เม็ดเป็นเวลา 3 สัปดาห์แล้วหยุด สัปดาห์ต่อไปจะเว้นการรับประทาน แต่บางบริษัทจะให้ รับประทานน้าตาลหรือวิตามินอัดเม็ดโดยไม่มีการเว้น หลังจากนั้นเมื่อขาดฮอร์โมนประจาเดือนจะไหล 3.2 การคุ มกาเนิดแบบฉุกเฉิน (emergency contraception) ใช้หลังการมีเพศสัมพันธ์ ภายใน 72 ชั่วโมง แพทย์ให้ใช้สาหรับสตรีที่ถูกข่มขืนและกรณีอื่นๆ ที่ไม่สามารถป้องกันได้ในขณะมีเพศสัมพันธ์ได้ 3.3 การฉีดยาคุมกาเนิด เป็นการป้องกันการตกไข่ได้อีกวิธี หนึ่ง เป็นการฉีดฮอร์โม นโพรเจสติน ฮอร์โมนนี้ออกฤทธิ์ โดยกดการทางานของต่อมใต้สมองส่วนหน้า วิธีใช้ คือฉีดเข้ากล้ามเนื้อของสตรีที่ต้องการคุมกาเนิดทุก ๆ 3 เดือน 3.4 การฝังแคปซูลเข้าใต้ผิวหนัง เป็นการฝังฮอร์โมนโพรเจสตินที่เป็นแคปซูลบริเวณใต้ท้องแขนฮอร์โมนนี้จะถูกปล่อย ออกจากแคปซูลแ ต่น้อย ๆ อย่างต่อเนื่องในกระแสเลือด ไปมีผลยับยั้งการตกไข่และกระตุ้นการหลั่งเมือกเหนียวในช่องคลอด การฝัง แคปซูลนี้จะอยู่ได้ 5 ปี แต่มีผลข้างเคียงสาหรับผู้ใช้ คือ การมีประจาเดือนกระปิดกระปอยอาจนานถึง 1 ปี 4. การแท้ง (abortion) หมายถึง ภาวะสิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อนถึงกาหนดคลอดตามปกติ เนื่องจากการตายของตัวอ่อนหรือ ทารก การทาแท้งแบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ การแท้งเอง การทาแท้งเพื่อการรักษา การทาแท้งเพื่อการคุมกาเนิด --------------------------------------------------------------------------------------
  • 6. -6- “การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต” กระบวนการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต ประกอบด้วย - การเพิ่มจา นวนเซลล์ - การเพิ่มขนาดของเซลล์ - การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของกลุ่มเซลล์ เพื่อทา หน้าที่เฉพาะอย่าง การวัดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต มีหลายวิธี คือ 1. การหามวลของสิ่งมีชีวิตที่เปลี่ยนไป 2. การนับจา นวนเซลล์ 3. การวัดความสูง 4. การชั่งน้าหนัก 5. การนับจา นวนโครงสร้างที่เพิ่มขึ้น การเจริญเติบโตของสัตว์ชั้นสูง  Embryo Zygote ที่เจริญภายในเยื่อหุ้ม หรือภายในท้องแม่  Embryo ของไก่ ระยะที่ไก่มีการเจริญตั้งแต่ Zygote ลูกไก่  Embryo ของกบ ระยะที่กบเจริญภายในวุ้น จนกระทั่งฟักเป็นลูกอ๊อด  Embryo ของคน ระยะเวลาตั้งแต่ Zygote ทารกแรกเกิด  Fetus Embryo ที่มีอวัยวะต่าง ๆ ครบ แต่ยังอยู่ในท้องแม่ (อายุ 8 สัปดาห์)  Aminion ถุงน้าคร่า สา หรับป้องกันการกระทบกระเทือนให้ทารก  Allantois ถุงที่เจริญจากตัว embryo แทรกไปชิดกับเปลือกไข่ มีเส้นเลือดมาดใช้สา หรับแลกเปลี่ยนก๊าซกับบรรยากาศ เก็บของเสีย (ยูริค)  Clevage ระยะที่ embryo มีการแบ่งเซลล์ ได้เซลล์จา นวนมากติดกัน รูปร่างคล้ายน้อยหน่า  Placent (รก) บริเวณที่ติดต่อกับแม่ รับอาหารแลกเปลี่ยนก๊าซ  Umbilical cord (สายสะดือ) หุ้มรอบเส้นเลือดใหญ่ ติดต่อระหว่างรกกับ embryo  Metamorphosis การเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเป็นขั้น ๆ  Complete metamorphosis เปลี่ยนครบ 4 ขั้น Egg – larva – pupa – adult เช่น ผีเสื้อ, ยุง, แมลงวัน, ด้วง, ผีเสื้อไหม  Incomplete metamorphosis เปลี่ยนไม่ครบ 4 ขั้น เช่น ตั๊กแตน (ตัวอ่อนไม่มีปีก ตัวเต็มวัยมีปีก), แมลงปอ, แมลงสาบ, จิ้งหรีด, แมลงดานา  Ametamorphosis ไม่มี metamorphosis เช่น แมลงหางดีด, ตัวสามง่าม การเจริญระยะเอ็มบริโอของมนุษย์ การศึกษาพัฒนาการของตัวอ่อนนั้นทาให้เรารู้จักความเป็นมาของชีวิตและการเจริญเติบโตจนกระทั่งคลอด วงจรชีวิตเริ่มต้นตั้งแต่ การปฏิสนธิจน กระทั้งตายไป แบ่งออกเป็น 2 ช่วงใหญ่ๆคือ ช่วงชีวิตก่อนคลอด (prenatal life) มีหลายระยะเช่น preembryo, embryo, fetus และช่วงชีวิตหลังคลอด (postnatal life) มีหลายระยะเช่น infancy or babyhood, neonate childhood, puberty , aldolescens และระยะสุดท้ายคือ adulthood การศึกษาเอ็มบริโอนั้นเราจะต้องรู้คาศัพท์ที่ใช้เรียกทิศทางและแนวการตัดของตัวอ่อน เช่น cranial (superior) หมายถึงส่วน หัว caudal (inferior) หมายถึงส่วนท้าย ventral (anterior) หมายถึงส่วนล่าง และ dorsal (posterior) หมายถึงส่วนบน
  • 7. -7- Embryo หมายถึง ตัวอ่อนตั้งแต่ระยะสัปดาห์ที่ 2 ของการเจริญจนถึงปลายสัปดาห์ที่ 8 ระยะนี้ตัวอ่อนมีอวัยวะครบแล้ว Fetus หรือทารก หมายถึง ตัวอ่อนระยะตั้งแต่สัปดาห์ที่ 9 จนถึงคลอด ระยะนี้จะมีการเจริญเปลี่ยนแปลง (differention) ของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆที่เกิดในระยะ embryo การปฏิสนธิและการฝังตัว การตั้งครรภ์นั้นเป็นคารวมของ การปฏิสนธิ (fertilization) การฝังตัว (implantation) การพัฒนาของตัวอ่อน (embryonic development) และการเจริญของทารก (fetal growth) รวมทั้งการปฏิสนธิภายในหลอดแก้ว ฮอร์โมนระหว่างการ ตั้งครรภ์ และการวินิจฉัยหาความผิดปกติต่าง ๆ การปฏิสนธิเกิดภายใน 12 – 24 ชั่วโมงหลังการตกไข่ ปกติจะเกิดที่แอมพูล่าของท่อนาไข่ แล้วฝังตัวตรงกลางของ มดลูก (intrauterine site) แต่ฝังตัวผิดตาแหน่ง เช่น ในช่องท้อง ท่อนาไข่ ปากมดลูก หรือรังไข่ เกิดการท้องนอกมดลูก (ectopic pregnancy) จะมีผลให้เกิดการตกเลือด (humorrhage) ระหว่างแปดสัปดาห์แรกและการเสียชีวิตของตัวอ่อน ผลของการปฏิสนธิ จะได้โครโมโซม 2n เกิดการแปรผันของสปีชีส์ซึ่งมาจากพ่อและแม่อย่างละครึ่ง เกิดเพศของไซโกต และเกิดการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสที่เป็นการเริ่มต้นของคลีเวจ การเจริญขั้นต้นของตัวอ่อนมนุษย์ การเจริญของสัตว์อาศัยการเปลี่ยนแปลงเป็นขั้นๆมีแบบแผนแน่นอน กระบวนการเจริญจะต้องมีการเพิ่มจานวน (cell multiplication) โดยแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิส การเติบโต (growth) โดยการเพิ่มปริมาณโพรโตพลาสซึม การเปลี่ยนโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์เพื่อทาหน้าที่เฉพาะ (cell differentiation) และการเกิดรูปร่างที่แน่นอน (morphogenesis) การเจริญของ สิ่งมีชีวิตที่เริ่มตั้งแต่ ไซโกตแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว แล้วมี differentiation จนถึงระยะที่มีอวัยวะต่างๆ ครบเรียกว่า embryonic development ภายหลังจากที่มีการปฏิสนธิของไข่และอสุจิคือ male and female pronuclei เคลื่อนที่มาผสมกันเกิดเป็น zygote และจะ เกิด cleavage แบ่งเซลล์แบบ holoblastic equal type จนได้ตัวอ่อนที่เรียกว่า morula จากนั้นเข้าสู่ระยะ blastula เกิดช่อง blastocyst cavity (blastocoel) การเจริญในช่วงสัปดาห์แรก ประมาณวันที่ 7 หลังจากปฏิสนธิ เอ็มบริโอจะสร้างถุงคอเรียนล้อมรอบเอ็มบริโอ และมีบางส่วนยื่นเป็นแขนงเล็ก ๆ แทรกในเอนโดมีเทียมของมดลูก ซึ่งต่อมาจะพัฒนาเป็นรก ดังนั้นรกจึงประกอบด้วยส่วนของถุงคอเรียนของลูกและเนื้อเยื่อชั้ นเอนโดมี เทียมของแม่ เอ็มบริโอมีการสร้างถุงน้าคร่าหุ้มตัวเอง ภายในถุงบรรจุของเหลวที่เรียกว่า น้าคร่า เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนและ ช่วยให้ทารกเคลื่อนไหวอย่างอิสระ และตัวเอ็มบริโอยังมีการสร้างสายสะดือเชื่อมกับรก การเจริญในช่วงสัปดาห์ที่ 2 เมื่ออายุได้ 2 สัปดาห์ เอ็มบริโอจะมีความยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตร มีการเจริญเติบโตในระยะแกสทรูลา ทาให้เกิด เนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ เอกโทเดิร์ม (ectoderm) เมโซเดิร์ม (mesoderm) และ เอนโดเดิร์ม (endoderm) โดยที่เอกโทเดิร์มจะเจริญ เป็นเยื่อบุผิว เยื่อบุผิวของโพรงจมูก เยื่อ บุผิวที่ทาหน้าที่รับกลิ่น ระบบประสาท เช่น สมอง ไขสันหลัง เลนส์ตา สารเคลือบฟัน และ เนื้อฟัน เมโซเดิร์มจะเจริญเป็นโนโทคอร์ด (notochord) ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบโครงร่างค้าจุนร่างกาย ชั้นหนังแท้ ระบบ ขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์ และเอนโดเดิร์มจะเจริญไปเป็นเยื่อบุทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร การเจริญในช่วงสัปดาห์ที่ 3 เริ่มปรากฏร่องรอยของระบบอวัยวะ ได้แก่ ระบบประสาท หัวใจ มีลักษณะเป็นท่อ และเริ่มเต้นเป็นจังหวะ ระยะนี้ เอ็มบริโอ มีความยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร หลังจากนั้นเอ็มบริโอจะเริ่มมีอวัยวะต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น
  • 8. -8- การเจริญในช่วงสัปดาห์ที่ 4 แขนและขาเริ่มปรากฏชัดเจนเมื่ออายุได้ 4 สัปดาห์ อวัยวะต่างๆ จะเจริญเติบโตและมีอวัยวะครบเมื่ออายุได้ 8 สัปดาห์ ซึ่งเป็นระยะสิ้นสุดของเอ็มบริโอ และหลังจากนี้แล้วจะเรียกว่า ฟีตัส ภาพแสดงการเจริญของเอ็มบริโอช่วงสัปดาห์ที่ 8 (Fetus embryo) ภาพแสดงการเจริญของเอ็มบริโอช่วงสัปดาห์ที่ 16 การเจริญในช่วงสัปดาห์ที่ 8-9 เมื่ออายุได้ 8-9 สัปดาห์ จะมีนิ้วมือ และนิ้วเท้าเจริญเห็นได้ชัดเจน สามารถบอกเพศได้ ในช่วงเดือนที่ 4-6 ฟีตัสจะมี ขนาดโตขึ้นเรื่อยๆ มีการเคลื่อนไหวมากขึ้น สามารถรับฟังเสียงจากภายนอกได้ มีการเจริญเติบโตของกระดูก มีผม ขน ฟีตัสในเดือนที่6 จะมีน้าหนักประมาณ 680 กรัม ในช่วง 3 เดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ มีระบบประสาทเจริญมาก การนับอายุทารกในครรภ์ อาจนับตาม menstruation age (last normal menstruation period หรือ LPMP) คือ นับ จากวันแรกของการมีประจาเดือนครั้งสุดท้ายจนกระทั่งคลอดรวม 40 สัปดาห์ หรือนับตาม fertilization age (conception) นับจาก วันแรกที่ปฏิสนธิจนกระทั้งคลอดรวม 38 สัปดาห์ ช่วงปฏิสนธิจะเกิดก่อนการตกไข่ 4 วัน และหลังจากการตกไข่ 2 วัน การคลอด (parturition) เมื่อใกล้คลอดระดับฮอร์โมน progesterone จะลดลงและเพิ่มระดับของ estrogen, prostagladins, oxytocin และ relaxin กลไกการคลอดเริ่มจากกล้ามเนื้อมดลูกหดตัวเป็นช่วงๆ ปวดบริเวณหลัง ปากช่องคลอดขยาย การคลอดของทารกแบ่งได้ 3 ขั้นคือ 1. stage of dilation กล้ามเนื้อมดลูกหดตัว ถุงน้าคร่าแตก ปากช่องคลอดขยายเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 ซม. 2. stage of expulsion ทารกถูกขับออกมา 3. placerta stage รกถูกขับออกมา การปฏิสนธิภายนอกในกรณีที่คู่สมรสมีปัญหาทาให้มีบุตรยาก ปัจจุบันมีวิธีการช่วยเหลือได้หลายวิธีดังนี้ 1. GIFT หรือ ZIFT = Gamete or Zygote Intrafallopian Transfer เป็นการนาไข่ของเพศหญิงออกมาผสม กับอสุจิแล้วฉีดเข้าท่อนาไข่ วิธีนี้เพศหญิงต้องมีท่อนนาไข่ดีและสามารถประสบความสาเร็จได้ 30% 2. IVF หรือ ET = In Vitro Fertilization or Embryo transfer เป็นการนาไข่ของเพศหญิงออกมาผสมกับอสุจิ แล้วเลี้ยงในตู้อบ 2 วัน จึงนากลับเข้าไปในโพรงมดลูก 3. ICSI หรือ SUZI = Intracytoplasmic Sperm Injection or Subzonal Sperm Insertion วิธีนี้ใช้ใน กรณีที่เพศชายมีอสุจิน้อยมาก (oligospermia) หรือคุณภาพของอสุจิไม่ดี จะใช้เข็มแก้วเล็กๆ ดูดอสุจิ 1 ตัวฉีดเข้าไปในไข่ของฝ่ายหญิง โดยตรง แล้วเลี้ยงในตู้อบจนได้ตัวอ่อนประมาณ 4 – 8 เซลล์จึงนาตัวอ่อนนี้กลับเข้าไปในโพรงมดลูกของฝ่ายหญิง
  • 9. -9- ภาพแสดงส่วนประกอบต่างๆ ของไข่ไก่ และการพัฒนาของเอ็มบริโอหลังปฏิสนธิ 4 วัน Egg Cleavage Morula Blastula Glastrula ภาพแสดงการเจริญในระยะต่าง ๆ ของเอ็มบริโอกบ
  • 12. - 12 - http://endofthegame.net/2011/11/16/psychology-101-development-i-physical-and-cognitive-development/ แหล่งศึกษาเพิ่มเติม 1. http://www.cerebral-palsy.net/update2001/fetal.html 2. http://endofthegame.net/2011/11/16/psychology-101-development-i-physical-and-cognitive-development/ 3. http://php.med.unsw.edu.au/embryology/index.php?title=Foundations_Lecture_-_Introduction_to_Human_Development