มคอ3เพศศึกษา

มคอ 3
รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : สถาบันการพลศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา: คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ
หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
วท 073020 เพศศึกษา
2. จานวนหน่วยกิต
2 (2-0-4)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
ศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา ประเภทของรายวิชา หมวดวิชาเลือก
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภควรรณ อ่อนคา
5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน
ภาคเรียนที่ 1 ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาพลศึกษา
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite)
-ไม่มี
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites)
-ไม่มี
8. สถานที่เรียน
ห้อง 314 อาคาร 3
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
14 พฤษภาคม 2555
2
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเพศและเพศศึกษา
1.2 เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญของเพศชาย เพศหญิงและ เพศศึกษา
1.3 เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติตนในเรื่องเพศ การสร้างสัมพันธภาพทางเพศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมตาม
บทบาททางเพศ
1.4 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติตนให้ปลอดภัย จากการมีเพศสัมพันธ์ที่เหมาะสม มีการวางแผนในการ
ดาเนินชีวิตและการวางแผนครอบครัว รู้จักปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศ
1.5 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้เรื่องเพศศึกษา ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง
ครอบครัวและถ่ายทอดความรู้ให้บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้มีความสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี ของสานักงาน
คณะกรรมการอุดมศึกษา และเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพครูและบุคลกรทางการศึกษาของครุสภา
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาลักษณะความหมายของเพศ ความรู้เรื่องเพศ การเจริญเติบโต และพัฒนาการทางเพศ
การมีเพศสัมพันธ์ และการปฏิสนธิ ความเชื่อและความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องเพศ ความผิดปกติทางเพศ
เทคนิควิธีการให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศศึกษา การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย การวางแผนครอบครัว
กฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน
ภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
30 ชั่วโมง สอนเสริมตามความ
ต้องการของนักศึกษา
เฉพาะราย
- 60 ชั่วโมง
3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
- อาจารย์ประจารายวิชา แจ้งการเข้าพบให้นักศึกษาทราบในชั้นเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ ทุกวันพุธ ตั้งแต่เวลา
13.00 – 18.00 น. (โดยนักศึกษาที่ต้องการขอคาปรึกษาต้องนัดอาจารย์ก่อนเข้าพบ)
3
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
สามารถปฏิบัติตนตามสมรรถนะ ด้านจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู (Teacher ‘s Ethics
And Integrity) เช่น ความรักและความศรัทธาในวิชาชีพครู มีวินัยและความรับผิดชอบในวิชาชีพ การดารง
ตนอย่างเหมาะสม ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม
1.2 วิธีการสอน
1.2.1 สอดแทรกเนื้อหา ด้านคุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู
1.2.2 ทบทวนกฎระเบียบ ข้อบังคับของนักศึกษา
1.2.3 แจ้งข้อตกลงก่อนเรียน ให้นักศึกษาทราบ
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมในการเรียนจรรยาบรรณวิชาชีพครู
1.3.2 การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงตามเวลา
1.3.3 การเคารพกติกาและข้อตกลงก่อนเรียน
1.3.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ
2. ความรู้
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจวิชาพื้นฐานวิชาสุขศึกษา อย่างเป็นระบบและสามารถบูรณาการความรู้ที่
เกี่ยวข้องกับเพศศึกษา ไปใช้ในชีวิตประจาวันและประกอบวิชาชีพครูได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.1.2 ตระหนักถึงความสาคัญของหลักแนวคิด ทฤษฎี และหลักการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนการ
วิจัยเพื่อหาองค์ความรู้ ด้านวิชาสุขศึกษาได้อย่างสมบูรณ์
2.1.3 มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงคุณค่าของศาสตร์ทางสาขาวิชาสุขศึกษา ธรรมเนียมปฏิบัติ
กฎระเบียบข้อบังคับ
2.1.4 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และนาความรู้ไปปรับใช้กับวิชาชีพครูได้อย่าง
เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
2.1.5 สามารถบริหารหลักสูตรและจัดการเรียนรู้ในสาขาวิชาสุขศึกษา เช่น การออกแบบการเรียนรู้
การสร้างและพัฒนาหลักสูตร การใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้
มีความสามารถในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านวิชาสุขศึกษา
2.2 วิธีการสอน
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น อภิปรายกลุ่ม ทางานกลุ่ม บทบาทสมมุติ
การนาเสนอผลงาน ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เป็นต้น
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1 ประเมินคุณภาพงานที่แสดงถึง ความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การอ้างอิงเอกสาร เช่น
ไม่ขโมยผลงานมาเป็นของตนเอง
2.3.2 ทบทวนท้ายบทเรียนและสอบปลายภาค
4
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
3.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักและกระบวนการค้นหาข้อเท็จจริง และสามารถประเมิน
ข้อมูล ทางสุขภาพที่หลากหลายเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง
3.1.2 สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนทางสังคมและวัฒนธรรม และ
สิ่งแวดล้อมสามารถปรับตัว และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างสรรค์ โดยคานึงถึงความรู้
ทางทฤษฎี ประสบการณ์จากการปฏิบัติและผลกระทบจากการตัดสินใจ
3.1.3 สามารถใช้ทักษะความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาชีพครู และศาสตร์สาขาวิชาสุขศึกษา มีกระบวนการ
คิดอย่างเป็นระบบ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาสุขภาพ การพัฒนาตนเอง การพัฒนาผู้เรียนรวมทั้งการวัด การ
เรียนการสอน เพื่อการเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.2 วิธีการสอน
3.2.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียน คิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เช่น อภิปรายกลุ่ม ฝึกแก้ปัญหา
กลุ่ม จัดสถานการณ์จาลองให้ผู้เรียนตัดสินใจ
3.2.2 สอดแทรกกิจกรรมที่นักศึกษาต้องค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง โดยนา
หลักวิชาการไปใช้อ้างอิง ได้อย่างถูกต้อง
3.2.3 ฝึกนักศึกษาให้สามารถพัฒนาคุณภาพตนเองและสังคมได้อย่างสมดุล
3.3 วิธีการประเมิน
3.3.1 ประเมินจากการแสดงความคิดเห็นในห้องเรียน และเสนอความคิดเห็นในการร่วมกิจกรรม
กลุ่ม
3.3.2 ประเมินจากคุณภาพของงานที่แสดงถึงการค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติมต่อเนื่องและมี
วิจารณญาณอย่างถูกต้อง
3.3.3 ประเมินจากพัฒนาการด้านความรู้ ความคิดของผู้เรียนจากการนาข้อมูลมาใช้อย่างถูกต้อง มี
เหตุผลเป็นระบบและสร้างสรรค์
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
4.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของตนเองในการทางานและ
การอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ และในการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.2 มีความรู้ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของวิชาชีพครูและปฏิบัติต่อผู้เรียนอย่าง
เป็นธรรมและเสมอภาค
4.1.3 ตระหนักถึงคุณค่าบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของตนเอง การอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่าง
สร้างสรรค์ การเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่องปฏิบัติต่อผู้เรียนอย่างกัลยาณมิตร
4.1.4 มีภาวะผู้นาในสถานการณ์ที่ไม่ชัดเจนได้อย่างเหมาะสมและสามารถใช้นวัตกรรม ในการ
วิเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหากลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.5 มีความรับผิดชอบสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองและวิชาชีพครู อย่างต่อเนื่อง และปฏิบัติต่อ
ผู้เรียนด้วยมิตรไมตรีที่ดี
4.1.6 มีภาวะผู้นา (Teacher Leadership) มีความสามารถในการสนทนาได้อย่างสร้างสรรค์ เป็น
บุคคลแห่งการเปลี่ยนแปลง มีความสามารถในการปฏิบัติงานอย่างไตร่ตรอง โดยมุ่งพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของ
ผู้เรียน
4.1.7 สามารถสร้างสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน เพื่อการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5
4.2 วิธีการสอน
4.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านประสบการณ์ตรงจากการทางานเป็นคู่หรือเป็นกลุ่ม เพื่อฝึกความ
รับผิดชอบ ทักษะความเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี มีทักษะการสร้างมนุษยสัมพันธ์ ปรับตัวยอมรับตนเอง ยอมรับ
ความแตกต่างของคนในสังคม
4.2.2 มอบหมายกิจกรรมกลุ่มทั้งในและนอกห้องเรียน เพื่อฝึกการร่วมทางานกับผู้อื่นเคารพกติกา
สังคม
4.2.3 ให้นักศึกษาฝึกวิพากษ์วิจารณ์ในชั้นเรียน จากปัญหาสังคมที่เป็นประเด็นสาธารณะ เพื่อฝึกการ
ยอมรับความคิดเห็นที่หลากหลาย
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมกลุ่มของผู้เรียนผู้สอน
4.3.2 ประเมินทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ สร้างเครื่องมือให้ผู้เรียน
ประเมินผลตนเองและประเมินกลุ่มเพื่อน
4.3.3 ประเมินคุณภาพงานที่มอบหมาย ประเมินการเสนอผลงาน
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
5.1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพูด การเขียน เทคโนโลยีสารสนเทศและคณิตศาสตร์และ
เทคนิคทางสถิติเพื่อการสื่อสารการเรียนรู้ การเก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมาย และการ
เสนอข้อมูลเพื่อสนแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน และการจัดการเรียน การสอน ในสาขาวิชาวิชาสุขศึกษา
5.1.2 ตระหนักถึงคุณค่าของหลักการพูด การเขียน เทคโนโลยีสารสนเทศและคณิตศาสตร์และ
เทคนิคทางสถิติเพื่อการสื่อสารการเรียนรู้ การเก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมาย และการ
เสนอข้อมูลเพื่อสนแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน และการจัดการเรียน การสอน ในสาขาวิชาวิชาสุขศึกษาได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
5.1.3 สามารถใช้ภาษาพูด ภาษาเขียน เทคโนโลยีสารสนเทศและคณิตศาสตร์และเทคนิคทางสถิติ
เพื่อการสื่อสารการเรียนรู้ การเก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมาย และการเสนอข้อมูลเพื่อสน
แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน และการจัดการเรียน การสอน ในสาขาวิชาวิชาสุขศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 วิธีการสอน
5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยการจัดประสบการณ์ตรงให้ผู้เรียนได้มีโอกาสใช้สถิติพื้นฐานใน
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์และนาเสนอด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ทันสมัยตรงกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
5.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียน แสดงความสามารถในการสื่อสารเพื่อให้เหตุผล
สรุปผลและนาเสนอข้อมูลต่างๆ อย่างถูต้องและสร้างสรรค์
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1 ประเมินผลจากการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้สะท้องความรู้ ความคิด ความเข้าใจ จากการ
ถ่ายทอด โดยด้านเทคโนโลยีต่างๆ
5.3.2 ประเมินทักษะการใช้เทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา และการใช้เทคโนโลยี
ในการนาเสนองานและในกิจกรรมเสริมสร้างหลักสูตรต่างๆ
5.3.3 ทดสอบการวัดทักษะเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีตวามความเหมาะสม
6
6. ทักษะการจัดการเรียนรู้
6.1 ทักษะการจัดการเรียนรู้ที่ต้องพัฒนา
6.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ แนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ
หลักสูตรการเรียนการสอนการวัดประเมินผล การวัดในชั้นเรียนการบันทึกและรายงานผล การวัดการเรียน
การสอน การวิจัยในชั้นเรียน และการมส่วนร่วมกับครอบครัว และชุมชนในการวัดการศึกษา สาขาวิชาสุข
ศึกษา
6.1.2 ตระหนักถึงคุณค่าของการนาแนวคิด หลักการและทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรการสอน
การวัดประเมินผล การควบคุมในชั้นเรียน การบันทึกและรายงานผลการวิจัยในชั้นเรียนและการมีส่วน
ร่วมกับครอบครัวและชุมชน มาใช้ในการพัฒนาศักยภาพและสุขภาพของผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่าง
บุคคล
6.1.3 มีความสามารถในการออกแบบหลักสูตร วางแผนการสอน จัดการชั้นเรียน วัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ บันทึกและรายงานผลการวัดการเรียนการสอน และทาวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนา
ศักยภาพและสุขภาพของผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล
6.1.4 สามารถประสานความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ระหว่างครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.5 สามารถจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ด้านทักษะชีวิต สุขภาพจิต สุขภาพกายได้อย่าง
เหมาะสม
6.1.6 สามารถพัฒนาผู้เรียนด้านทักษะการเรียนรู้ การดูและสุขภาพตนเองและผู้อื่น การทางาน
ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข และรู้เท่าการเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบัน
6.2 วิธีการสอน
6.2.1 ศึกษาดูงานจาหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
6.2.2 รายงานกลุ่ม
6.2.3 นาเสนอรายบุคคล
6.3 วิธีการประเมินผล
6.3.1 ประเมินจากทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองและสุขภาพสิ่งแวดล้อมรอบตัว
6.3.2 ประเมินจากแบบทดสอบท้ายบทและพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
6.3.3 ประเมินจากทักษะการตอบข้อซักถามรายกลุ่มและรายบุคคล
7
วิชา เพศศึกษา รหัสวิชา วท 073020
สัปดาห์
ที่
หน่วยการ
เรียนที่ คาบที่ เนื้อหาตามหลักสูตร
จานวน
คาบ
1 1 1-2 - ปฐมนิเทศรายวิชา
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเพศศึกษา
2
2 2 3-4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรื่องเพศ 2
3 3 5-6 การเจริญเติบโตและพัฒนาการทางเพศ 2
4 4 7-8 ความสัมพันธ์ระหว่างเพศ 2
5-6 5 9-12 การกาเนิดชีวิต 4
6 6 13-14 ความเชื่อและความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องเพศ 2
8-9 7 15-18 ความผิดปกติทางเพศ 4
10-11 8 19-22 เทคนิค วิธีการให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศศึกษา 4
12-14 9 23-29 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์กับการป้องกันรักษา 6
15 10 30-31 การวางแผนครอบครัว 2
16 11 32-33 กฎหมายเกี่ยวกับเรื่องเพศที่ควรทราบ 2
8
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
กิจกรรม
ที่
ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่
ประเมิน
สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 3.1 ทดสอบก่อนเรียน และ
หลังเรียน
สอบปลายภาค
1 – 14
16
5%
40%
2 5.3 การทดสอบความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับ
เพศศึกษา
14 5%
3 1.1, 3.1, 4.3 การจัดกิจกรรม
นาเสนอผลงาน
15 15%
20%
4 1.1, 4.3 การเข้ารับการปรึกษา
การสร้างผลงาน
ตามกาหนดนัด
หมาย
15%
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
เอกสารและตาราหลัก
นงลักษณ์ เอมประดิษฐ์ และคณะ. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเพศศึกษา. สานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ, 2546.
สุชาติ โสมประยูร และคณะ. เพศศึกษา. สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด ครั้งที่ 7
กรุงเทพฯ , 2546.
วันทนีย์ วาสิกะสิน และคณะ. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเพศศึกษา. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ, 2537.
พิสมัย เด่นดวงบริพันธ์ ความรู้เรื่องเพศ. พิมพ์ครั้งที่ 1 : 2538.
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
เอกสารและข้อมูลแนะนา
องค์การแพธ (PATH).
สังวาสสาระ . วารสารรายเดือน .
นภาคลีนิคโรงพยาบาลอุดรธานี
ว็บไซด์ประกอบการสอน
เวบเพศศึกษา
9
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
- แบบประเมินผู้สอน สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
- สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน
- แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนวิชาเพศศึกษา
- ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การปรับปรุงการสอน
- ทาวิจัยในชั้นเรียน ในการเปรียบเทียบการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ที่
เรียนวิชาเพศศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี เพื่อนามาศึกษาพัฒนาการของนักศึกษาว่ามีความรู้
เพิ่มขึ้นหรือไม่ก่อนเรียนวิชาเพศศึกษา กับหลังเรียนวิชานี้ หากคะแนนพัฒนาของนักศึกษาคนใดไม่พัฒนาก็จะ
นามาสอนเสริมเป็นรายบุคคล
4. การทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
- การทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการนาผลจากงานวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งจะมีคะแนน
ของนักศึกษาเป็นรายบุคคล พร้อมคะแนนพัฒนาการของนักศึกษา มาเปรียบเทียบกับคะแนนสอบปลายภาค
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
ใช้วงจรเดมมิ่ง หรือ PDCA มาทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
- นาแนวการสอนซึ่งถือว่าเป็น Planning มาเป็นหลัก และสอนให้ได้ตามแนวการสอนที่วางไว้ ถือว่าเป็น
Doing จากนั่นก็ทบทวนการสอนในทุก ๆ สัปดาห์ว่าได้สอนเป็นไปตามแนวการสอนหรือไม่ ถือว่าเป็นการ
Checking และหากไม่เป็นไปตามที่ได้วางไว้ในแนวการสอนก็ทาการปรับปรุงแก้ไขที่แนวการสอนให้สอดคล้องกับ
สภาพการสอนจริงมากขึ้น แต่ถ้าหากเป็นไปตามแนวการสอนที่ได้วางไว้ก็ให้กาหนดเป็นแนวการสอนที่ถูกต้อง
เหมาะสาหรับใช้เป็นแนวการสอนต่อไป ขั้นนี้ถือว่าเป็น Action
10
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.3)
วท 073020 วิชาเพศศึกษา (Sex Education)
ผศ.ภควรรณ อ่อนคา
สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี
1/2555

Recommandé

มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา par
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬาไชยยา มะณี
1.5K vues11 diapositives
มคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกา par
มคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกามคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกา
มคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกาไชยยา มะณี
779 vues16 diapositives
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ par
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
20.6K vues6 diapositives
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก par
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกChalit Arm'k
342 vues28 diapositives
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1 par
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 12557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1WC Triumph
557 vues15 diapositives

Contenu connexe

Tendances

แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ par
แผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพแผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
14.6K vues24 diapositives
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1 par
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1ไชยยา มะณี
5.2K vues19 diapositives
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 par
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2thkitiya
10.6K vues10 diapositives
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ par
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
883 vues15 diapositives
Mko3 หลักชีววิทยา par
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
1K vues13 diapositives
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา par
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬามคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬาไชยยา มะณี
2.5K vues8 diapositives

Tendances(20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 par thkitiya
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
thkitiya10.6K vues
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา par ไชยยา มะณี
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬามคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55 par Decode Ac
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
Decode Ac39.7K vues
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี par Nattapon
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
Nattapon3.4K vues
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง par Kru Tew Suetrong
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
Kru Tew Suetrong87.8K vues
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา par tassanee chaicharoen
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา par Nanzzy Sutthanont
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Nanzzy Sutthanont2.9K vues
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล par wattanaka
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
wattanaka10.5K vues
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3 par tassanee chaicharoen
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผน Stad par nangnut
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
nangnut3.8K vues
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2 par sonsukda
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
sonsukda22.3K vues
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56 par Pochchara Tiamwong
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค5620แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56

En vedette

แบบประเมินผลโครงการอบรมSm par
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmแบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmชิตชัย โพธิ์ประภา
15.8K vues3 diapositives
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32 par
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32ฺBadBoy 20151963
880 vues85 diapositives
แบบสอบถาม Social par
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Socialkwang_reindiiz
55.4K vues2 diapositives
รายงานประเมินระดม57 par
รายงานประเมินระดม57รายงานประเมินระดม57
รายงานประเมินระดม57Wichai Likitponrak
8.9K vues14 diapositives
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ par
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการWichai Likitponrak
25.5K vues23 diapositives
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส par
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสสำเร็จ นางสีคุณ
55.8K vues11 diapositives

En vedette(7)

30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32 par ฺBadBoy 20151963
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
แบบสอบถาม Social par kwang_reindiiz
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Social
kwang_reindiiz55.4K vues
รายงานประเมินระดม57 par Wichai Likitponrak
รายงานประเมินระดม57รายงานประเมินระดม57
รายงานประเมินระดม57
Wichai Likitponrak8.9K vues
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ par Wichai Likitponrak
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
Wichai Likitponrak25.5K vues
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส par สำเร็จ นางสีคุณ
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส

Similaire à มคอ3เพศศึกษา

มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา par
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกาไชยยา มะณี
4.1K vues10 diapositives
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา par
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬาไชยยา มะณี
398 vues11 diapositives
มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพ par
มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพมคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพ
มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพไชยยา มะณี
3K vues10 diapositives
มคอ.3 il156 par
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156Ajnawa Sing
760 vues13 diapositives
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง) par
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
936 vues15 diapositives
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2 par
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2ไชยยา มะณี
2.6K vues12 diapositives

Similaire à มคอ3เพศศึกษา(20)

มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา par ไชยยา มะณี
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2 par ไชยยา มะณี
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์ par Wongvian Wongkaso
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง par Pochchara Tiamwong
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
Pochchara Tiamwong3.6K vues
งานนำเสนอ1 par bb5311600637
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
bb53116006372.8K vues
มคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdf par TeerawutSavangboon
มคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdfมคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdf
มคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdf
วิจัยสุขศึกษา par an1030
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
an103013.2K vues
งานนำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน par chueng
งานนำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน งานนำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
งานนำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
chueng2.4K vues
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา par ไชยยา มะณี
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา

Plus de ไชยยา มะณี

ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก... par
ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...
ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...ไชยยา มะณี
268 vues4 diapositives
ประกาศ par
ประกาศประกาศ
ประกาศไชยยา มะณี
414 vues4 diapositives
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา par
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬาไชยยา มะณี
1.4K vues12 diapositives
พิสิษฐ์ par
พิสิษฐ์พิสิษฐ์
พิสิษฐ์ไชยยา มะณี
174 vues1 diapositive
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา par
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬาไชยยา มะณี
4.6K vues11 diapositives
ตุลา 1 par
ตุลา 1ตุลา 1
ตุลา 1ไชยยา มะณี
141 vues1 diapositive

Plus de ไชยยา มะณี(9)

ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก... par ไชยยา มะณี
ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...
ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา par ไชยยา มะณี
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา par ไชยยา มะณี
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา

มคอ3เพศศึกษา

  • 1. มคอ 3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา: คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา วท 073020 เพศศึกษา 2. จานวนหน่วยกิต 2 (2-0-4) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา ประเภทของรายวิชา หมวดวิชาเลือก 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภควรรณ อ่อนคา 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคเรียนที่ 1 ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาพลศึกษา 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) -ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) -ไม่มี 8. สถานที่เรียน ห้อง 314 อาคาร 3 9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 14 พฤษภาคม 2555
  • 2. 2 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเพศและเพศศึกษา 1.2 เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญของเพศชาย เพศหญิงและ เพศศึกษา 1.3 เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติตนในเรื่องเพศ การสร้างสัมพันธภาพทางเพศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมตาม บทบาททางเพศ 1.4 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติตนให้ปลอดภัย จากการมีเพศสัมพันธ์ที่เหมาะสม มีการวางแผนในการ ดาเนินชีวิตและการวางแผนครอบครัว รู้จักปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศ 1.5 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้เรื่องเพศศึกษา ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและถ่ายทอดความรู้ให้บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้มีความสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี ของสานักงาน คณะกรรมการอุดมศึกษา และเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพครูและบุคลกรทางการศึกษาของครุสภา หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ คาอธิบายรายวิชา ศึกษาลักษณะความหมายของเพศ ความรู้เรื่องเพศ การเจริญเติบโต และพัฒนาการทางเพศ การมีเพศสัมพันธ์ และการปฏิสนธิ ความเชื่อและความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องเพศ ความผิดปกติทางเพศ เทคนิควิธีการให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศศึกษา การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย การวางแผนครอบครัว กฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง 30 ชั่วโมง สอนเสริมตามความ ต้องการของนักศึกษา เฉพาะราย - 60 ชั่วโมง 3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล - อาจารย์ประจารายวิชา แจ้งการเข้าพบให้นักศึกษาทราบในชั้นเรียน - อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ ทุกวันพุธ ตั้งแต่เวลา 13.00 – 18.00 น. (โดยนักศึกษาที่ต้องการขอคาปรึกษาต้องนัดอาจารย์ก่อนเข้าพบ)
  • 3. 3 หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา สามารถปฏิบัติตนตามสมรรถนะ ด้านจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู (Teacher ‘s Ethics And Integrity) เช่น ความรักและความศรัทธาในวิชาชีพครู มีวินัยและความรับผิดชอบในวิชาชีพ การดารง ตนอย่างเหมาะสม ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม 1.2 วิธีการสอน 1.2.1 สอดแทรกเนื้อหา ด้านคุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู 1.2.2 ทบทวนกฎระเบียบ ข้อบังคับของนักศึกษา 1.2.3 แจ้งข้อตกลงก่อนเรียน ให้นักศึกษาทราบ 1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 สังเกตพฤติกรรมในการเรียนจรรยาบรรณวิชาชีพครู 1.3.2 การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงตามเวลา 1.3.3 การเคารพกติกาและข้อตกลงก่อนเรียน 1.3.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจวิชาพื้นฐานวิชาสุขศึกษา อย่างเป็นระบบและสามารถบูรณาการความรู้ที่ เกี่ยวข้องกับเพศศึกษา ไปใช้ในชีวิตประจาวันและประกอบวิชาชีพครูได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.1.2 ตระหนักถึงความสาคัญของหลักแนวคิด ทฤษฎี และหลักการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนการ วิจัยเพื่อหาองค์ความรู้ ด้านวิชาสุขศึกษาได้อย่างสมบูรณ์ 2.1.3 มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงคุณค่าของศาสตร์ทางสาขาวิชาสุขศึกษา ธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบข้อบังคับ 2.1.4 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และนาความรู้ไปปรับใช้กับวิชาชีพครูได้อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 2.1.5 สามารถบริหารหลักสูตรและจัดการเรียนรู้ในสาขาวิชาสุขศึกษา เช่น การออกแบบการเรียนรู้ การสร้างและพัฒนาหลักสูตร การใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ มีความสามารถในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านวิชาสุขศึกษา 2.2 วิธีการสอน เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น อภิปรายกลุ่ม ทางานกลุ่ม บทบาทสมมุติ การนาเสนอผลงาน ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เป็นต้น 2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 ประเมินคุณภาพงานที่แสดงถึง ความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การอ้างอิงเอกสาร เช่น ไม่ขโมยผลงานมาเป็นของตนเอง 2.3.2 ทบทวนท้ายบทเรียนและสอบปลายภาค
  • 4. 4 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 3.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักและกระบวนการค้นหาข้อเท็จจริง และสามารถประเมิน ข้อมูล ทางสุขภาพที่หลากหลายเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง 3.1.2 สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนทางสังคมและวัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อมสามารถปรับตัว และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างสรรค์ โดยคานึงถึงความรู้ ทางทฤษฎี ประสบการณ์จากการปฏิบัติและผลกระทบจากการตัดสินใจ 3.1.3 สามารถใช้ทักษะความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาชีพครู และศาสตร์สาขาวิชาสุขศึกษา มีกระบวนการ คิดอย่างเป็นระบบ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาสุขภาพ การพัฒนาตนเอง การพัฒนาผู้เรียนรวมทั้งการวัด การ เรียนการสอน เพื่อการเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.2 วิธีการสอน 3.2.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียน คิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เช่น อภิปรายกลุ่ม ฝึกแก้ปัญหา กลุ่ม จัดสถานการณ์จาลองให้ผู้เรียนตัดสินใจ 3.2.2 สอดแทรกกิจกรรมที่นักศึกษาต้องค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง โดยนา หลักวิชาการไปใช้อ้างอิง ได้อย่างถูกต้อง 3.2.3 ฝึกนักศึกษาให้สามารถพัฒนาคุณภาพตนเองและสังคมได้อย่างสมดุล 3.3 วิธีการประเมิน 3.3.1 ประเมินจากการแสดงความคิดเห็นในห้องเรียน และเสนอความคิดเห็นในการร่วมกิจกรรม กลุ่ม 3.3.2 ประเมินจากคุณภาพของงานที่แสดงถึงการค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติมต่อเนื่องและมี วิจารณญาณอย่างถูกต้อง 3.3.3 ประเมินจากพัฒนาการด้านความรู้ ความคิดของผู้เรียนจากการนาข้อมูลมาใช้อย่างถูกต้อง มี เหตุผลเป็นระบบและสร้างสรรค์ 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 4.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของตนเองในการทางานและ การอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ และในการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.1.2 มีความรู้ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของวิชาชีพครูและปฏิบัติต่อผู้เรียนอย่าง เป็นธรรมและเสมอภาค 4.1.3 ตระหนักถึงคุณค่าบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของตนเอง การอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่าง สร้างสรรค์ การเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่องปฏิบัติต่อผู้เรียนอย่างกัลยาณมิตร 4.1.4 มีภาวะผู้นาในสถานการณ์ที่ไม่ชัดเจนได้อย่างเหมาะสมและสามารถใช้นวัตกรรม ในการ วิเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหากลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.5 มีความรับผิดชอบสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองและวิชาชีพครู อย่างต่อเนื่อง และปฏิบัติต่อ ผู้เรียนด้วยมิตรไมตรีที่ดี 4.1.6 มีภาวะผู้นา (Teacher Leadership) มีความสามารถในการสนทนาได้อย่างสร้างสรรค์ เป็น บุคคลแห่งการเปลี่ยนแปลง มีความสามารถในการปฏิบัติงานอย่างไตร่ตรอง โดยมุ่งพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของ ผู้เรียน 4.1.7 สามารถสร้างสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน เพื่อการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 5. 5 4.2 วิธีการสอน 4.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านประสบการณ์ตรงจากการทางานเป็นคู่หรือเป็นกลุ่ม เพื่อฝึกความ รับผิดชอบ ทักษะความเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี มีทักษะการสร้างมนุษยสัมพันธ์ ปรับตัวยอมรับตนเอง ยอมรับ ความแตกต่างของคนในสังคม 4.2.2 มอบหมายกิจกรรมกลุ่มทั้งในและนอกห้องเรียน เพื่อฝึกการร่วมทางานกับผู้อื่นเคารพกติกา สังคม 4.2.3 ให้นักศึกษาฝึกวิพากษ์วิจารณ์ในชั้นเรียน จากปัญหาสังคมที่เป็นประเด็นสาธารณะ เพื่อฝึกการ ยอมรับความคิดเห็นที่หลากหลาย 4.3 วิธีการประเมินผล 4.3.1 สังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมกลุ่มของผู้เรียนผู้สอน 4.3.2 ประเมินทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ สร้างเครื่องมือให้ผู้เรียน ประเมินผลตนเองและประเมินกลุ่มเพื่อน 4.3.3 ประเมินคุณภาพงานที่มอบหมาย ประเมินการเสนอผลงาน 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 5.1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพูด การเขียน เทคโนโลยีสารสนเทศและคณิตศาสตร์และ เทคนิคทางสถิติเพื่อการสื่อสารการเรียนรู้ การเก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมาย และการ เสนอข้อมูลเพื่อสนแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน และการจัดการเรียน การสอน ในสาขาวิชาวิชาสุขศึกษา 5.1.2 ตระหนักถึงคุณค่าของหลักการพูด การเขียน เทคโนโลยีสารสนเทศและคณิตศาสตร์และ เทคนิคทางสถิติเพื่อการสื่อสารการเรียนรู้ การเก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมาย และการ เสนอข้อมูลเพื่อสนแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน และการจัดการเรียน การสอน ในสาขาวิชาวิชาสุขศึกษาได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 5.1.3 สามารถใช้ภาษาพูด ภาษาเขียน เทคโนโลยีสารสนเทศและคณิตศาสตร์และเทคนิคทางสถิติ เพื่อการสื่อสารการเรียนรู้ การเก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมาย และการเสนอข้อมูลเพื่อสน แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน และการจัดการเรียน การสอน ในสาขาวิชาวิชาสุขศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 วิธีการสอน 5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยการจัดประสบการณ์ตรงให้ผู้เรียนได้มีโอกาสใช้สถิติพื้นฐานใน การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์และนาเสนอด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2.2 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ทันสมัยตรงกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการ 5.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียน แสดงความสามารถในการสื่อสารเพื่อให้เหตุผล สรุปผลและนาเสนอข้อมูลต่างๆ อย่างถูต้องและสร้างสรรค์ 5.3 วิธีการประเมินผล 5.3.1 ประเมินผลจากการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้สะท้องความรู้ ความคิด ความเข้าใจ จากการ ถ่ายทอด โดยด้านเทคโนโลยีต่างๆ 5.3.2 ประเมินทักษะการใช้เทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา และการใช้เทคโนโลยี ในการนาเสนองานและในกิจกรรมเสริมสร้างหลักสูตรต่างๆ 5.3.3 ทดสอบการวัดทักษะเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีตวามความเหมาะสม
  • 6. 6 6. ทักษะการจัดการเรียนรู้ 6.1 ทักษะการจัดการเรียนรู้ที่ต้องพัฒนา 6.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ แนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ หลักสูตรการเรียนการสอนการวัดประเมินผล การวัดในชั้นเรียนการบันทึกและรายงานผล การวัดการเรียน การสอน การวิจัยในชั้นเรียน และการมส่วนร่วมกับครอบครัว และชุมชนในการวัดการศึกษา สาขาวิชาสุข ศึกษา 6.1.2 ตระหนักถึงคุณค่าของการนาแนวคิด หลักการและทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรการสอน การวัดประเมินผล การควบคุมในชั้นเรียน การบันทึกและรายงานผลการวิจัยในชั้นเรียนและการมีส่วน ร่วมกับครอบครัวและชุมชน มาใช้ในการพัฒนาศักยภาพและสุขภาพของผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่าง บุคคล 6.1.3 มีความสามารถในการออกแบบหลักสูตร วางแผนการสอน จัดการชั้นเรียน วัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ บันทึกและรายงานผลการวัดการเรียนการสอน และทาวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนา ศักยภาพและสุขภาพของผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล 6.1.4 สามารถประสานความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ระหว่างครอบครัว โรงเรียนและชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1.5 สามารถจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ด้านทักษะชีวิต สุขภาพจิต สุขภาพกายได้อย่าง เหมาะสม 6.1.6 สามารถพัฒนาผู้เรียนด้านทักษะการเรียนรู้ การดูและสุขภาพตนเองและผู้อื่น การทางาน ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข และรู้เท่าการเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบัน 6.2 วิธีการสอน 6.2.1 ศึกษาดูงานจาหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6.2.2 รายงานกลุ่ม 6.2.3 นาเสนอรายบุคคล 6.3 วิธีการประเมินผล 6.3.1 ประเมินจากทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองและสุขภาพสิ่งแวดล้อมรอบตัว 6.3.2 ประเมินจากแบบทดสอบท้ายบทและพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม 6.3.3 ประเมินจากทักษะการตอบข้อซักถามรายกลุ่มและรายบุคคล
  • 7. 7 วิชา เพศศึกษา รหัสวิชา วท 073020 สัปดาห์ ที่ หน่วยการ เรียนที่ คาบที่ เนื้อหาตามหลักสูตร จานวน คาบ 1 1 1-2 - ปฐมนิเทศรายวิชา - ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเพศศึกษา 2 2 2 3-4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรื่องเพศ 2 3 3 5-6 การเจริญเติบโตและพัฒนาการทางเพศ 2 4 4 7-8 ความสัมพันธ์ระหว่างเพศ 2 5-6 5 9-12 การกาเนิดชีวิต 4 6 6 13-14 ความเชื่อและความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องเพศ 2 8-9 7 15-18 ความผิดปกติทางเพศ 4 10-11 8 19-22 เทคนิค วิธีการให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศศึกษา 4 12-14 9 23-29 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์กับการป้องกันรักษา 6 15 10 30-31 การวางแผนครอบครัว 2 16 11 32-33 กฎหมายเกี่ยวกับเรื่องเพศที่ควรทราบ 2
  • 8. 8 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรม ที่ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล 1 2.1, 3.1 ทดสอบก่อนเรียน และ หลังเรียน สอบปลายภาค 1 – 14 16 5% 40% 2 5.3 การทดสอบความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ เพศศึกษา 14 5% 3 1.1, 3.1, 4.3 การจัดกิจกรรม นาเสนอผลงาน 15 15% 20% 4 1.1, 4.3 การเข้ารับการปรึกษา การสร้างผลงาน ตามกาหนดนัด หมาย 15% หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน เอกสารและตาราหลัก นงลักษณ์ เอมประดิษฐ์ และคณะ. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเพศศึกษา. สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ, 2546. สุชาติ โสมประยูร และคณะ. เพศศึกษา. สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด ครั้งที่ 7 กรุงเทพฯ , 2546. วันทนีย์ วาสิกะสิน และคณะ. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเพศศึกษา. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ, 2537. พิสมัย เด่นดวงบริพันธ์ ความรู้เรื่องเพศ. พิมพ์ครั้งที่ 1 : 2538. 2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ เอกสารและข้อมูลแนะนา องค์การแพธ (PATH). สังวาสสาระ . วารสารรายเดือน . นภาคลีนิคโรงพยาบาลอุดรธานี ว็บไซด์ประกอบการสอน เวบเพศศึกษา
  • 9. 9 หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา - แบบประเมินผู้สอน สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน - สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน - แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนวิชาเพศศึกษา - ผลการเรียนของนักศึกษา 3. การปรับปรุงการสอน - ทาวิจัยในชั้นเรียน ในการเปรียบเทียบการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ที่ เรียนวิชาเพศศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี เพื่อนามาศึกษาพัฒนาการของนักศึกษาว่ามีความรู้ เพิ่มขึ้นหรือไม่ก่อนเรียนวิชาเพศศึกษา กับหลังเรียนวิชานี้ หากคะแนนพัฒนาของนักศึกษาคนใดไม่พัฒนาก็จะ นามาสอนเสริมเป็นรายบุคคล 4. การทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา - การทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการนาผลจากงานวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งจะมีคะแนน ของนักศึกษาเป็นรายบุคคล พร้อมคะแนนพัฒนาการของนักศึกษา มาเปรียบเทียบกับคะแนนสอบปลายภาค 5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ใช้วงจรเดมมิ่ง หรือ PDCA มาทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา - นาแนวการสอนซึ่งถือว่าเป็น Planning มาเป็นหลัก และสอนให้ได้ตามแนวการสอนที่วางไว้ ถือว่าเป็น Doing จากนั่นก็ทบทวนการสอนในทุก ๆ สัปดาห์ว่าได้สอนเป็นไปตามแนวการสอนหรือไม่ ถือว่าเป็นการ Checking และหากไม่เป็นไปตามที่ได้วางไว้ในแนวการสอนก็ทาการปรับปรุงแก้ไขที่แนวการสอนให้สอดคล้องกับ สภาพการสอนจริงมากขึ้น แต่ถ้าหากเป็นไปตามแนวการสอนที่ได้วางไว้ก็ให้กาหนดเป็นแนวการสอนที่ถูกต้อง เหมาะสาหรับใช้เป็นแนวการสอนต่อไป ขั้นนี้ถือว่าเป็น Action
  • 10. 10 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.3) วท 073020 วิชาเพศศึกษา (Sex Education) ผศ.ภควรรณ อ่อนคา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี 1/2555