SlideShare a Scribd company logo
1 of 70
Download to read offline
บทที่ 1
การจัดตั้งและการแบ่งผลกาไรขาดทุนของห้างหุ้น่่นน
ลักษณะทั่วไปของห้างหุ้นส่าน
ความหมายของห้างหุ้นส่วน ห้างหุ้นหมายถึงกิจการที่กิจการจะต้องมี
บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปลงทุนร่วมกันโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะแบ่งผลกาไร
ขาดทุนระหว่างกันตามเงื่อนไขที่ได้ตกลงกันไว้ซึ่งผู้ที่ร่วมลงทุนในกิจการ
ประเภทห้างหุ้นส่านแต่ละคนเรียกว่า ผู้เป็นหุ้นส่วน
ข้อดีของกิจการประเภทห้างหุ้นส่วนคือ การตัดสินใจในการ
บริหารงานมีความรอบคอบมากขึ้นเพราะมีผู้รับผิดชอบหลายคน และ
สามารถเพิ่มต้นทุนหรือขยายวงเงินกู้ได้ง่ายกว่ากิจการเจ้าของคนเดียว แต่
ความคล่องตัวอาจลดลงเพราะกิจการตัดสินใจมีร่วมพิจารณามากขึ้น
ประเภทของห้างหุ้นส่าน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1013
ห้างหุ้นส่วนแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1.ห้างหุ้นส่วนสามัญ(Unlimited Partnership) มีลักษณะสาคัญดังนี้
(ก) ผู้เป็นหุ้นส่วนมีเพรียงประเดียว คือ หุ้นส่วนประเภท ไม่จากัดความผิด โดยผู้เป็น
หุ้นส่วนทุกคนต้องร่วมกันรับผิดชอบในหนี้สินของห้างหุ้นส่วนที่มีต่อบุคคลภายนอก
โดยไม่จากัดจานวนดังนั้น คุณสมบัติของผู้เป็นหุ้นส่วนจึงถือเป็นสาระสาคัญ หากผู้เป็น
หุ้นส่วนคนใดลมละลาย ตาย หรือ เป็นบุคคลไร้ความสามารถ ห้างหุ้นส่วนสามัญจะต้อง
เลิกไปด้วยเหตุอันเกิดจากตัวบุคคลดังกล่าว
(ข) ห้าวหุ้นส่วนสามัญแบ่งเป็น 2ประเภท ตามลักษณะการจดทะเบียนนิติบุคคล ดั้งนี้
- ห้างหุ้นส่วนสามัญ หมายถึงห้างหุ้นส่วนสามัญที่ไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลจึงมี
สภาพบุคคลเป็นคณะบุคคล มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในอัตราก้าวหน้า
เช่นเดียวกับกิจการประเภทเจ้าของคนเดียว และต้องใช้คานาหน้าชื่อห้างหุ้นส่วน ห้าง
หุ้นส่วนสามัญ
- ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล หมายถึงห้างหุ้นสามัญซึ่งจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล จึงมี
สภาพเป็นนิติบุคคลและมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้จากกาไรสุทธิในอัตรา 30% โดยต้องใช้
คานาหน้าชื่อห้างหุ้นส่วนว่า ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
2. ห้างหุ้นส่วนจาจัด (limited Partnership) มีลักษณะสาคัญดังนี้
(ก) ผู้เป็นส่วนมี 2 ประเภทคือ ต้องมีหุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิดอย่างน้อย 1 คน และ
หุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิดอย่างน้อย 1 คน
(ข) ห้างหุ้นส่วนต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้จากกาไรสุทธิในอัตรา
30% และต้องใช้คานาหน้าชื่อห้างหุ้นส่วนว่า ห้างหุ้นส่วนจากัด
อนึ่ง กรมสรรพากรได้ประกาศลดอัตราภาษีเงินได้ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน
นิติบุคคลที่เป็นธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมซึ่งเริ่มมีเงินทุนจดทะเบียนที่ชาระแล้วไม่
เกิน 5 ล้านบาท สาหรับกาไรสุทธิที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชีซึ่งเริ่มในหรือหลังวันที่
1 มกราคม พ.ศ 2547 เป็นต้น ดังนี้ (พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการลดอัตราราภาษี ฉบับที่ 394 พ.ศ 2545 และแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2547)
กาไรสุทธิ 0 – 1,000,000บาท เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรา 15 %
กาไรสุทธิ 0 – 1,000,001- 3,000,000บาท เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรา 25%
กาไรสุทธิ 0 – 3000,001 ขึ้นไป เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรา 30%
ความรับผิดของผู้เป็นหุ้นส่วน
กฎหมายบัญญัติให้ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนร่วมกันรับผิดในหนี้สินของของห้าง
หุ้นส่วนโดยไม่จากัดจานวน ยกเว้นหุ้นส่วนประเภทจาจัดความรับผิด ซึ่งตาม
กฎหมายสามารถจาแนกผู้หุ้นส่วนได้ 2 ประเภท ตามความรับผิดในหนี้สินของ
ห้างหุ้นส่วนดังนี้
1.หุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิด หมายถึงหุ้นส่วนซึ่งรับรับผิดชอบใน
หนี้สินของห้างหุ้นส่วนโดยไม่เกิดจานวนเงินที่ตนจะลงทุนเท่านั้น หุ้นส่วน
ประเภทนี้จึงไม่มีสิทธิเข้ามาเป็นผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลและไม่สิทธิทา
นิติกรรมสัญญาหรือจัดการงานในนามของห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลช่วยได้ แต่
สามารถออกความเห็น ให้คาปรึกษา และตรวจสอบสมุดบัญชีของห้างหุ้นส่วน
ได้ การลงทุนของหุ้นส่วนประเภทจาจัดความรับผิดจะต้องนาเงินสดหรือทรัพย์
อื่นมาลงทุน จะลงทุนด้วยแรงงานไม่ได้
2.หุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิด หมายถึงหุ้นส่วนซึ่งจะต้อง
รับผิดชอบในหนี้สินของห้างหุ้นส่วนโดยไม่จากัดจานวน กล่าวคือในกรณีที่
สินทรัพย์ของห้างฯ ที่มีอยู่ไม่เพรียงพอต่อการชาระหนี้ เจ้าหนี้สามารถฟองร้อง
เอาจากสินทรัพย์ส่วนตัวของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนได้โดยไม่จาจัดจานวน ไม่
ว่าหุ้นส่วนคนนั้นจะลงทุนหรือมีสิทธิส่วนได้เสียในห้างกุ้นส่วนเป็นจานวน
เท่าใด
หุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิดเท่านั้นที่มีสิทธิในการทาหน้าที่เป็น
หุ้นส่วนผู้จัดการ ของ
ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เพราะเป็นผู้ที่ต้องรับผิดชอบต่อผลการดาเนินงาน
และหนี้ของห้างหุ้นส่วนโดยไมจากัดจานวน หุ้นส่วนประเภทหนี้อาจจดลงทน
เป็นเงินสด สินทรัพย์ หรืออาจลงทุนด้วยแรงงานก็ได้
สัญญาการจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนอาจตกลงกันด้วยวาจา
หรือเป็นลักษณ์อักษรก็ได้ แต่เพื่อป้องกันมิให้เกิดการโต้แย้งกันภายหลังควรมีการจัดทา
สัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนเป็นหลักฐานไว้ โดยระบุเกี่ยวกับข้อตกลงต่างๆเช่น
-ชื่อ และสถานที่ตั้งของห้างหุ้นส่วน ชื่อ และที่อยู่ของผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคน
-วัตถุประสงค์ของห้างหุ้นส่วน
-เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคน อัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน รวมทั้งการคิด
ผลประโยชน์ตอบแทนให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนในกรณีต่างๆ เช่น การคิดดอกเบี้ยเงินทุน
เงินเดือน หรือโบนัส เป็น
-อานาจหน้าที่ของผู้เป็นหุ้นส่วนในการจัดการงานของห้างหุ้นส่วน
-นโยบายและแนวปฏิบัติทางด้านบัญชีและการเงิน รวมทั้งงวดบัญชีและวันสิ้นงวด
-การเพิ่มทุน ลดทุน และการเบิกใช้ส่วนตัวของผู้เป็นหุ้นส่วน
-การดาเนินการและการจ่ายคือทุนในกรณีที่ผู้เป็นหุ้นส่วนบางคนตาย หรือลาออก
-การรับหุ้นส่วนใหม่ และการเลิกกิจการห้างหุ้นส่วนเป็น
การบัญชีของห้างหุ้นส่วน
หลักการบันทึกบัญชีและการจัดทางบการเงินของธุรกิจโดยทั่วไปใน
ส่วนที่เกี่ยวกับรายได้ค่าใช้จ่าย สินทรัพย์และหนี้สินนั้นจะไม่ต่างกัน ยกเว้น
รายการที่เกี่ยวกับทุนซึ่งมีวิธีการบันทึกบัญชีและการแสดงรายการในงบดุล
แตกต่างกันออกไปตามลักษณะของรูปแบบธุรกิจ เช่น กิจการเจ้าของคนเดียว
ห้างหุ้นหรือบริษัทจาจัด การบัญชีของกิจการห้างหุ้นส่วนส่วนในบทนี้จึง
กล่าวจึงเฉพาะรายการเกี่ยวกับทุนรวมทั้งรายการเกี่ยวกับเงินทดรองและเงิน
กู้ยืมระห่าวงหุ้นส่วนและห้างหุ้นส่วน
เงินทดรองและเงินกู้หุ้นส่วน
การดาเนินงานของห้างหุ้นส่วนในบางครั้งอาจมีการจ่ายเงินทดรองให้กับผู้
เป็นหุ้นส่วนสาหรับใช้ในการดาเนินงาน หรือผู้เป็นหุ้นส่วนอาจขอกู้ยืมเงินจาก
ห้างหุ้นส่วนไปใช้ส่วนตัวเป็นการชั่วคราวได้ ในทางตรงข้ามเมื่อห้างหุ้นส่วน
ส่วนขาดสภาพคล่องก็อาจขอกู้ยืมเงินจากผู้เป็นหุ้นส่วนที่มีฐานะการเงินดี ซึ่งการ
บันทึกรายการดังกล่าวจะต้องแยกบัญชีต่างหากจากสินทรัพย์และหนี้สินที่มีต่อ
บุคคลภายนอก ดังนี้
1.เงินทดรองและเงินกู้ให้แก่หุ้นส่วน เมื่อห้างหุ้นส่วนจ่ายเงินทดรองหรือเงิน
กู้ยืมให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนอาจบันทึกไว้ในบัญชี”เงินทดรองให้แกหุ้นส่วน”
(Advance to Partners) หรือ “เงินกู้ให้แก่หุ้นส่วน” (Loans to partners) โดยถือเป็น
บัญชีประเภทลูกหนี้ซึ่งจะนาไปแสดงในงบดุลภายใต้หัวข้อสินทรัพย์หมุนเวียน
หากมีการคิดดอกเบี้ยเงินกู้ยืมจากหุ้นส่วนให้ถือเป็นรายได้อื่นของห้างหุ้นส่วน
2.เงินกู้จากหุ้นส่วน ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนกู้ยืมจากผู้เป็นหุ้นส่วนให้
บันทึกไว้ในบัญชี“เงินกู้จากหุ้นส่วน”(Loans from partners) โดยการคิด
ดอกเบี้ยเงินกู้ดังกล่าวขึ้นอยู่กับข้อตกลงตามสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนและ
ดอกเบี้ยจ่ายที่เกิดขึ้นถือเป็นค่าใช้จ่ายอื่นๆ ของกิจการห้างหุ้นส่วน
สาหรับบัญชีเงินกู้จากผู้เป็นหุ้นส่วนถือเป็นบัญชีประเภทเจ้าหนี้ ซึ้งจะ
นาไปแสดงภายใต้หัวข้อหนี้สินหมุนเวียนในงบดุลถ้าในระยะเวลาการจ่า
ชาระไม่เกิน 1 ปี
รายการเกี่ยวกับส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน
1.การลงทุน หมายถึงการที่ผู้ที่เป็นหุ้นส่วนนาเงินสดหรือสินทรัพย์อื่นมาลงทุนใน
กิจการ โดยอาจเป็นการลงทุนครั้งแรกเพื่อเริ่มจัดตั้งกิจการ หรือลงทุนเพิ่มเพื่อขยายกิจการ
หลังจากที่ดาเนินงานไปแล้ว ซึ่งผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนอาจลงทุนเพิ่มหรือไม่ก็ได้ขึ้นอยู่กับ
ข้อตกลงระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนกันโดยผู้ที่ไม่ลงทุนเพิ่มก็จะมีสิทธิส่วนได้เสียในห้าง
หุ้นส่วนในอัตราส่วนที่ต่าลง
2.การถอนทุน หรือการลดทุน หมายถึงการที่ผู้เป็นหุ้นส่วนถอนเงินทุนออกไปจาก
กิจการเพื่อลดยอดเงินลงทุน โดยอาจถอยเงินลงทุนเป็นเงินสดหรือสินทรัพย์ก็ได้
3.การเบิกใช้ส่วนตัว หมายถึงการที่ผู้เป็นหุ้นส่วนเบิกเงินสดหรือสินทรัพย์อื่นไปใช้
ส่วนตัวระหว่างงวด ซึ่งถือเป็นการถอนผลกาไรไปใช้ล่วงหน้าก่อนการปิดบัญชีสรุปผล
กาไรขาดทุนประจางวด
4.การแบ่งผลกาไรขาดทุน เมื่อทราบผลการดาเนินงานของห้างหุ้นส่วนว่ามีกาไรหรือ
ขาดทุนสุทธิประจางวดเป็นจานวนเท่าไดแล้ว อาจแบ่งผลกาไรขาดทุนทั้งหมดให้กับผู้เป็น
หุ้นส่วนทันทีหรืออาจแบ่งให้เพียงบางส่วนและเก็บไว้เป็นเงินกองกลางเพื่อใช้ในกิจการ
บางส่วนก็ได้
บัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วน สามารถบันทึกได้ 2 วิธีคือ
1. วิธีทุนคงที่ (Fixed Capital Method) ตามวิธีนี้ผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนจะมี
บัญชีเกี่ยวกับทุน 2 บัญชีคือ บัญชีทุน และบัญชีกระแสทุน
1.1. บัญชีทุน(Capital Account) บัญชีทุนใช้บันทึกเฉพาะรายการ
เปลี่ยนแปลงทุนที่มีลักษณะถาวร คือ รายการลงทุน และรายการถอนทุนหรือการ
ลดทุนของผู้เป็นหุ้นส่วน โดยกิจการจะต้องเปิดบัญชีของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคน
เช่น
ทุน-ก
ถอนทุน(ลดทุน) XX ลงทุนครั้งแรก/ลงทุนเพิ่ม XX
ทุน – ข
1.2 บัญชีกระแสทุน (Current Account)บัญชีกระแสทุนใช้สาหรับบันทึก
รายการเกี่ยวกับส่วนได้เสียของผู้เป็นรายการเปลี่ยนแปลงทุนที่มีลักษณะชั่วคราว
เช่น รายการเบิกใช้ส่วนตัว รายการเกี่ยวกับดอกเบี้ยเงินกู้หุ้นส่วน และรายการรับ
โอนส่วนแบ่งกาไรขาดทุน รวมทั้งดอกเบี้ยเงินทุน เงินเดือนและโบนัสหุ้นส่วน
เช่น
ถอนทุน(ลดทุน) XX ลงทุนครั้งแรก/ลงทุนเพิ่ม XX
กระแสทุน – ก
กระแสทุน - ข
เบิกใช้ส่วน XX
ดอกเบี้ยเงินกู้ที่คิดจากผู้เป็นหุ้นส่วน XX
ส่วนแบ่งผลขาดทุน XX
ดอกเบี้ยเงินกู้ที่คิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วน XX
ดอกเบี้ยเงินทุน/เงินเดือน/โบนัสหุ้นส่วน XX
ส่วนแบ่งผลกาไร XX
เบิกใช้ส่วน XX
ดอกเบี้ยเงินกู้ที่คิดจากผู้เป็นหุ้นส่วน XX
ส่วนแบ่งผลขาดทุน XX
ดอกเบี้ยเงินกู้ที่คิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วน XX
ดอกเบี้ยเงินทุน/เงินเดือน/โบนัสหุ้นส่วน XX
ส่วนแบ่งผลกาไร XX
2.วิธีทุนเปลี่ยน (Alternative Capital Method) ตามวิธีนี้จะไม่เปิด
บัญชีกระแสทุนขึ้นมาใช้ โดยผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนจะมี บัญชีทุน เพียง
บัญชีเดียวสาหรับใช้บันทึกทุกรายการเกี่ยวทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคน
ไม่ว่าจะเป็นรายการลงทุน การถอนทุน การเบิกใช้ส่วนตัวหรือการรับโอน
ส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนประจางวด ยอดคงเหลือในบัญชีตามวิธีนี้จึงอาจ
เปลี่ยนแปลงบ่อยไม่ค่อยคงที่เหมือนวิธีแรก การบันทึกรายการตามวิธีทุน
เปลี่ยนแปลงกล่าวโดยสรุปคือการนารายการในบัญชีทุนและบัญชีกระแสทุน
ตามวิธีทุนคงที่มาบันทึกรวมไว้ในบัญชีเดียวกัน เช่น
ทุน – ก
ทุน – ข
ถอนทุน(ลดทุน) XX
เบิกใช้ส่วนตัว XX
ดอกเบี้ยเงินกู้ที่คิดจากผู้เป็นหุ้นส่วน XX
ส่วนแบ่งผลขาดทุน XX
ลงทุนครั้งแรก/ลงทุนเพิ่ม XX
ดอกเบี้ยเงินกู้ที่คิดจากผู้เป็นหุ้นส่วน XX
ดอกเบี้ยเงินทุน/เงินเดือน/โบนัสหุ้นส่วน XX
ส่วนแบ่งผลกาไร XX
ถอนทุน(ลดทุน) XX
เบิกใช้ส่วนตัว XX
ดอกเบี้ยเงินกู้ที่คิดจากผู้เป็นหุ้นส่วน XX
ส่วนแบ่งผลขาดทุน XX
ลงทุนครั้งแรก/ลงทุนเพิ่ม XX
ดอกเบี้ยเงินกู้ที่คิดจากผู้เป็นหุ้นส่วน XX
ดอกเบี้ยเงินทุน/เงินเดือน/โบนัสหุ้นส่วน XX
ส่วนแบ่งผลกาไร XX
กิจการบางแห่งอาจใช้ทั้งสองวิธีผสมกัน โดยระหว่างงวดบันทึกรายการตามวิธีทุนคงที่
และหลังจากบันทึกการแบ่งผลกาไรขาดทุนสิ้นงวดแล้วจะปิดบัญชีกระแสทุนเข้าบัญชีทุน
หุ้นส่วนแต่ละคน
สาหรับประเทศไทย ห้างหุ้นส่วนสามัญที่ไม่ได้จดทะเบียนสามารถเลือกบันทึกบัญชี
ทุนตามวิธีใดก็ได้ แต่สาหรับห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์กาหนดให้ต้องระบุเงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนให้ชัดเจน ในกรณีที่มีการ
เปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วนต้องไปแจ้งขอจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงเงินทุนที่จด
ทะเบียนไว้ครั้งก่อนที่กระทรวงพาณิชย์ ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายดังกล่าว ห้าง
หุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลและห้างหุ้นส่วนจากัดควรบันทึกบัญชีทุนตามวิธีทุนคงที่ เพื่อให้ยอด
คงเหลือในบัญชีทุนจานวนเท่ากับทุนที่จดทะเบียนไว้เสมอ
นอกจากบัญชีทุนดังที่กล่าวแล้ว ห้างหุ้นส่วนบางแห่งอาจแบ่งผลกาไรขาดทุนเพียง
บางส่วนเพื่อกันเงินกาไรส่วนหนึ่งไว้ใช้ในกิจการ โดยเปิดบัญชีกาไรสะสมหรือกาไรสุทธิที่
ยังไม่แบ่งสาหรับใช้บันทึกกาไรสุทธิส่วนที่เหลือซึ่งกันไว้ใช้ในกิจการดังกล่าว
บัญชีกาไรสะสม (Retained Earnings Account) สาหรับห้างหุ้นส่วนที่มี
นโยบายแบ่งผลกาไรขาดทุนเพียงบางส่วน ทุกวันสิ้นงวดจะปิดยอดคงเหลือใน
บัญชียอดคงเหลือในบัญชีกาไรขาดทุนโอนเข้าบัญชีกาไรสะสมก่อน หลังจากนั้น
จึงแบ่งผลกาไรขาดทุนเข้าบัญชีทุนหรือกระแสทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนโดย
โอนออกจากบัญชีกาไรสะสม ซึ่งในกรณีที่กิจการมีกาไรสุทธิบัญชีกาไรสะสมจะ
ปรากฏดังนี้
กาไรสะสม
กระแสทุน – ก (ส่วนแบ่งผลกาไร) XX
กระแสทุน – ข (ส่วนแบ่งผลกาไร) XX
รับโอนผลกาไรสุทธิ XX
การบันทึกรายการเกี่ยวกับส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน รูปเปรียบเทียบได้ดังนี้
รายการ วิธีทุนคงที่ วิธีทุนเปลี่ยนแปลง
1.การลงทุนครั้งแรก และการเพิ่ม
ทุน
เดบิต เงินสด/สินทรัพย์ xx เดบิด เงินสด/สินทรัพย์ xx
เครดิต ทุน – ก xx เครดิต ทุน – ก xx
ทุน – ข xx ทุน – ข xx
2. การถอนทุน เดบิต ทุน – ก xx เดบิด ทุน – ก xx
ทุน – ข xx ทุน – ข xx
เครดิต เงินสด/สินทรัพย์ xx เครดิต เงินสด/สินทรัพย์ xx
3. การเบิกใช้ส่วนตัว เดบิต กระแสทุน - ก xx เดบิด ทุน – ก xx
กระแสทุน - ข xx ทุน – ข xx
เครดิต เงินสด/สินทรัพย์ xx เครดิต เงินสด/สินทรัพย์ Xx
4. สิ้นงวดแบ่งกาไรขาดทุน
4.1 แบ่งทั้งหมดให้หุ้นส่วน
- กรณีมีผลกาไรสุทธิ
เดบิต กาไรขาดทุน
กระแสทุน - ข
เครดิต กระแสทุน - ก
xx
xx
xx
เดบิต กาไรขาดทุน
เครดิต ทุน-ก
ทุน-ข
xx
xx
xx
รายการ วิธีทุนคงที่ วิธีทุนเปลี่ยนแปลง
- กรณีมีผลขาดทุนสุทธิ เดบิด กระแสทุน- ก xx เดบิต ทุน-ก xx
กระแสทุน - ข xx ทุน-ข xx
เครดิต กาไรขาดทุน xx เครดิต กาไรขาดทุน xx
4.2 แบ่งกาไรขาดทุน
บางส่วนที่เหลือคงไว้ในกิจการ เดบิด กระแสทุน xx เดบิต กาไรขาดทุน xx
- กรณีมีผลกาไรสุทธิ เครดิต กาไรสะสม xx เครดิต กาไรสะสม xx
เดบิต กาไรสะสม
เครดิต กระแสทุน-ก
กระแสทุน-ข
xx
xx
xx
เดบิต กาไรสะสม
เครดิต ทุน – ก
ทุน-ข
xx
xx
xx
-กรณีมีผลขาดทุนสุทธิ เดบิต กาไรสะสม
เครดิต กาไรขาดทุน
xx
xx
เดบิต กาไรสะสม
เครดิต กาไรขาดทน
xx
xx
เดบิตกระแสทุน– ก
กระแสทุน – ข
เครดิต กาไรสะสม
xx
xx
xx
เดบิต ทุน –ก
ทุน – ข
เครดิต กาไรสะสม
xx
xx
xx
หมายเหตุ : ตัวอย่างและเนื้อหาที่จะกล่าวต่อไปจะใช้วิธีทุนคงที่ซึ่งเป็นวิธีที่สอดคล้องตามกฎหมาย
ตัวอย่างที่ 1: ห้างหุ้นส่วนกุ้งแก้ว มีรายการบางส่วนระหว่างปี 25x1 ดังนี้
ม.ค. 2 เริ่มจัดตั้งกิจการโดยกุ้งนาเงินสดมาลงทุน 300,000 บาท แก้วนาเงินสด 100,000 บาท
และที่ดินซึ่งมีราคาตลาดในขณะนั้น 400,000 บาท มาลงทุน
ก.พ. 15 กุ้งนาเงินสดมาลงทุนเพิ่ม 200,000 บาท
มิ.ย. 30 กุ้งเบิกเงินสดไปใช้ส่วนตัวจานวน 10,000 บาท และแก้วเบิกสินค้าราคาทุน 5,000
บาท ไปใช้ส่วนตัว
ต.ค. 1 แก้วถอนเงินลงทุนออกไปเป็นเงินสดจานวน 40,000 บาท
ธ.ค. 31 ผลการดาเนินงานประจาปีมีกาไรสุทธิจานวน 160,000 บาท ให้คงไว้ในกิจการ 60,000
บาท กาไรที่เหลือแบ่งให้ผู้เป็นหุ้นส่วนในอัตราเท่ากัน
จากข้อมูลข้างต้นการบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปตามวิธีทุนคงที่จะปรากดดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน เดือน ปี รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
ม.ค. 2 เงินสด
ทุน – กุ้ง
กุ้งนาเงินสดมาลงทุน
300,000 -
300,000 -
2 เงินสด
ที่ดิน
ทุน – แก้ว
แก้วนเงินสดมาลงทุน
100,000
400,000
-
-
500,000 -
ก.พ.15 เงินสด
ทุน – กุ้ง
กุ้งนาเงินสดมาลงทุนเพิ่ม
200,000 -
200,000 -
มิ.ย. 30 กระแสทุน – กุ้ง
เงินสด
กุ้งเบิกเงินสดไปใช้ส่วนตัว
10,000 - 10,000 -
สมุดรายวันทั่วไป
ว/ด/ป รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
มิ.ย. 30 กระแสทุน – แก้ว
สินค้าคงเหลือ / ซื้อ
แก้วเบิกสินค้าไปใช้ส่วนตัว
5,000 -
5,000 -
ต.ค. 1 ทุน – แก้ว
เงินสด
แก้วถอนเงินลงทุนออกไปเป็นเงินสด
40,000 -
40,000 -
ธ.ค. 31 กาไรขาดทุน
กาไรสะสม
ปิดบัญชีกาไรขาดทุนเข้าบัญชีกาไรสะสม
160,000 -
160,000 -
31 กาไรสะสม
กระแสทุน – กุ้ง
กระแสทุน – แก้ว
บันทึกการแบ่งผลกาไรให้ผู้เป็นหุ้นส่วน
100,000 -
50,000
50,000
-
-
เมื่อผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภทแล้วเกี่ยวกับส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วนจะ
ปรากดดังนี้
ทุน -กุ้ง
ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญชี
เดบิต ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญชี
เครดิต
25x1
ธ.ค.31 ยอดยกไป  500,000 -
25x1
ม.ค. 2
ก.พ. 15
เงินสด
เงินสด
300,000
200,000
-
-
500,000 - 500,000 -
25x2
ม.ค. 1 ยอกยอดมา  500,000 -
ทุน - แก้ว
ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญชี
เดบิต ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญชี
เครดิต
25x1
ต.ค.1
ธ.ค. 31
เงินสด
ยอดยกไป 
40,000
460,000
-
-
25x1
ม.ค. 2
2
เงินสด
ที่ดิน
100,000
400,000
-
-
500,000 - 500,000 -
25x2
ม.ค. 1 ยอกยอดมา  460,000 -
กระแสทุน - กุ้ง
ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญ
ชี
เดบิต ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญ
ชี
เครดิต
25x1
มิ.ย.30
ธ.ค.31
เงินสด
ยอดยกไป 
10,000
40,000
-
-
25x1
ธ.ค. 31 กาไรสะสม 50,000 -
50,000 - 50,000 -
25x2
ม.ค. 1 ยอกยอดมา  400,000 -
กระแสทุน - แก้ว
ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญชี
เดบิต ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญ
ชี
เครดิต
25x1
มิ.ย. 30
ธ.ค.31
สินค้าคงเหลือ/
ซื้อ
ยอดยกไป

5,00
45,000
-
-
25x1
ธ.ค. 31 กาไรสะสม 50,000 -
50,000 - 50,000 -
25x2
ม.ค. 1 ยอกยอดมา  45,000 -
กาไรสะสม
ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญ
ชี
เดบิต ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญ
ชี
เครดิต
25x1
ธ.ค.31
31
31
กระแสทุน – กุ้ง
กระแสทุน -
แก้ว
ยอดยกไป

50,000
50,000
60,000
-
-
-
25x1
ธ.ค. 31 กาไรขาดทุน 160,000 -
160,000 - 160,000 -
25x2
ม.ค. 1 ยอกยอดมา  60,000 -
การแสดงส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วนในงบดุล ตามวิธีทุนคงที่ให้
แสดงบัญชีกระแสทุนแยกจากบัญชีทุน โดยห้างหุ้นส่วนสามัญนิติ
บุคคลและห้างหุ้นส่วนจากัดต้องแสดงรายการในงบดุลตามประกาศของ
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง “กาหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน
พ.ศ. 2544” หากบัญชีกระแสทุนมียอดคงเหลือด้านเครดิตถือเป็นหนี้สิน
หมุนเวียน ให้แสดงเป็นรายการเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลหรือกิจการ
ที่เกี่ยวข้องกัน หากมียอดคงเหลือด้านเดบิตถือเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน
ให้แสดงเป็นรายการเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้อง
กัน เช่น
ห้างหุ้นส่วนจากัดกุ้งแก้ว
งบดุล (บางส่วน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1
หน่วย : บาท
หนี้สินหมุนเวียน :
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน:
กระแสทุน – กุ้ง
กระแสทุน – แก้ว
ส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน:
ทุน – กุ้ง
ทุน – แก้ว
กาไรสะสมยังไม่ได้แบ่ง
รวมส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน
40,000
45,000
500,000
460,000
85,000
960,000
60,000
1,020,000
สาหรับห้างหุ้นส่วนสามัญที่ไม่ได้จดทะเบียนนิติบุคคล
หากต้องการแสดงบัญชีกระแสทุนอยู่ในส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน
สามารถทาได้ โดยแสดงเป็นรายการต่อจากบัญชีทุน ในกรณี
ที่บัญชีกระแสทุนหรือบัญชีกาไรสะสมมียอดคงเหลือด้านเดบิต
ให้แสดงจานวนเงินในเครื่องหมายวงเล็บ เช่น
ห้างหุ้นส่วนสามัญกุ้งแก้ว
งบดุล (บางส่วน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1
หน่วย : บาท
ส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน :
ทุน – กุ้ง
ทุน – แก้ว
กระแสทุน – กุ้ง
กระแสทุน – แก้ว
กาไรสะสม (กาไรสุทธิที่ยังไม่ได้แบ่ง)
รวมส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน
500,000
460,000
40,000
45,000
960,000
85,000
60,000
1,105,000
งบแสดงการเปลี่ยนแปลเงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วน กฎหมาย
มิได้บังคับให้ต้องจาทา แต่กิจการอาจจัดทาขึ้นหากผู้เป็นหุ้นส่วนต้องการ
ทราบรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงเงินทุนระหว่างงวด โดยสรุปยอดทุนต้น
งวด รายการเปลี่ยนแปลงทุนและยอดคงเหลือสิ้นงวด แยกรายการผู้เป็น
หุ้นส่วนแต่ละคน และอาจเพิ่มเติมรายการเกี่ยวกับบัญชีกระแสทุนเพื่อแสดง
เงินทุนทั้งสิ้น ดังนี้
ห้างหุ้นส่วนสามัญกุ้งแก้ว
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงเงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วน
สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25x1
หน่วย : บาท
ทุน . กระแสทุน . กาไร
สะสม
รวม
ยอดคงเหลือ 2
มกราคม
บวก เพิ่มทุน
กาไรสุทธิ
หัก ลดทุน
เบิกใช้ส่วนตัว
ยอดคงเหลือ 31
ธันวาคม
กุ้ง .
300,000
200,000
- .
500,000
-
- .
500,000
แก้ว .
500,000
-
-
.
500,000
40,000
-
.
460,000
กุ้ง
-
-
50,000
50,000
-
10,000
40,000
แก้ว
-
-
50,000
50,000
-
5,000
45,000
-
-
60,000
60,000
-
.
60,000
800,000
200,000
160,000
1,160,000
40,000
15,000
1,105,000
การแปรสภาพกิจการเจ้าของคนเดียวเป็นห้างหุ้นส่วน
หลังจากที่กิจการเจ้าของคนเดียวดาเนินธุรกิจไประยะเวลาหนึ่ง ถ้า
ต้องการขยายกิจการและเปลี่ยนห้างหุ้นส่วน สามารถนาสินทรัพย์และหนี้สิน
ในกิจการร้านค้าเดิมมาลงทุนจัดตั้งห้างหุ้นส่วนได้ โดยถือว่าร้านค้าเดิมได้เลิก
กิจการไปและจัดตั้งกิจการห้างหุ้นส่วนขึ้นมาแทน สาหรับหุ้นส่วนรายอื่นอาจ
ลงทุนด้วยเงินสดหรือทรัพย์อื่น หรือนาสินทรัพย์และหนี้สินในกิจการเดิมของ
ตนมาลงทุนก็ได้ ซึ่งโดยหลักแล้วการลงทุนด้วยสินทรัพย์อื่นที่ไม่ใช่เงินสด
จะต้องตีราคาสินทรัพย์ใหม่ให้เท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ในขณะนั้น
เพื่อให้ได้มูลค่าเงินลงทุนสุทธิที่ถูกต้องและเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย
การบันทึกบัญชีของห้างหุ้นส่วนที่จัดตั้งขึ้นใหม่อาจใช้สมุดบัญชีชุดเดิม
ของร้านค้าเป็นสมุดบัญชีของห้างหุ้นส่วนต่อไป หรืออาจเปิดสมุดบัญชีชุด
ใหม่ขึ้นมาใช้ก็ได้ขึ้นอยู่กับข้อตกลงระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยกัน โดยทั้ง
สองกรณีดังกล่าวมีการบันทึกที่แตกต่างกันเฉพาะรายการในวัดเปิดบัญชี
จัดตั้งห้างหุ้นส่วน หลังจากนั้นเมื่อเกิดรายการค้าขึ้นจะบันทึกบัญชีตามปกติ
การบันทึกรายการเปิดบัญชีของห้างหุ้นส่วนในกรณีที่มีการนาสินทรัพย์และ
หนี้สินในกิจการร้านค้าเดิมมาลงทุนจึงสรุปได้2 วิธีคือ
1. กรณีใช้สมุดบัญชีเดิม
2. กรณีสมุดบัญชีใหม่
ตัวอย่างที่ 2 : กุ๊กและไก่ตกลงร่วมกันจัดตั้งกิจการห้างหุ้นส่วนกุ๊กไก่ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 25x2โดย
กุ๊กซึ่งเป็นเจ้าของกิจการร้านค้าปลีกนาสินทรัพย์และหนี้สินในกิจการของตนมาลงทุนดังนี้
ร้านคุณกุ๊ก
งบดุล
ณ วันที่ 1 มกราคม 25x2
สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
สินทรัพย์หมุนเวียน :
เงินสด
ลูกหนี้
สินค้าคงเหลือ
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน :
เครื่องใช้สานักงาน
หัก ค่าเสื่อมราคา
สะสม
รวมสินทรัพย์
90,000
100,000
220,000
150,000
30,000
410,000
120,000
530,000
หนี้สินหมุนเวียน:
เจ้าหนี้
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
ส่วนของเจ้าของ:
ทุน – กุ๊ก
รวมหนี้สินและส่วนของเจ้าของ
81,000
6,000 87,000
443,000
.
530,000
หุ้นส่วนทั้งสองตกลงให้ไก่นาเงินสดมาลงทุน เท่ากับจานวนเงินทุน
สุทธิของกุ๊กหลังจากปรับปรุงราคาสินทรัพย์และหนี้สินใหม่บางส่วน ดังนี้
1. ลูกหนี้ตามคาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้จานวน 5,000 บาท
2. สินค้าตีราคาเพิ่มขึ้น 4,000 บาท
3. เครื่องใช่สานักงานควรมีราคาสุทธิตามบัญชีเท่ากับราคาตลาด 110,000
บาท
4. มีค่าใช้จ่ายค้างจ่ายที่ยังไม่บันทึกอีกจานวน 2,000 บาท
5. คิดค่านิยมให้กับกุ๊ก 20,000 บาท เนื่องจากดาเนินกิจการมีชื่อเสียงมา
นาน
1. กรณีใช้สมุดบัญชีชุดเดิม
เป็นกรณีที่ใช้สมุดบัญชีชุดเดิมของร้านค้าเป็นสมุดบัญชีของห้าง
หุ้นส่วนต่อไป มีขึ้นตอนในการบันทีกรายการเปิดบัญชีจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
ดังนี้
1.1 บันทึกการลงทุนของเจ้าร้านค้าเดิม โดยปรับปรุงสินทรัพย์และ
หนี้สินรวมทั้งบันทึกค่าความนิยมตามที่ตกลงกัน และโอนผลต่างเข้าบัญชี
ทุนเจ้าของร้านค้าเดิม
1.2 บันทึกการลงทุนของหุ้นส่วนรายอื่น
จากโจทย์ตัวอย่างที่ 2
กรณีที่ใช้สมุดบัญชีชุดเดิมของร้านคุณกุ๊กเป็นสมุดบันทึกของ
ห้างหุ้นส่วนกุ๊กไก่ การบันทึกรายการเปิดบัญชีจัดตั้งห้างหุ้นส่วนใน
สมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
ว/ด/ป รายการ เลขที่บัญชี เดบิต เครดิต
25x1
ม.ค. 1 ทุน – กุ๊ก
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ปรับปรุงตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
5,000 -
5,000 -
1 สินค้าคงเหลือ
ทุน – กุ๊ก
ปรับปรุงตีราคาสินค้าคงเหลือเพิ่ม
4,000 -
4,000 -
1 ทุน – กุ๊ก
ค่าเสื่อมราคาสะสม - เครื่องใช้
สานักงานปรุงค่าเสื่อมราคาสะสมเพิ่ม
10,000 -
10,000 -
วัน เดือน ปี รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X2
ม.ค. 1 ทุน-กุ๊ก
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
ปรับปรุงตั้งค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเพิ่ม
2,000 -
2,000 -
1 ค่าความนิยม
ทุน-กุ๊ก
บันทึกค่าความนิยมที่คิดให้กับกุ๊ก
20,000 -
20,000 -
1 เงินสด
ทุน-ไก่
ไก่นาเงินสดมาลงทุนเท่ากับเงินทุนสุทธิหลัง
ปรับปรุงสินทรัพย์หนี้สินของกุ๊กดังนี้
บาท
เงินทุนเดิมของร้านคุณกุ๊ก 443,000
บวก สินค้าเพิ่ม 4,000
ค่าความนิยม 20,000 24,000
467,000
50,000 -
450,000 -
สมุดรายวันทั่วไป
หลังจากบันทึกรายการการเปิดบัญชีจัดตั้งห้างหุ้นส่วนแล้ว เมื่อนาข้อมูลไปจัดทา
งบดุลหุ้นส่วนกุ๊กไก่ จะปรากฏดังนี้
ว/ด/ป/ รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 5,000
ค่าเสื่อมราคาสะสม 10,000
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 2,000 17,000
เงินทุนสุทธิหลังปรับปรุงของกุ๊ก 450,000
สมุดรายวันทั่วไป
ห้างหุ้นส่วนกุ๊กไก่
งบดุล
ณ วันที่ 1 มกราคม 25x3
สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน
สินทรัพย์หมุนเวียน: หนี้สินหมุนเวียน:
เงินสด 540,000 เจ้าหนี้ 81,000
ลูกหนี้ 100,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 8,000
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 5,000 95,000 รวมหนี้สินหมุนเวียน 89,000
สินค้าคงเหลือ 224,000 ส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน:
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 859,000 ทุน-กุ๊ก 450,000
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน: ทุน-ไก่ 450,000
ที่ดิน อาคารอุปกรณ์ รวมส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 900,000
เครื่องใช้สานักงาน 150,000
หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 40,000 110,000
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
ค่าความนิยม 20,000
รวมสินทรัพย์ทั้งสิ้น 989,000 รวมหนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 989,000
กรณีที่ห้างหุ้นส่วนเปิดสมุดบัญชีชุดใหม่ขึ้นมาใช้ สมุดบัญชีของร้านค้าเดิมซึ่ง
เลิกใช้จะต้องปิดไปทั้งหมด การบันทึกบัญชีในวันจัดตั้งห้างหุ้นส่วนจึงแบ่งออกเป็น 2
ส่วน ดังนี้
1.1 ด้านสมุดบัญชีชุดใหม่ของห้างหุ้นส่วน
1.2 ด้านสมุดบัญชีชุดเดิมของกิจการเจ้าของคนเดียว
1.1 ด้านสมุดบัญชีชุดใหม่ของห้างหุ้นส่วน
1.1.1 บันทึกการลงทุนของเจ้าของร้านค้าเดิม โดยบันทึกสินทรัพย์และ
หนี้สินด้วยราคาหลังปรับปรุง รวมทั้งบันทึกค่าความนิยมตามที่ตกลงกัน
1.1.2 บันทึกการลงทุนของหุ้นส่วนรายอื่น
จากโจทย์ตัวอย่างที่ 2 รายการเปิดบัญชีในสมุดรายการชุดใหม่ของห้างหุ้นส่วนกุ๊ก
ไก่จะปรากฏดังนี้
2.กรณีใช้่มุดบัญชีชุดใหม่
ว/ด/ป รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x2
ม.ค. 1
1
เงินสด
ลูกหนี้
สินค้าคงเหลือ
เครื่องใช้สานักงาน
ค่าความนิยม
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องใช้สานักงาน
เจ้าหนี้
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
ทุน-กุ๊ก
กุ๊กนาสินทรัพย์และหนี้สินมาลงทุน
เงินสด
ทุน-ไก่
ไก่นาเงินสดมาลงทุนเท่ากับเงินทุนของกุ๊ก
90,000
100,000
224,000
150,000
20,000
450,000
-
-
-
-
-
-
5,000
40,000
81,000
8,000
450,000
450,000
-
-
-
-
-
-
สมุดรายวันทั่วไป
1.2 ด้านสมุดบัญชีชุดเดิมของกิจการเจ้าของคนเดียว
เมื่อเจ้าของกิจการโอนสินทรัพย์และหนี้สินไปลงทุนจัดตั้งห้างหุ้นส่วนแล้ว
สมุดบัญชีของ
ร้านค้าเดิมซึ่งเลิกใช้แล้วจะต้องบันทึกรายการปิดบัญชีสินทรัพย์ หนี้สินและทุน
ทั้งสิ้น โดยอาจปิดบัญชีตามยอดคงเหลือเดิม หรืออาจบันทึกรายการปรับปรุง
สินทรัพย์และหนี้สินตามที่ตกลงกันก่อน แล้วจึงปิดบัญชีตามยอดคงเหลือหลัง
ปรับปรุงก็ได้
จากโจทย์ตัวอย่างที่ 2 กรณีที่กิจการปิดบัญชีตามยอดคงเหลือเดิมดังที่ปรากฏ
ในงบดุล รายการในสมุดรายวันทั่วไปของร้านคุณกุ๊กจะปรากฏดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
ว/ด/ป รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x2
ม.ค. 1 ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องใช้สานักงาน
สมุดรายวันทั่วไป
เจ้าหนี้
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
ทุน-กุ๊ก
เงินสด
ลูกหนี้
สินค้าคงเหลือ
เครื่องใช้สานักงาน
บันทึกรายการปิดบัญชีเลิกกิจการ
30,000
81,000
6,000
443,000
-
-
-
-
90,000
100,000
220,000
150,000
-
-
-
-
การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุน เมื่อสิ้นงวดบัญชีหลังจากปิดบัญชีรายได้และบัญชี
ค่าใช้จ่ายต่างๆ เข้าบัญชีกาไรขาดทุนแล้ว จะทาการแบ่งผลกาไรขาดทุนให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนตามอ
ตราที่ตกลงกัน ในกรณีที่ไม่ได้ตกลงกันไว้กฎหมายกาหนดให้แบ่งตามอัตราส่วนทุนที่นามาลง ซึ่ง
โดยทั่วไปวิธีการคานวณส่วนแบ่งกาไรขาดทุนอาจสรุปได้ 3 วิธีดังนี้
1. การแบ่งผลกาไรขาดทุนตามอัตราที่ตกลง
2. การแบ่งผลกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุน
3. การแบ่งผลกาไรขาดทุนโดยคิดดอกเบี้ยเงินทุน เงินเดือนหรือโบนัสให้หุ้นส่วนก่อนส่วนที่
เหลือแบ่งตามอัตราที่ตกลงกัน
1. การแบ่งผลกาไรขาดทุนตามอัตราที่ตกลง
ผู้เป็นหุ้นส่วนอาจตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนเท่ากัน หรืออาจกาหนดในอัตราส่วนอื่น เช่น 2:3
หมายถึงกาไรขาดทุนทั้งสิ้นแบ่งเป็น 5 ส่วน โดยหุ้นส่วนคนหนึ่งได้รับ 2 ส่วน และอีกคนได้รับ 3
ส่วน สาหรับห้างหุ้นส่วนแบ่งเป็นอัตราร้อยละ เช่น 100% แบ่งให้ผู้เป็นหุ้นส่วน 4 คน ในอัตรา
15% : 20% :40% : 25% เป็นต้น
ผลกาไรขาดทุนให้ผู้เป็นหุ้น่่นน
ตัวอย่างที่ 3 กบและกั้งร่วมกันลงทุนจัดตั้งห้างหุ้นส่วน โดยตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนใน
อัตรา 1 : 3 ตามลาดับ กิจการมีกาไรสุทธิประจาปีจานวน 100,000 บาท สามารถคานวณส่วนแบ่งผล
กาไรขาดทุนให้ผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนได้ดังนี้
กบได้รับส่วนแบ่งกาไร(1/4 × 100,000) = 25,000 บาท
กั้งได้รับส่วนแบ่งกาไร(3/4 × 100,000) = 75,000 บาท
รวม = 100,000 บาท
ตัวย่างที่ 4 จากตัวอย่างที่ 3 สมมุติแบ่งผลกาไร 60,000 บาทแรกให้กบและกั้งในอัตรา 1 : 3
ตามลาดับ กาไรส่วนที่เหลือให้แบ่งในอัตราเท่ากัน จะคานวณได้ดังนี้
ส่วนแบ่งผลกาไร
กบ กั้ง รวม
กาไร 60,000 บาทแรกแบ่งในอัตรา 1 : 3 15,000 45,000 60,000
กาไรที่เหลือ 40,000 บาทแบ่งเท่ากัน 20,000 20,000 40,000
รวม 35,000 65,000 100,000
2. การแบ่งผลกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุน
การแบ่งกาไรขาดทุนตามวิธีนี้ควรระบุให้ชัดเจนว่าจะใช้เฉพาะยอดคงเหลือในบัญชีทุน
หรือรวมบัญชีกระแสทุนด้วย และจะใช้ทุน ณ วันใดเป็นเกณฑ์ในการคานวณส่วนแบ่งผลกาไร
ขาดทุน เนื่องจากเงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนอาจมีการเปลี่ยนแปลงจากรายการเพิ่มทุน หรือการลดทุน
เป็นต้น การแบ่งผลกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุนจึงกาหนดได้หลายวิธีดังนี้
2.1 แบ่งตามอัตราส่วนทุน ณ วันใดวันหนึ่ง
2.2 แบ่งตามอัตราส่วนทุน ถัวเฉลี่ย
2.1 แบ่งตามอัตราส่วนทุน ณ วันใดวันหนึ่ง โดยทั่วไปมักจะกาหนดเป็นวันดังนี้
- แบ่งตามอัตราส่วนทุน ณ วันเริ่มตั้งกิจการ
- แบ่งตามอัตราส่วนทุน ณ วันต้นงวด หรือวันสิ้นงวดปัจจุบัน
ตัวอย่างที่ 5 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 25X1 กิ่งและก้านตกลงร่วมกันจัดตั้งห้างหุ้นส่วนโดย
กิ่งลงทุน 300,000 บาท และก้านลงทุน 200,000 บาท ตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุน
โดยไม่รวมบัญชีกระแสทุน กิจการปิดบัญชีสิ้นงวดทุกวันที่ 31 ธันวาคม ต่อมาในปี 25X3 กิจการมี
ผลกาไรสุทธิประจาปีจานวน 100,000 บาท ระหว่างปีมีรายการเปลี่ยนแปลงในบัญชีทุนดังนี้
ทุน-กิ่ง
ทุน-ก้าน
ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญชี
เดบิต ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญ
ชี
เครดิต
25X3
ต.ค.1
ธ.ค.31
เงินสด(ลดทุน)
ยอดยกไป
100,000
450,000
550,000
-
-
-
25X3
ม.ค.1
เม.ย.1
ยอดยกมา
เงินสด(เพิ่มทุน)
350,000
200,000
550,000
-
-
-
ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญชี
เดบิต ว/ด/ป รายการ หน้า
บัญชี
เครดิต
25X3
มี.ค.1
ธ.ค.31
เงินสด(ลดทุน)
ยอดยกไป
150,000
300,000
450,000
-
-
-
25X3
ม.ค.1 ยอดยกมา 450,000
450,000
-
-
กิ่งได้รับส่วนแบ่งกาไร 300,000 × 100,000 = 60,000 บาท
500,000
ก้านได้รับส่วนแบ่งกาไร 200,000 × 100,000 = 40,000 บาท
500,000
รวม = 100,000 บาท
การแบ่งผลกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุนณ วันต้นงวด คานวณดังนี้
กิ่งได้รับส่วนแบ่งกาไร 350,000 × 100,000 = 43,750 บาท
800,000
ก้านได้รับส่วนแบ่งกาไร 450,000 × 100,000 = 56,250 บาท
800,000
รวม = 100,000 บาท
การแบ่งผลกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุนณ วันเริ่มตั้งกิจการ คานวณดังนี้
2.2 แบ่งตามอัตราทุนถัวเฉลี่ย
ตัวอย่างที่ 6 จากตัวอย่างที่ 5 คานวณแบ่งผลกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุนถัวเฉลี่ย ได้ดังนี้
1. การคานวณทุนถัวเฉลี่ยประจาปี 25X3
จานวนเดือน เงินทุนถัวเฉลี่ยตาม
ระยะเวลา ทุนคงเหลือ ที่ทุนคงที่ ระยะเวลาที่ทุนคงที่
ทุน-กิ่ง 1 ม.ค.- 1 เม.ย. 350,000 3 350,000×3/12 = 87,000
1 เม.ย.- 1 ต.ค. 550,000 6 550,000×6/12 = 275,000
1 ต.ค.-1 ธ.ค. 450,000 3 450,000×3/12 = 112,500
รวม 12 = 475,000
ทุน-ก้าน 1 ม.ค.-1มี.ค. 450,000 2 450,000×2/12 = 75,000
1 มี.ค.-1 ธ.ค. 300,000 10 300,000×10/12= 250,000
รวม 12 =325,000
ทุนถัวเฉลี่ยทั้งสิ้น = ทุนถัวเฉลี่ยของกิ่ง + ทุนถัวเฉลี่ยของก้าน
= 475,000 + 325,000
= 800,000 บาท
2. คานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุนถัวเฉลี่ย
กิ่งได้รับส่วนแบ่งกาไร 475,000× 100,000 = 59,375 บาท
800,000
ก้านได้รับส่วนแบ่งกาไร 325,000× 100,000 = 40,625 บาท
800,000
รวม = 100,000 บาท
3. ส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนโดยคิดดอกเบี้ยเงินทุน เงินเดือน หรือโบนัสให้หุ้นส่วน
ก่อน ส่วนที่เหลือแบ่งตามที่ตกลงกัน การแบ่งผลกาไรขาดทุนวิธีนี้ถือว่ามีความเหมาะสมและ
เป็นธรรมมากที่สุด โดยในขั้นแรกจะพิจารณาตอบแทนเงินลงทุน รวมทั้งความรู้ความสามารถ
และการอุทิศเวลาให้แก่การดาเนินงานในห้างหุ้นส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนก่อน
โดยสรุปเป็นข้อย่อยๆดังนี้
3.1 การแบ่งผลกาไรขาดทุนโดยคิดดอกเบี้ยเงินทุนให้หุ้นส่วนก่อน
3.2 การแบ่งผลกาไรขาดทุนโดยคิดเงินเดือนให้หุ้นส่วนก่อน
3.3 การแบ่งผลกาไรขาดทุนโดยคิดโบนัสให้หุ้นส่วนก่อน
3.1 การแบ่งผลกาไรขาดทุนโดยคิดดอกเบี้ยเงินทุนให้หุ้นส่วนก่อน
ตัวอย่างที่ 7 จากตัวอย่างที่ 5 สมมุติคิดดอกเบี้ยเงินทุนถัวเฉลี่ยให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนใน
อัตรา 12% กาไรขาดทุนที่เหลือแบ่งเท่ากัน จะคานวณส่วนแบ่งผลกาไรได้ดังนี้
ส่วนแบ่งผลกาไร
กิ่ง ก้าน รวม
ดอกเบี้ยเงินทุนถัวเฉลี่ย - กิ่ง 475,000×12% 57,000 - 57,000
- ก้าน 325,000×12% - 39,000 39,000
กาไรที่เหลือ(100,000 – 57,000– 39,000)แบ่งเท่ากัน 2,000 2,000 4,000
รวม 59,000 41,000 100,000
3.2 การแบ่งผลกาไรขาดทุนโดยคิดเงินเดือนให้หุ้นส่วนก่อน
ตัวอย่างที่ 8 จากตัวอย่างที่ 5 สมมุติเงินเดือนให้กิ่งซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการเดือนละ 2,000
บาท กาไรขาดทุนที่เหลือแบ่งให้กิ่งและก้านในอัตรา 3:2 จะคานวณได้ดังนี้
ส่วนแบ่งผลกาไร
กิ่ง ก้าน รวม
เงินเดือนหุ้นส่วน(2,000×12) 24,000 - 24,000
กาไรที่เหลือ(100,000-24,000)แบ่งในอัตรา 3:2 45,600 30,400 76,000
รวม 69,600 30,400 100,000
3.3 การแบ่งผลกาไรขาดทุนโดยคิดโบนัสให้หุ้นส่วนก่อน วิธีนี้ควรระบุ
เงื่อนไขในการคานวณโบนัสให้ชัดเจนว่าให้คิดจากยอดใด
ตัวอย่างที่ 9 จากตัวอย่างที่ 5 สมมุติคิดโบนัสให้กิ่งซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ 15% ของ
กาไรสุทธิ กาไรขาดทุนที่เหลือแบ่งในอัตราเท่ากัน
กรณีนี้ให้คิดโบนัสจากกาไรสุทธิก่อนหักเงินโบนัส โดยคานวณส่วนแบ่งผลกาไร
ขาดทุนได้ดังนี้
ส่วนแบ่งผลกาไร
กิ่ง ก้าน รวม
โบนัสหุ้นส่วน(15%X100,000) 15,000 - 15,000
กาไรที่เหลือ(100,000-15,000)แบ่งเท่ากัน 42,500 42,500 85,000
รวม 57,500 42,500 100,000
ตัวอย่างที่ 10 จากตัวอย่างที่ 9 สมมุติคิดโบนัสให้กิ่งซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ 15% ของ
กาไรสุทธิ หลังจากหักเงินโบนัสแล้ว กาไรขาดทุนที่เหลือแบ่งในอัตราเท่ากัน
สมมุติให้โบนัส = Y
โบนัส = 15% × (กาไรสุทธิ - โบนัส)
ดังนั้น Y = 15% × (100,000- Y)
Y = 15,000– 0.15 Y
1.15 Y = 15,000
Y = 15,000
1.15
Y = 13,043.48 บาท
ส่วนแบ่งผลกาไร
กิ่ง ก้าน รวม
โบนัสหุ้นส่วน 13,043.48 - 13,043.48
กาไรที่เหลือ ( 100,000-13,043.48) 43,478.26 43,478.26 86,956.52
รวม 56,521.74 43,478.26 100,000.00
การแบ่งผลกาไรขาดทุนกรณีมีกาไรต่ากว่าดอกเบี้ยเงินทุนและเงินเดือนหุ้นส่วน
ตัวอย่างที่ 11 จากโจทย์ตัวอย่างที่ 6 สมมุติคิดดอกเบี้ยเงินทุนถัวเฉลี่ยให้ผู้เป็นหุ้นส่วนในอัตรา
12% ต่อปี และคิดเงินเดือนให้กิ่งซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการเดือนละ 2,000 บาท กาไรขาดทุนที่เหลือแบ่ง
เท่ากัน จะคานวณดังนี้
ส่วนแบ่งผลกาไร
กิ่ง ก้าน รวม
ดอกเบี้ยเงินทุนถัวเฉลี่ย
(กิ่ง = 475,000× 12% และก้าน = 325,000×12%) 57,000 39,000 96,000
เงินเดือนหุ้นส่วน(กิ่ง = 2,000 × 12%) 24,000 - 24,000
กาไรที่เหลือแบ่งเท่ากัน 100,000-96,000-24,000÷2 ( 10,000 ) (10,000) (20,000 )
รวม 71,000 29,000 100,000
การบันทึกส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุน
จากวิธีการแบ่งผลกาไรขาดทุนตามที่ได้อธิบายข้างต้น ดอกเบี้ยเงินทุน เงินเดือน และ
โบนัสที่คิดให้แก่หุ้นส่วนไม่ถือเป็นค่าใช้จ่าย แต่ถือเป็นส่วนหนึ่งของการแบ่งผลกาไรขาดทุนประจา
งวดเพื่อตอบแทนให้กับหุ้นส่วนที่ลงทุนสูง หรือทุ่มเทความพยายามในการดาเนินงานในห้างหุ้นส่วน
เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมยิ่งขึ้นกับหุ้นส่วนทุกคน ดังนั้นดอกเบี้ยเงินทุน เงินเดือนและโบนัสที่คิดให้
หุ้นส่วนจึงบันทึกรายการแบ่งผลกาไรขาดทุนตามปกติ
ตัวอย่างที่ 12 จากตัวอย่างที่ 11 เมื่อนาข้อมูลมาบันทึกในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน เดือน ปี รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ธ.ค. 31 กาไรขาดทุน
กระแสทุน – กิ่ง
กระแสทุน – ก้าน
บันทึกดอกเบี้ยเงินทุนให้ผู้เป็นหุ้นส่วน
960,000 -
57,000
39,000
-
-
31 กาไรขาดทุน
กระแสทุน – กิ่ง
บันทึกเงินเดือนให้ผู้เป็นหุ้นส่วน
24,000 -
24,000 -
31 กระแสทุน – กิ่ง
กระแสทุน – ก้าน
กาไรขาดทุน
แบ่งผลขาดทุนที่เหลือให้ผู้เป็นหุ้นส่วน
10,000
10,000
-
-
20,000 -
การแสดงการแบ่งผลกาไรขาดทุนในงบกาไรขาดทุน
วิธีการแสดงการแบ่งผลกาไรขาดทุนให้กับผู้เป็นหุ้นส่วน โดยทั่วไปมักจะแสดงไว้เป็น
รายการต่อท้ายงบกาไรขาดทุน
ตัวอย่างที่ 13 สมมุติกิจการมีรายได้และค่าใช้จ่ายต่างๆตามที่ปรากฏในงบกาไร
ขาดทุนข้างล่างนี้ และตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนโดยคิดดอกเบี้ยเงินทุนถัวเฉลี่ยในอัตรา 6% ต่อ
ปี และคิดเงินเดือนให้กิ่งซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการเดือนละ 2,000 บาท และโบนัสอีก 15% ของ
กาไรสุทธิ กาไรขาดทุนที่เหลือให้แบ่งเท่ากัน รายละเอียดการแบ่งผลกาไรขาดทุนอาจแสดงได้
ดังนี้
ห้างหุ้นส่วนจากัด กิ่งและก้าน
งบกาไรขาดทุน
สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25X1
รายได้:
ขายสุทธิ 760,857
รายได้อื่น 12,000 772,857
ค่าใช้จ่าย:
ต้นทุนขาย 471,000
ค่าใช้จ่ายในการขายและบริการ 145,000
ค่าใช้จ่ายอื่น 5,000 621,000
กาไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้ 151,857
ดอกเบี้ยจ่าย 9,000
ภาษีเงินได้ 42,857 51,857
กาไรสุทธิ 100,000
การแบ่งผลกาไรสุทธิ:
กิ่ง ก้าน รวม
ดอกเบี้ยเงินทุนถัวเฉลี่ย 6% ต่อปี* 28,500 19,500 48,000
เงินเดือนหุ้นส่วน ( 2,000×12) 24,000 - 24,000
โบนัสหุ้นส่วน (15%×100,000) 15,000 - 15,000
กาไรที่เหลือแบ่งเท่ากัน 6,500 6,500 13,000
รวม 74,000 26,000 100,000
*ดอกเบี้ยเงินทุนถัวเฉลี่ย – กิ่ง = 475,000× 6% = 28,500
ดอกเบี้ยเงินทุนถัวเฉลี่ย – ก้าน = 325,000× 6% = 19,500
การเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุน
ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนใหม่ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม
ต่อผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนควรพิจารณาปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สินของห้างหุ้นส่วนให้ถูกต้องครบถ้วน
โดยสินทรัพย์ควรตีราคาใหม่ให้เท่ากับราคาตลาดในขณะนั้น และบันทึกผลต่างจากการปรับปรุงเข้า
บัญชีกระแสทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนตามอัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนเดิม หลังจากนั้นจึงเริ่ม
ใช้อัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนอัตราใหม่ต่อไป
ในกรณีที่ ณ วันเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุน ห้างหุ้นส่วนไม่ทาการปรับปรุง
สินทรัพย์สุทธิใหม่ให้ถูกต้อง และแบ่งผลกาไรขาดทุนให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาด
ทุนเดิมก่อน ต่อมาเมื่อมีการจาหน่ายสินทรัพย์นั้นออกไปภายหลังโดยแบ่งกาไรขาดทุนทั้งสิ้นตาม
อัตราส่วนแบ่งใหม่ในคราวเดียว อาจทาให้ได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนได้
ตัวอย่างที่ 14 เก่งและกล้าร่วมกันจัดตั้งห้างหุ้นส่วนโดยตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนในอัตรา
2:3 ตามลาดับ ต่อมาในปี 25X3 มีรายการบางส่วนดังนี้
ม.ค. 1 ผู้เป็นหุ้นส่วนตกลงเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนใหม่ โดยให้แบ่งในอัตรา
เท่ากัน และได้ทาการตรวจสอบราคาสินทรัพย์ในวันนี้พบว่าสินทรัพย์ทั้งสิ้นมีราคาตามบัญชีตรงกับ
ราคาตลาด ยกเว้นที่ดินมีราคาตามบัญชี 400,000บาท และราคาตลาด 500,000บาท
ธ.ค.31 กิจการขายที่ดินดังกล่าวไปในราคา 550,000 บาท
กรณีมีการปรับปรุงสินทรัพย์ การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนจะแบ่งเป็น 2 ช่วงดังนี้
- ณ วันปรับปรุงสินทรัพย์ กาไรจากการตีราคาที่ดินเพิ่ม = 500,000 - 400,000 = 100,000 บาท
- ณ วันขายสินทรัพย์ กาไรจากการขาย = 550,000 - 500,000 = 50,000 บาท
รวม = 150,000 บาท
ส่วนแบ่งผลกาไร
กิ่ง ก้าน รวม
กาไรจากการตีราคาที่ดินเพิ่มแบ่งตามอัตราเดิม 2:3 40,000 60,000 100,000
กาไรจากการขายที่ดินซึ่งเกิดหลังจากเปลี่ยนอัตราส่วนแบ่ง
กาไรขาดทุนใหม่ โดยแบ่งเท่ากัน 25,000 25,000 50,000
รวม 65,000 85,000 150,000
สมุดรายวันทั่วไป
วัน เดือน ปี รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ม.ค.
ธ.ค.
1
31
ที่ดิน
กระแสทุน – กิ่ง
กระแสทุน – ก้าน
ปรับปรุงราคาที่ดิน
เงินสด
ที่ดิน
กระแสทุน – กิ่ง
กระแสทุน – ก้าน
จาหน่ายที่ดินและแบ่งผลกาไรให้
หุ้นส่วน
100,000
550,000
-
-
40,000
60,000
500,000
25,000
25,000
-
-
-
-
-
กรณีที่ไม่ปรับปรุงสินทรัพย์
กรณีที่ไม่ปรับปรุงสินทรัพย์ในวันที่ 1 มกราคม อาจทาให้เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบ
ระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน โดยการคานวณผลกาไรขาดทุนจะเกิดขึ้นครั้งเดียว เมื่อมีการขายที่ดินในวันที่
31 ธันวาคม ซึ่งจะต้องแบ่งเท่ากันในอัตราที่ตกลงใหม่ทาให้กิ่งได้รับส่วนแบ่งผลกาไรน้อยลง ดังนี้
ณ วันขายสินทรัพย์ กาไรจากการขายที่ดิน (550,000 -400,000) = 150,000 บาท
ส่วนแบ่งผลกาไร
กิ่ง ก้าน รวม
กาไรจากการขายที่ดินแบ่งเท่ากัน
ตามอัตราส่วนแบ่งใหม่ (150,000 ÷ 2 ) 75,000 75,000 150,000
สมุดรายวันทั่วไป
วัน เดือน ปี รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ธ.ค. 31 เงินสด
ที่ดิน
กระแสทุน – กิ่ง
กระแสทุน – ก้าน
จาหน่ายที่ดินและแบ่งผลกาไรให้หุ้นส่วน
550,000 -
400,000
75,000
75,000
-
-
-

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทPa'rig Prig
 
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีAor's Sometime
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่npapak74
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลYosiri
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 

What's hot (20)

บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
 
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 

Viewers also liked

Nt 01-2008 victoria naveda
Nt 01-2008 victoria navedaNt 01-2008 victoria naveda
Nt 01-2008 victoria navedaVictoria Naveda
 
lesson 5: Cone of experience
lesson 5: Cone of experiencelesson 5: Cone of experience
lesson 5: Cone of experienceFaith Bayaten
 
CS3270 - DATABASE SYSTEM - Lecture (1)
CS3270 - DATABASE SYSTEM -  Lecture (1)CS3270 - DATABASE SYSTEM -  Lecture (1)
CS3270 - DATABASE SYSTEM - Lecture (1)Dilawar Khan
 
じょいとも広告人講座16:マーティン・ソレル
じょいとも広告人講座16:マーティン・ソレルじょいとも広告人講座16:マーティン・ソレル
じょいとも広告人講座16:マーティン・ソレルじょいとも
 
El tutor de elearning
El tutor de elearningEl tutor de elearning
El tutor de elearningagustinabert
 
Pengurusan bahan buangan
Pengurusan bahan buanganPengurusan bahan buangan
Pengurusan bahan buangannana ahmad
 
Dreikurs model logical consequences
Dreikurs model logical consequencesDreikurs model logical consequences
Dreikurs model logical consequencesNur Fazlin Mohd Naim
 
50 bai-toan-boi-duong-hoc-sinh-gioi-lop-5-co-dap-an
50 bai-toan-boi-duong-hoc-sinh-gioi-lop-5-co-dap-an50 bai-toan-boi-duong-hoc-sinh-gioi-lop-5-co-dap-an
50 bai-toan-boi-duong-hoc-sinh-gioi-lop-5-co-dap-anmaquaivn
 
SELECCION DE PERSONAL
SELECCION DE PERSONALSELECCION DE PERSONAL
SELECCION DE PERSONALOSCAR0009
 
Макулатурнир
МакулатурнирМакулатурнир
Макулатурнирraduga1124
 
Ai and Legal Industy - Executive Overview
Ai and Legal Industy - Executive OverviewAi and Legal Industy - Executive Overview
Ai and Legal Industy - Executive OverviewGraeme Wood
 

Viewers also liked (17)

Nt 01-2008 victoria naveda
Nt 01-2008 victoria navedaNt 01-2008 victoria naveda
Nt 01-2008 victoria naveda
 
lesson 5: Cone of experience
lesson 5: Cone of experiencelesson 5: Cone of experience
lesson 5: Cone of experience
 
CS3270 - DATABASE SYSTEM - Lecture (1)
CS3270 - DATABASE SYSTEM -  Lecture (1)CS3270 - DATABASE SYSTEM -  Lecture (1)
CS3270 - DATABASE SYSTEM - Lecture (1)
 
じょいとも広告人講座16:マーティン・ソレル
じょいとも広告人講座16:マーティン・ソレルじょいとも広告人講座16:マーティン・ソレル
じょいとも広告人講座16:マーティン・ソレル
 
Ocet Act1 Uni2
Ocet Act1 Uni2Ocet Act1 Uni2
Ocet Act1 Uni2
 
El tutor de elearning
El tutor de elearningEl tutor de elearning
El tutor de elearning
 
Prueba saber decimo
Prueba saber decimoPrueba saber decimo
Prueba saber decimo
 
Pengurusan bahan buangan
Pengurusan bahan buanganPengurusan bahan buangan
Pengurusan bahan buangan
 
Yraida becerra
Yraida becerraYraida becerra
Yraida becerra
 
Tp 3 01-07-16
Tp 3 01-07-16Tp 3 01-07-16
Tp 3 01-07-16
 
MODELO DE Projeto literatura na escola
MODELO DE Projeto  literatura na escolaMODELO DE Projeto  literatura na escola
MODELO DE Projeto literatura na escola
 
La contabilidad
La contabilidadLa contabilidad
La contabilidad
 
Dreikurs model logical consequences
Dreikurs model logical consequencesDreikurs model logical consequences
Dreikurs model logical consequences
 
50 bai-toan-boi-duong-hoc-sinh-gioi-lop-5-co-dap-an
50 bai-toan-boi-duong-hoc-sinh-gioi-lop-5-co-dap-an50 bai-toan-boi-duong-hoc-sinh-gioi-lop-5-co-dap-an
50 bai-toan-boi-duong-hoc-sinh-gioi-lop-5-co-dap-an
 
SELECCION DE PERSONAL
SELECCION DE PERSONALSELECCION DE PERSONAL
SELECCION DE PERSONAL
 
Макулатурнир
МакулатурнирМакулатурнир
Макулатурнир
 
Ai and Legal Industy - Executive Overview
Ai and Legal Industy - Executive OverviewAi and Legal Industy - Executive Overview
Ai and Legal Industy - Executive Overview
 

Similar to บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน

ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนthnaporn999
 
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลยthnaporn999
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัทthnaporn999
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2thnaporn999
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2thnaporn999
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการPa'rig Prig
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจNetsai Tnz
 
ห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนNetsai Tnz
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2 Pa'rig Prig
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 
2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1chwalit
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจsmile-girl
 

Similar to บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน (18)

ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัท
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
ห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วน
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
Organization&Management part1
Organization&Management part1Organization&Management part1
Organization&Management part1
 
Prison saema
Prison saemaPrison saema
Prison saema
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
1
11
1
 
2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
 
ใบงานที่ T7
ใบงานที่ T7ใบงานที่ T7
ใบงานที่ T7
 

More from Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน