SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Chapter_6
การวางแผนและพัฒนา
ระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (System- Development) เป็น
กิจกรรมทั้งหมดที่จาเป็นในการนาระบบสารสนเทศมาใช้เพื่ อ
แก้ปัญหาขององค์การหรือสร้างโอกาสให้กับองค์การ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศมีหลายวิธี เช่น แบบวงจรชีวิต
(System Development Life Cycle), การสร้างต้นแบบ
(Prototyping), ก า ร เ น้ น ผู้ ใ ช้ เ ป็ น ห ลั ก (End-User
Development), การจ้างบุคคลภายนอก(Outsourcing), และ
การใช้โปรแกรมสาเร็จรูป(Application software package)
1. การพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวิต (SDLC
เป็นวิธีที่ใช้ในองค์การส่วนใหญ่ เทคนิคนี้ประกอบด้วยวิธีการ
ดาเนินการ (Methodology) หลายวิธี ขึ้นอยู่กับลักษณะของระบบ,
ความรู้ความถนัดของผู้พัฒนาระบบ, เครื่องมือการพัฒนาระบบด้วย
ตัวอย่าง Methodology ที่นิยมใช้ในการพัฒนาระบบอย่างเช่น แบบ
Objected Oriented และแบบ Waterfall Methodology
ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวิตแบบดั้งเดิม
ประกอบด้วยขั้นตอนของการพัฒนาระบบสารสนเทศ ซึ่งได้แก่
1. การสารวจระบบ (Systems Investigation)
2. การวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis)
3. การออกแบบระบบ (Systems Design)
4. การเขียนโปรแกรม (Programming)
5. การทดสอบระบบ (Testing)
6. การนาระบบไปติดตั้ง (Implementation)
7. การปฏิบัติงานโดยใช้ระบบใหม่ (Operation)
8. การบารุงรักษา (Maintenance)
โครงการสารสนเทศที่มีขนาดใหญ่จะมีขั้นตอนการพัฒนา
ระบบสารสนเทศดังกล่าว แต่โครงการขนาดเล็กอาจใช้บางตอน
เท่านั้น ในอดีตนักพัฒนาระบบใช้วิธีการที่เรียกว่า waterfall
approach ในการดาเนินการตามเทคนิค SDLC คือจะมีการ
ดาเนินงานในแต่ละขั้นตอนให้เสร็จเรียบร้ อยก่อนที่จะ
ดาเนินการต่อไป แต่ในปัจจุบันนักพัฒนาระบบอาจจะ
ดาเนินการย้อนกลับไปกลับมาได้ตามความจาเป็น
ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวิต
การสารวจระบบ
(Systems Investigation)
การวิเคราะห์ระบบ
(Systems Analysis)
การออกแบบระบบ
(Systems Design)
การเขียนโปรแกรม
(Programming)
การทดสอบระบบ
(Systems Testing)
การนาระบบไปติดตั้ง
(Implementation)
การปฏิบัติงาน & การบารุงรักษา
(Operation & Maintenance)ย้อนกลับไปขั้นตอนก่อนนี้หรือหยุด
ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวิต (SDLC)
เป็นการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการว่ามีโอกาสความสาเร็จมาก
น้อยเพียงใด รวมทั้งประเมินความเป็นไปได้ด้าน
ต่างๆ ดังนี้
1. ความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (Technical Feasibility)
2. ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐศาสตร์ (Economic Feasibility)
3. ความเป็นไปได้ด้านพฤติกรรม (Behavioral Feasibility)
1. การสารวจระบบ (System Investigation)
2. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)
ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวิต
(SDLC)
เป็นการวิเคราะห์ปัญหาขององค์การซึ่ งจะแก้ไขโดยระบบ
สารสนเทศ ขั้นตอนนี้จะเกี่ยวข้องกับการระบุปัญหาขององค์การ
สาเหตุของปัญหา การแก้ปัญหา และระบุความต้องการสารสนเทศ
(Information requirement)
3. การออกแบบระบบ (System Design)
ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวิต (SDLC)
เป็นการบรรยายเกี่ยวกับสิ่งที่ระบบต้องทาเพื่อแก้ปัญหาองค์การ และ
วิธีการดาเนินงาน โดยประกอบด้วย
- ปัจจัยนาเข้าของระบบ, ผลผลิตของระบบ, และการออกแบบ
หน้าจอให้กับผู้ใช้ (User Interface)
- ฮาร์ดแวร์, ซอร์ฟแวร์, ฐานข้อมูล และการสื่อสารโทรคมนาคม,
บุคลากร และกระบวนการ (procedure)
- การบูรณาการส่วนประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวอย่างเป็นระบบ
3. การออกแบบระบบ (System Design)
ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวิต (SDLC)
การออกแบบระบบมี 2 ประเภทคือ
1.การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Systems Design)
การออกแบบส่วนของระบบสารสนเทศ และความสัมพันธ์ของ
องค์ประกอบต่างๆ ในลักษณะที่ปรากฏต่อผู้ใช้ รวมทั้งการออกแบบ
อินพุท, เอาท์พุท, กระบวนการฐานข้อมูล, การสื่อสารโทรคมนาคม,
การควบคุม, และความปลอดภัยของข้อมูล
3. การออกแบบระบบ (System Design)
ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวิต (SDLC
การออกแบบระบบมี 2 ประเภทคือ
1.การออกแบบด้านกายภาพ (Physical Systems Design)
เน้นการเปลี่ยนแปลงเชิงตรรกะซึ่งมีลักษณะนามธรรม ให้มีลักษณะ
เฉพาะเจาะจงในการออกแบบด้านเทคนิคมากขึ้น รวมทั้งการ
ออกแบบฮาร์ดแวร์, ซอร์ฟแวร์, และฐานข้อมูล
4. การเขียนโปรแกรม (Programming)
ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวิต (SDLC)
คือการเปลี่ยนแปลงจากรายละเอียดของการออกแบบ (Design
specification) เป็นรหัสคอมพิวเตอร์ (Computer- code) ซึ่ง
กระบวนการดังกล่าวอาจจะใช้เวลานาน โปรแกรมขนาดใหญ่อาจจะ
ประกอบด้วยคาสั่งหลายหมื่นบรรทัดโดยใช้โปรแกรมเมอร์เป็นร้อยคน
5. การทดสอบ (Testing)
ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวิต (SDLC)
การทดสอบจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ซึ่งเป็นการตรวจสอบว่ารหัสคอมพิวเตอร์ที่เขียนไว้จะสามารถให้ผล
ตามที่ต้องการหรือไม่ การทดสอบจะต้องใช้เวลา และความพยายาม
มาก
5. การทดสอบ (Testing)
ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวิต (SDLC)
การทดสอบเพื่อหาข้อผิดพลาด (Bugs) ในโปรแกรมซึ่งอาจจะเกิด
จากความผิดพลาด 2 ประการคือ
1) ความผิดพลาดในเรื่องของรูปแบบ (Syntax error)
2) ความผิดพลาดเชิงตรรกะ (Logic error)
6. การนาระบบไปติดตั้ง (Implementation)
ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานแบบวงจรชีวิต (SDLC)
เป็นกระบวนการที่เปลี่ยนจากระบบเก่าเข้าสู่ระบบใหม่ ซึ่งวิธีการเปลี่ยน
ระบบสามารถทาได้4 รูปแบบคือ
1. แบบคู่ขนาน (Parallel)
2. แบบเปลี่ยนทั้งหมด (Direct Conversion)
3. การเปลี่ยนแปลงโดยใช้โครงการนาร่อง
(Pilot Conversion)
4. การเปลี่ยนแปลงแบบมีขั้นตอน (Phased Conversion)
6. การนาระบบไปติดตั้ง (Implementation)
1. แบบคู่ขนาน (Parallel)
เป็นการดาเนินการพร้อมกันทั้งระบบเก่าและระบบใหม่ ในเวลา
เดียวกัน เพื่อนาผลที่ได้มาเปรียบเทียบกัน การเปลี่ยนแปลงแบบนี้ มี
ต้นทุนแพงที่สุด แต่มีความเสี่ยงน้อยที่สุด ระบบงานที่มีขนาดใหญ่มัก
นิยมใช้แบบนี้ เพื่อลดความเสี่ยง ต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น
6. การนาระบบไปติดตั้ง (Implementation)
2. แบบเปลี่ยนทั้งหมด (Direct Conversion)
เป็นการติดตั้งระบบใหม่แทนระบบเดิมทั้งหมด การ
เปลี่ยนแปลงนี้มีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดแต่มีความเสี่ยงมากที่สุดหาก
ระบบไม่เป็นไปตามที่กาหนดไว้
6. การนาระบบไปติดตั้ง (Implementation)
3. การเปลี่ยนแปลงโดยใช้โครงการนาร่อง (Pilot Conversion)
เป็นการติดตั้งระบบใหม่ส่วนใดส่วนหนึ่งขององค์การ และหลังจาก
ที่ระบบใหม่ติดตั้งและดาเนินการไประยะหนึ่งแล้วก็จะมีการประเมินผล
หากระบบใหม่มีความเหมาะสมจึงค่อยนาไปใช้กับส่วนอื่นๆ
6. การนาระบบไปติดตั้ง (Implementation)
4. การเปลี่ยนแปลงแบบมีขั้นตอน (Phased Conversion)
มีการแบ่งการเปลี่ยนแปลงออกเป็นส่วนย่อยๆ หรือ module หรือ
แบ่งระยะเวลาในการติดตั้ง จากนั้นจึงลองนาบาง module ไปทดลอง
ติดตั้ง หากได้ผลจึงค่อยนา module อื่นไปปฏิบัติจนกระทั่งครบทั้ง
ระบบ
7. การดาเนินการและการบารุงรักษา
เมื่อมีการติดตั้งระบบใหม่แล้ว จะต้องมีการบารุงรักษา ซึ่งมีหลาย
ลักษณะ คือ
1. ตรวจความถูกต้องของโปรแกรม (Debugging the- program)
เป็นขั้นตอนที่ต้องทาต่อเนื่องไปตลอดอายุของระบบ
2. การปรับปรุงระบบให้ทันสมัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของ
เงื่อนไข การปฏิบัติที่อาจเปลี่ยนแปลงไป
3. การเพิ่มหน้าที่ทางานให้ระบบ
ข้อจากัดของ SDLC
1. ใช้ทรัพยากรมาก เนื่องจากมีขั้นตอนการดาเนินงานมาก
ทั้งด้านบุคลากร, งบประมาณ, และเวลา
2. ไม่ยืดหยุ่น และทาการเปลี่ยนแปลงลาบาก
3. ไม่เหมาะกับระบบสารสนเทศที่ใช้ในการตัดสินใจ
2. การสร้างต้นแบบ (Prototyping)
การสร้างต้นแบบจะไม่พัฒนาทั้งระบบเดียวทั้งหมด แต่จะ
พัฒนาโดยใช้ต้นแบบ (Prototyping) ซึ่งประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ
ของระบบใหม่ แต่จาลองให้มีขนาดเล็ก เพื่อให้ผู้ใช้ได้ทดลองใช้ก่อน
และให้ข้อเสนอแนะเพื่อใช้ในการปรับปรุงต้นแบบนี้ให้เหมาะสม
ต่อไป
2. การสร้างต้นแบบ (Prototyping)
ขั้นตอนของวิธีการสร้างต้นแบบมี 4 ขั้นตอนดังนี้
1. การหาความต้องการพื้นฐานของผู้ใช้
2. การออกแบบต้นแบบ
3. การนาต้นแบบไปทดลองใช้
4. การปรับปรุงต้นแบบ
ระบุความต้องการ
ออกแบบต้นแบบ
นาต้นแบบไปทดลองใช้
ผู้ใช้พอใจ
นาไปใช้เป็ น
Operational Prototype ปรับปรุงต้นฉบับ
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศแบบสร้างต้นแบบ
พอใจ ไม่พอใจ
3. การพัฒนาระบบโดยผู้ใช้
(End User Development)
เป็นการพัฒนาระบบโดยผู้ใช้ ซึ่งอาศัยความช่วยเหลือจาก
ผู้เชี่ยวชาญน้อยมากหรือไม่ได้ใช้เลย วิธีนี้มีความนิยมใช้กันมาก
เนื่องจากความก้าวหน้าของโปรแกรมสาเร็จรูป ซึ่งทาให้ผู้ใช้สามารถ
พัฒนาระบบขึ้นมาด้วยตนเอง
ข้อดี
1. ประสิทธิภาพการทางานสูง โดยอาศัยการสนับสนุนจากโปรแกรม
โปรแกรมสาเร็จรูปซึ่งมีความสามารถด้านกราฟฟิก, การสร้าง
โมเดล, และการดึงข้อมูล
2. การศึกษาหาความต้องการของผู้ใช้ทาได้ดีขึ้น เพราะผู้ใช้ทราบความ
ความต้องการของตนดี
3. ผู้ใช้มีส่วนร่วมมากขึ้น อันทาให้ผู้ใช้มีความพอใจสูงขึ้น
ข้อจากัด
1. ขีดความสามารถของโปรแกรมสาเร็จรูปมีจากัด และต้นทุนสูง
สูงมาก
2. ไม่เหมาะกับการประมวลผลที่มีขนาดใหญ่มาก
3. ไม่เหมาะกับการประมวลผล หรือการทางานที่มีลักษณะเฉพาะ
ลักษณะเฉพาะ
4. การจ้างบุคคลภายนอก (Outsourcing)
การจ้างบุคคลภายนอกมาดาเนินงาน วิธีนี้นิยมใช้ในกรณีที่บริษัท
มีต้นทุนของระบบสารสนเทศเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว บริษัทอาจจะจ้าง
บุคคลภายนอกมาใช้เพื่อควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่าย
ข้อดี
1. ประหยัด : อาจจะลดต้นทุนกว่าการมีศูนย์คอมพิวเตอร์และ
เจ้าหน้าที่ระบบคอมพิวเตอร์ และองค์การยังได้ใช้ความรู้
ความสามารถอย่างเดียวกันกับลูกค้าหลาย ๆ ราย และ
สามารถคิดค่าจ้างในราคาที่แข่งขันได้
2. คุณภาพการบริการ : ผู้รับจ้างแข่งขันกันในการให้บริการ
3. ลดความไม่แน่นอน : ควบคุมค่าใช้จ่ายได้, ลดความเสี่ยง
จากเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้
ข้อจากัด
1. หน่วยงานสูญเสียการควบคุมระบบสารสนเทศเอง
2. หน่วยงานมักจะเป็นฝ่ายตั้งรับจากฝ่ายผู้รับจ้าง
3. หน่ายงานอาจจะไม่สามารถควบคุมต้นทุนได้ และสูญเสีย
การควบคุมเทคโนโลยีในหน่วยงานตน
4. ความลับทางการค้าอาจรั่วไหลไปยังคู่แข่งได้ เนื่องจาก
ระบบสารสนเทศดาเนินการโดยบุคคลภายนอก
5. การใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
(Application software package)
เป็นการใช้โปรแกรมสาเร็จรูปซึ่งได้รับการพัฒนาแล้ว โดยมีขาย
หรือให้เช่าทั่ว ๆ ไป ซึ่งโปรแกรมเหล่านี้มีมากมายตั้งแต่งานง่าย ๆ
กระทั่งงานที่มีความซับซ้อน เช่น งานด้านเงินเดือน, บัญชี, และงาน
ควบคุมสินค้าคงคลัง
โปรแกรมสาเร็จรูป ทาให้ไม่จาเป็นต้องเขียนโปรแกรมขึ้นมาใหม่
ทาให้ต้นทุนในการดาเนินการลดลงมาก
ตัวอย่างซอร์ฟแวร์สาเร็จรูป
 บัญชีรายรับ (Accounts receivable)
 การบริหารหุ้น
 การออกแบบ (Computer – aided- design: CAD)
 การวางแผนทรัพยากร
 การจัดการโรงแรม
 การควบคุมสินค้าและคงคลัง
 ระบบห้องสมุด
 ระบบเงินเดือน
ข้อดี
1. โปรแกรมสาเร็จรูปมีการทดสอบก่อนนาออกสู่ตลาด
2. ผู้ขายมักมีการบารุงรักษาและให้การสนับสนุนระบบอย่าง
ต่อเนื่องทาให้มั่นใจในระดับหนึ่งว่าระบบมีการพัฒนาให้ทันสมัย
ทันสมัยกับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี และการพัฒนา
พัฒนาด้านธุรกิจ
ข้อจากัด
1. ในบางครั้งหน่วยงานอาจมีความต้องการงานที่มี
ลักษณะเฉพาะ ซึ่งโปรแกรมสาเร็จรูปไม่สามารถสนองต่อ
ต่อความต้องการนั้นได้

More Related Content

What's hot

กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
draught
 
ภารกิจที่ 4
ภารกิจที่ 4ภารกิจที่ 4
ภารกิจที่ 4
pichayanee
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึการพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
teacher253
 

What's hot (17)

กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศหน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ
 
SDLC
SDLCSDLC
SDLC
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L C
 
System Development Life Cycle
System Development  Life  CycleSystem Development  Life  Cycle
System Development Life Cycle
 
ภารกิจที่ 4
ภารกิจที่ 4ภารกิจที่ 4
ภารกิจที่ 4
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
Ssadm
SsadmSsadm
Ssadm
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Tools
ToolsTools
Tools
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Os ch02
Os ch02Os ch02
Os ch02
 
228-8 /231-9
228-8 /231-9228-8 /231-9
228-8 /231-9
 
Task004
Task004Task004
Task004
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึการพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
 
Inno5
Inno5Inno5
Inno5
 
M
MM
M
 

Viewers also liked

Spat Db 4 Db Design Analysis
Spat Db 4 Db Design AnalysisSpat Db 4 Db Design Analysis
Spat Db 4 Db Design Analysis
phisan_chula
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Pa'rig Prig
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
Pa'rig Prig
 

Viewers also liked (20)

Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
Spat Db 4 Db Design Analysis
Spat Db 4 Db Design AnalysisSpat Db 4 Db Design Analysis
Spat Db 4 Db Design Analysis
 
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจบทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
 
บทที่ 3.1
บทที่ 3.1บทที่ 3.1
บทที่ 3.1
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 5.1
บทที่ 5.1บทที่ 5.1
บทที่ 5.1
 
ความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ldความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ld
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
 
ลักษณะ Ld
ลักษณะ Ldลักษณะ Ld
ลักษณะ Ld
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tukขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
 
มคอ.3 ld
มคอ.3 ldมคอ.3 ld
มคอ.3 ld
 
บทที่ 4.1
บทที่ 4.1บทที่ 4.1
บทที่ 4.1
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
 
Chapter 5 composition
Chapter 5 compositionChapter 5 composition
Chapter 5 composition
 

Similar to Chapter 6 system development

บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
noonnn
 

Similar to Chapter 6 system development (20)

Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
3
33
3
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
Activity 4
Activity 4Activity 4
Activity 4
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlc
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
Sw evo 2_model
Sw evo 2_modelSw evo 2_model
Sw evo 2_model
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 

More from Pa'rig Prig

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

Chapter 6 system development