SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
บทที่ 2
การจัด การกระบวนการ
• หน้าที่ของโอเอส ประการหนึ่งคือการจัดสรร
  ทรัพยากรของระบบ โอเอสจะต้องแบ่ง
  ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำากัดให้กับผูที่ต้องการใช้
                                      ้
  ทรัพยากรเหล่านั้น ผูที่นำาทรัพยากรไปใช้ก็คือ
                        ้
  กระบวนการหรือโปรเซส (Process)
  กระบวนการเป็นองค์ประกอบที่สำาคัญในการ
  ทำางานของระบบคอมพิวเตอร์ จึงควรศึกษาวิธี
  การจัดการกระบวนการ ของโอเอสเสียก่อน
2.1 กระบวนการ (Process)
การศึกษาเรื่องกระบวนการ เป็นหัวใจของการ
  ทำาความเข้าใจระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีผู้ใช้หลาย
  คน (multi-user computer system) คำาว่า
  กระบวนการถูกใช้ครั้งแรกโดย ผู้ออกแบบระบบ
  มัลติกส์ (Multics) ในทศวรรษที่ 1960 ได้มการ
                                           ี
  ให้ความหมายของคำาว่า “กระบวนการ” ไว้
  หลายความหมายเช่น
• โปรแกรมที่กำาลังถูกปฏิบัติการ
• กิจกรรมที่มีการทำางานสัมพันธ์กัน
• สิ่งซึ่งถูกมอบหมายไปให้หน่วยประมวลผลได้
• หน่วยซึ่งถูกส่งต่อได้ (dispatchable)
การศึกษาเรื่องกระบวนการ เป็นหัวใจของการ
  ทำาความเข้าใจระบบคอมพิวเตอร์ ที่มผู้ใช้หลาย
                                       ี
  คน (multi-user computer system) คำาว่า
  กระบวนการถูกใช้ครั้งแรกโดย ผู้ออกแบบระบบ
  มัลติกส์ (Multics) ในทศวรรษที่ 1960 ได้มีการ
  ให้ความหมายของคำาว่า “กระบวนการ” ไว้
  หลายความหมายเช่น
• โปรแกรมที่กำาลังถูกปฏิบัติการ
• กิจกรรมที่มีการทำางานสัมพันธ์กัน
• สิงซึ่งถูกมอบหมายไปให้หน่วยประมวลผลได้
    ่
• หน่วยซึ่งถูกส่งต่อได้ (dispatchable)
ยังไม่มีความหมายใดเป็นที่ยอมรับกันทุกคน แต่ความ
   หมายที่เป็นที่ยอมรับ และใช้กันมากที่สดคือ ความ
                                            ุ
   หมายที่ว่า “กระบวนการ คือ โปรแกรมที่กำาลังถูก
   ปฏิบติการ” ดังนั้นจึงถือเอาความหมายนี้เป็นความ
        ั
   หมายของกระบวนการ เราอาจจะเปรียบเทียบ
   โปรแกรมเหมือนกับรถยนต์ที่จอดนิ่งอยู่ พร้อมที่จะวิ่ง
   ไป ในระบบหลายโปรแกรม กระบวนการอาจเปรียบ
   ได้กับรถยนต์ที่เริ่มต้นวิ่งออกจากจุดเริ่มต้น ถ้ามี
   หลายกระบวนการอยู่ในระบบ ก็เหมือนกับการที่มีรถ
   หลายคันที่กำาลังวิ่งออกไปพร้อม ๆ กัน ตัวซีพียูเปรียบ
   ได้กับคนขับรถ ถ้ามีซีพียูตัวเดียวก็คอมีคนขับรถ
                                        ื
   เพียงคนเดียว ดังนั้นเมื่อรถหลายคันออกวิ่ง การที่
   คนขับคนเดียวจะพารถหลาย ๆ คันวิ่งไปได้ ต้องขับ
   รถทีละคันให้วิ่งเดินหน้าออกไปทีละนิด จากนั้นก็
2.2 องค์ป ระกอบของกระบวนการ
  กระบวนการ ที่สมบูรณ์จะต้องมีส่วนประกอบ
  ต่าง ๆ ดังนี้
1.ชือและหมายเลขประจำาตัว (process ID) ของ
    ่
  กระบวนการ ซึ่งต้องไม่ซำ้ากับกระบวนการอื่น
2.ชุดคำาสั่งของโปรแกรม (program code) เป็นคำาสั่ง
  ที่สามารถปฏิบติการได้ทันที
                 ั
3.ข้อมูล (data) ที่โปรแกรมต้องการ ข้อมูลนี้อาจเป็น
  ของกระบวนการใดกระบวนการหนึง หรืออาจใช้
                                    ่
  ร่วมกันกับกระบวนการอื่น ๆ ก็ได้
4.บล็อกควบคุมกระบวนการ (process control
  block) หรือพีซีบี ระบบปฏิบัติการกำาหนด เนื้อที่
• สถานะของกระบวนการที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
• หมายเลขประจำาตัวของกระบวนการ
• ตัวนับคำาสั่ง (Program counter) เป็นค่าของหน่วย
  ความจำาที่ชี้ไปยังตำาแหน่งของคำาสั่งต่อไปทีกำาลังจะ
                                               ่
  ปฏิบัตการ (Next instruction)
          ิ
• ตัวชี้ (พอยน์เตอร์ : pointer) ชี้ไปยังตำาแหน่งที่อยู่
  ของกระบวนการ ในหน่วยความจำา
• ตัวชี้ ชี้ไปยังทรัพยากรต่างๆ ทีกระบวนการครอบ
                                   ่
  ครอง
• พื้นที่ ที่เก็บค่าของเรจิสเตอร์ (Register save area)
• พีซีบี เป็นศูนย์กลางในการเก็บข้อมูลสำาคัญทั้งหลาย
  ของกระบวนการ ที่โอเอสต้องการ เมื่อโอเอส
  ทำาการมอบหมายให้กระบวนการอืนได้ใช้ซีพียูบ้าง
                                       ่
5. PSW (program status words) เป็นตัวควบคุมลำาดับ
   การปฏิบัตการของกระบวนการ และยังเก็บข้อมูล
                ิ
   เกี่ยวกับสถานะของกระบวนการ เลขที่อยู่ของคำาสั่ง
   ต่อไปทีกำาลังจะถูกปฏิบัติการจะถูกเก็บไว้ใน PSW
            ่
    PSW จึงมีหน้าที่คล้าย ๆ กับตัวนับคำาสั่งบนเครื่อง
   ไมโครคอมพิวเตอร์
• คุณสมบัตของกระบวนการ ได้แก่
              ิ
   6.1 ลำาดับความสำาคัญ (priority) ของกระบวนการ
   กระบวนการแต่ละตัวจะถูกกำาหนดความสำาคัญขึ้น
   ขณะที่กระบวนการถูกสร้างขึ้นมา ลำาดับความ
   สำาคัญนี้อาจจะเปลียนแปลงได้หรือไม่ได้ แล้วแต่
                      ่
   ข้อกำาหนดของโอเอส กระบวนการที่มีความสำาคัญ
   มาก โอเอสจะให้สิทธิมากกว่ากระบวนการทีมีความ  ่
   สำาคัญน้อย เช่นให้เวลาของซีพียูนานกว่า (ได้
   ครอบครองซีพียูนานกว่า)
   6.2 อำานาจหน้าที่ (authority) เป็นสิ่งทีบ่งบอกว่า
                                            ่
   กระบวนการนัน ๆ สามารถทำาอะไรได้บ้าง ใช้
                  ้
2.3 สถานะของกระบวนการ

• กระบวนการต่าง ๆ ในระบบจะต้องมีสถานะในการทำางาน สถานะ
  ใดสถานะหนึง ต่อไปนี้
                  ่
• สถานะพร้อม (ready state) คือ สถานะที่กระบวนการพร้อมที่จะใช้
  ซีพียูทันที ที่โอเอส
• มอบหมายให้ ในสถานะที่ไม่มีการปฏิบัติการของกระบวนการ
  (กระบวนการหยุดนิ่ง)
• สถานะรัน (running state) คือสถานะที่กระบวนการกำาลังครอบ
  ครองซีพียูอยู่ มีการ
• ปฏิบัติการของกระบวนการจริง ๆ เพราะกระบวนการใช้ซีพียู
  ปฏิบัติการคำาสั่งหรือชุดโปรแกรมของกระบวนการนั้น
•      3. สถานะติดขัด (blocked state) คือสถานะที่กระบวนการหยุด
  รอให้เหตุการณ์ใด        เหตุการณ์หนึ่งให้เกิดขึ้นในขณะนั้น
  กระบวนการไม่จำาเป็นต้องใช้ซีพียู และยังไม่พร้อมที่จะครอบครอง
  ซีพียู จึงแยกสถานะนี้ออกมาต่างหาก
•      4. สถานะพัก (suspend state) คือสถานะที่กระบวนการไม่มี
  การทำางานใด ๆ หยุดนิ่งอย่างสมบูรณ์ ไม่มีการรอ การใช้ซีพียู
  หรือเหตุการณ์ใด ๆ เกิดขึ้น
กระบวนการ สามารถเปลี่ยนสถานะจากสถานะ
 หนึ่งไปอีกสถานะหนึ่งได้ แต่จะเปลี่ยนไปเป็น
 สถานะใดนั้น ขึ้นอยู่กับสภาพการทำางานของ
 ระบบสถานะของกระบวนการ และการทำางาน
 ของกระบวนการในขณะนั้น
2.4 การเปลี่ย นสถานะของกระบวนการ
• เมื่อผูใช้ตองการส่งงานให้เครื่องคอมพิวเตอร์
         ้       ้
  ทำาการปฏิบัตการ โดยการสั่งให้โปรแกรมทำางาน
                   ิ
  ผ่านทางโอเอส โอเอสจะรับทราบความต้องการนี้
  และเตรียมที่จะสร้างกระบวนการให้กับงานใหม่ที่
  ถูกส่งเข้ามานี้ แต่กระบวนการจะถูกสร้างขึ้นมาได้
  ต้องมีโค้ดคำาสั่งของโปรแกรม (ซึ่งเก็บไว้ในแฟ้ม
  ข้อมูลทีผู้ใช้สั่งปฏิบัตการ) ข้อมูลทีโปรแกรม
           ่              ิ            ่
  ต้องการใช้ และทีสำาคัญที่สุดคือต้องมีเนื้อทีใน
                       ่                      ่
  หน่วยความจำาหลักเพียงพอ สำาหรับกระบวนการ
  ใหม่ที่กำาลังจะเข้าไปในระบบ ถึงแม้วาจะมีโค้ด
                                         ่
  ของโปรแกรมและข้อมูลเตรียมไว้พร้อมแล้ว แต่ถ้า
  ในขณะนันมีกระบวนการอืน ๆ อยู่ในระบบและใช้
               ้               ่
  หน่วยความจำา จนเหลือเนือทีในหน่วยความจำาไม่
                              ้ ่
  เพียงพอ กระบวนการใหม่สำาหรับโปรแกรมงานนี้
  ก็ยังไม่ถกสร้างขึ้นมา จะต้องรอไปจนกว่าจะมี
             ู
งานนำเสนอ1

Contenu connexe

Tendances

Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5Nuth Otanasap
 
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
CPU Scheduling
CPU  SchedulingCPU  Scheduling
CPU SchedulingHi Nana
 
สถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสสถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสThanaporn Singsuk
 
ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์
ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์
ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์Preepram Laedvilai
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานF'olk Worawoot
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสThanaporn Singsuk
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3Nuttapoom Tossanut
 

Tendances (11)

Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5
 
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
CPU Scheduling
CPU  SchedulingCPU  Scheduling
CPU Scheduling
 
กลุ่ม6
กลุ่ม6กลุ่ม6
กลุ่ม6
 
สถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสสถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซส
 
Ch07ath
Ch07athCh07ath
Ch07ath
 
ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์
ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์
ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซส
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
 

En vedette

090528 Miller Process Forensics Talk @ Asq
090528 Miller Process Forensics Talk @ Asq090528 Miller Process Forensics Talk @ Asq
090528 Miller Process Forensics Talk @ Asqrwmill9716
 
Summary research on c pk vs cp
Summary research on c pk vs cpSummary research on c pk vs cp
Summary research on c pk vs cpIngrid McKenzie
 
Asq Auto Webinar Spc Common Questions Web
Asq Auto Webinar Spc Common Questions WebAsq Auto Webinar Spc Common Questions Web
Asq Auto Webinar Spc Common Questions WebWalter Oldeck
 
กำหนดการอบรม Social network ppk
กำหนดการอบรม Social network ppkกำหนดการอบรม Social network ppk
กำหนดการอบรม Social network ppkkrupiti
 
Business Capability-centric Management of Services and Business Process Models
Business Capability-centric Management of Services and Business Process ModelsBusiness Capability-centric Management of Services and Business Process Models
Business Capability-centric Management of Services and Business Process ModelsWassim Derguech
 
2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tyk2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tykSirisin Thaburai
 
Process Capability - Cp, Cpk. Pp, Ppk
Process Capability - Cp, Cpk. Pp, Ppk Process Capability - Cp, Cpk. Pp, Ppk
Process Capability - Cp, Cpk. Pp, Ppk J. García - Verdugo
 
Production planning & control
Production planning & controlProduction planning & control
Production planning & controlamirthakarthi
 

En vedette (13)

090528 Miller Process Forensics Talk @ Asq
090528 Miller Process Forensics Talk @ Asq090528 Miller Process Forensics Talk @ Asq
090528 Miller Process Forensics Talk @ Asq
 
Summary research on c pk vs cp
Summary research on c pk vs cpSummary research on c pk vs cp
Summary research on c pk vs cp
 
4.fmea
4.fmea4.fmea
4.fmea
 
Asq Auto Webinar Spc Common Questions Web
Asq Auto Webinar Spc Common Questions WebAsq Auto Webinar Spc Common Questions Web
Asq Auto Webinar Spc Common Questions Web
 
กำหนดการอบรม Social network ppk
กำหนดการอบรม Social network ppkกำหนดการอบรม Social network ppk
กำหนดการอบรม Social network ppk
 
เครื่องมือ 7 คุณภาพ
เครื่องมือ 7 คุณภาพเครื่องมือ 7 คุณภาพ
เครื่องมือ 7 คุณภาพ
 
Business Capability-centric Management of Services and Business Process Models
Business Capability-centric Management of Services and Business Process ModelsBusiness Capability-centric Management of Services and Business Process Models
Business Capability-centric Management of Services and Business Process Models
 
2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tyk2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tyk
 
APQP. and Control Plan
APQP. and Control PlanAPQP. and Control Plan
APQP. and Control Plan
 
Process Capability - Cp, Cpk. Pp, Ppk
Process Capability - Cp, Cpk. Pp, Ppk Process Capability - Cp, Cpk. Pp, Ppk
Process Capability - Cp, Cpk. Pp, Ppk
 
APQP. 2nd Edition
APQP. 2nd EditionAPQP. 2nd Edition
APQP. 2nd Edition
 
Apqp ppt
Apqp pptApqp ppt
Apqp ppt
 
Production planning & control
Production planning & controlProduction planning & control
Production planning & control
 

Similaire à งานนำเสนอ1

Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Nuth Otanasap
 
Ch 1 introos
Ch 1 introosCh 1 introos
Ch 1 introosporpat21
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structurekrissapat
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น-
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 11
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  11โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  11
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 11monoiiza
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศFfurn Leawtakoon
 

Similaire à งานนำเสนอ1 (20)

B3
B3B3
B3
 
Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4
 
Ch 1 introos
Ch 1 introosCh 1 introos
Ch 1 introos
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structure
 
Os ch02
Os ch02Os ch02
Os ch02
 
Os ch02
Os ch02Os ch02
Os ch02
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 11
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  11โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  11
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 11
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
M
MM
M
 
M
MM
M
 

Plus de ninewnilubon

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1ninewnilubon
 
การจักการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การจักการเรียนรู้แบบร่วมมือการจักการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การจักการเรียนรู้แบบร่วมมือninewnilubon
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์.Doc12
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์.Doc12เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์.Doc12
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์.Doc12ninewnilubon
 
พฤติกรรมและอารมณ์1
พฤติกรรมและอารมณ์1พฤติกรรมและอารมณ์1
พฤติกรรมและอารมณ์1ninewnilubon
 
โครงการหนังสือทำมือ1
โครงการหนังสือทำมือ1โครงการหนังสือทำมือ1
โครงการหนังสือทำมือ1ninewnilubon
 
โครงการหนังสือทำมือ
โครงการหนังสือทำมือโครงการหนังสือทำมือ
โครงการหนังสือทำมือninewnilubon
 
พฤติกรรมและอารมณ์
พฤติกรรมและอารมณ์พฤติกรรมและอารมณ์
พฤติกรรมและอารมณ์ninewnilubon
 
โครงการหนังสือทำมือ
โครงการหนังสือทำมือโครงการหนังสือทำมือ
โครงการหนังสือทำมือninewnilubon
 

Plus de ninewnilubon (8)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การจักการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การจักการเรียนรู้แบบร่วมมือการจักการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การจักการเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์.Doc12
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์.Doc12เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์.Doc12
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์.Doc12
 
พฤติกรรมและอารมณ์1
พฤติกรรมและอารมณ์1พฤติกรรมและอารมณ์1
พฤติกรรมและอารมณ์1
 
โครงการหนังสือทำมือ1
โครงการหนังสือทำมือ1โครงการหนังสือทำมือ1
โครงการหนังสือทำมือ1
 
โครงการหนังสือทำมือ
โครงการหนังสือทำมือโครงการหนังสือทำมือ
โครงการหนังสือทำมือ
 
พฤติกรรมและอารมณ์
พฤติกรรมและอารมณ์พฤติกรรมและอารมณ์
พฤติกรรมและอารมณ์
 
โครงการหนังสือทำมือ
โครงการหนังสือทำมือโครงการหนังสือทำมือ
โครงการหนังสือทำมือ
 

งานนำเสนอ1

  • 2. • หน้าที่ของโอเอส ประการหนึ่งคือการจัดสรร ทรัพยากรของระบบ โอเอสจะต้องแบ่ง ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำากัดให้กับผูที่ต้องการใช้ ้ ทรัพยากรเหล่านั้น ผูที่นำาทรัพยากรไปใช้ก็คือ ้ กระบวนการหรือโปรเซส (Process) กระบวนการเป็นองค์ประกอบที่สำาคัญในการ ทำางานของระบบคอมพิวเตอร์ จึงควรศึกษาวิธี การจัดการกระบวนการ ของโอเอสเสียก่อน
  • 3. 2.1 กระบวนการ (Process) การศึกษาเรื่องกระบวนการ เป็นหัวใจของการ ทำาความเข้าใจระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีผู้ใช้หลาย คน (multi-user computer system) คำาว่า กระบวนการถูกใช้ครั้งแรกโดย ผู้ออกแบบระบบ มัลติกส์ (Multics) ในทศวรรษที่ 1960 ได้มการ ี ให้ความหมายของคำาว่า “กระบวนการ” ไว้ หลายความหมายเช่น • โปรแกรมที่กำาลังถูกปฏิบัติการ • กิจกรรมที่มีการทำางานสัมพันธ์กัน • สิ่งซึ่งถูกมอบหมายไปให้หน่วยประมวลผลได้ • หน่วยซึ่งถูกส่งต่อได้ (dispatchable)
  • 4. การศึกษาเรื่องกระบวนการ เป็นหัวใจของการ ทำาความเข้าใจระบบคอมพิวเตอร์ ที่มผู้ใช้หลาย ี คน (multi-user computer system) คำาว่า กระบวนการถูกใช้ครั้งแรกโดย ผู้ออกแบบระบบ มัลติกส์ (Multics) ในทศวรรษที่ 1960 ได้มีการ ให้ความหมายของคำาว่า “กระบวนการ” ไว้ หลายความหมายเช่น • โปรแกรมที่กำาลังถูกปฏิบัติการ • กิจกรรมที่มีการทำางานสัมพันธ์กัน • สิงซึ่งถูกมอบหมายไปให้หน่วยประมวลผลได้ ่ • หน่วยซึ่งถูกส่งต่อได้ (dispatchable)
  • 5. ยังไม่มีความหมายใดเป็นที่ยอมรับกันทุกคน แต่ความ หมายที่เป็นที่ยอมรับ และใช้กันมากที่สดคือ ความ ุ หมายที่ว่า “กระบวนการ คือ โปรแกรมที่กำาลังถูก ปฏิบติการ” ดังนั้นจึงถือเอาความหมายนี้เป็นความ ั หมายของกระบวนการ เราอาจจะเปรียบเทียบ โปรแกรมเหมือนกับรถยนต์ที่จอดนิ่งอยู่ พร้อมที่จะวิ่ง ไป ในระบบหลายโปรแกรม กระบวนการอาจเปรียบ ได้กับรถยนต์ที่เริ่มต้นวิ่งออกจากจุดเริ่มต้น ถ้ามี หลายกระบวนการอยู่ในระบบ ก็เหมือนกับการที่มีรถ หลายคันที่กำาลังวิ่งออกไปพร้อม ๆ กัน ตัวซีพียูเปรียบ ได้กับคนขับรถ ถ้ามีซีพียูตัวเดียวก็คอมีคนขับรถ ื เพียงคนเดียว ดังนั้นเมื่อรถหลายคันออกวิ่ง การที่ คนขับคนเดียวจะพารถหลาย ๆ คันวิ่งไปได้ ต้องขับ รถทีละคันให้วิ่งเดินหน้าออกไปทีละนิด จากนั้นก็
  • 6. 2.2 องค์ป ระกอบของกระบวนการ กระบวนการ ที่สมบูรณ์จะต้องมีส่วนประกอบ ต่าง ๆ ดังนี้ 1.ชือและหมายเลขประจำาตัว (process ID) ของ ่ กระบวนการ ซึ่งต้องไม่ซำ้ากับกระบวนการอื่น 2.ชุดคำาสั่งของโปรแกรม (program code) เป็นคำาสั่ง ที่สามารถปฏิบติการได้ทันที ั 3.ข้อมูล (data) ที่โปรแกรมต้องการ ข้อมูลนี้อาจเป็น ของกระบวนการใดกระบวนการหนึง หรืออาจใช้ ่ ร่วมกันกับกระบวนการอื่น ๆ ก็ได้ 4.บล็อกควบคุมกระบวนการ (process control block) หรือพีซีบี ระบบปฏิบัติการกำาหนด เนื้อที่
  • 7. • สถานะของกระบวนการที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน • หมายเลขประจำาตัวของกระบวนการ • ตัวนับคำาสั่ง (Program counter) เป็นค่าของหน่วย ความจำาที่ชี้ไปยังตำาแหน่งของคำาสั่งต่อไปทีกำาลังจะ ่ ปฏิบัตการ (Next instruction) ิ • ตัวชี้ (พอยน์เตอร์ : pointer) ชี้ไปยังตำาแหน่งที่อยู่ ของกระบวนการ ในหน่วยความจำา • ตัวชี้ ชี้ไปยังทรัพยากรต่างๆ ทีกระบวนการครอบ ่ ครอง • พื้นที่ ที่เก็บค่าของเรจิสเตอร์ (Register save area) • พีซีบี เป็นศูนย์กลางในการเก็บข้อมูลสำาคัญทั้งหลาย ของกระบวนการ ที่โอเอสต้องการ เมื่อโอเอส ทำาการมอบหมายให้กระบวนการอืนได้ใช้ซีพียูบ้าง ่
  • 8. 5. PSW (program status words) เป็นตัวควบคุมลำาดับ การปฏิบัตการของกระบวนการ และยังเก็บข้อมูล ิ เกี่ยวกับสถานะของกระบวนการ เลขที่อยู่ของคำาสั่ง ต่อไปทีกำาลังจะถูกปฏิบัติการจะถูกเก็บไว้ใน PSW ่ PSW จึงมีหน้าที่คล้าย ๆ กับตัวนับคำาสั่งบนเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ • คุณสมบัตของกระบวนการ ได้แก่ ิ 6.1 ลำาดับความสำาคัญ (priority) ของกระบวนการ กระบวนการแต่ละตัวจะถูกกำาหนดความสำาคัญขึ้น ขณะที่กระบวนการถูกสร้างขึ้นมา ลำาดับความ สำาคัญนี้อาจจะเปลียนแปลงได้หรือไม่ได้ แล้วแต่ ่ ข้อกำาหนดของโอเอส กระบวนการที่มีความสำาคัญ มาก โอเอสจะให้สิทธิมากกว่ากระบวนการทีมีความ ่ สำาคัญน้อย เช่นให้เวลาของซีพียูนานกว่า (ได้ ครอบครองซีพียูนานกว่า) 6.2 อำานาจหน้าที่ (authority) เป็นสิ่งทีบ่งบอกว่า ่ กระบวนการนัน ๆ สามารถทำาอะไรได้บ้าง ใช้ ้
  • 9. 2.3 สถานะของกระบวนการ • กระบวนการต่าง ๆ ในระบบจะต้องมีสถานะในการทำางาน สถานะ ใดสถานะหนึง ต่อไปนี้ ่ • สถานะพร้อม (ready state) คือ สถานะที่กระบวนการพร้อมที่จะใช้ ซีพียูทันที ที่โอเอส • มอบหมายให้ ในสถานะที่ไม่มีการปฏิบัติการของกระบวนการ (กระบวนการหยุดนิ่ง) • สถานะรัน (running state) คือสถานะที่กระบวนการกำาลังครอบ ครองซีพียูอยู่ มีการ • ปฏิบัติการของกระบวนการจริง ๆ เพราะกระบวนการใช้ซีพียู ปฏิบัติการคำาสั่งหรือชุดโปรแกรมของกระบวนการนั้น • 3. สถานะติดขัด (blocked state) คือสถานะที่กระบวนการหยุด รอให้เหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่งให้เกิดขึ้นในขณะนั้น กระบวนการไม่จำาเป็นต้องใช้ซีพียู และยังไม่พร้อมที่จะครอบครอง ซีพียู จึงแยกสถานะนี้ออกมาต่างหาก • 4. สถานะพัก (suspend state) คือสถานะที่กระบวนการไม่มี การทำางานใด ๆ หยุดนิ่งอย่างสมบูรณ์ ไม่มีการรอ การใช้ซีพียู หรือเหตุการณ์ใด ๆ เกิดขึ้น
  • 10. กระบวนการ สามารถเปลี่ยนสถานะจากสถานะ หนึ่งไปอีกสถานะหนึ่งได้ แต่จะเปลี่ยนไปเป็น สถานะใดนั้น ขึ้นอยู่กับสภาพการทำางานของ ระบบสถานะของกระบวนการ และการทำางาน ของกระบวนการในขณะนั้น
  • 11. 2.4 การเปลี่ย นสถานะของกระบวนการ • เมื่อผูใช้ตองการส่งงานให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ้ ้ ทำาการปฏิบัตการ โดยการสั่งให้โปรแกรมทำางาน ิ ผ่านทางโอเอส โอเอสจะรับทราบความต้องการนี้ และเตรียมที่จะสร้างกระบวนการให้กับงานใหม่ที่ ถูกส่งเข้ามานี้ แต่กระบวนการจะถูกสร้างขึ้นมาได้ ต้องมีโค้ดคำาสั่งของโปรแกรม (ซึ่งเก็บไว้ในแฟ้ม ข้อมูลทีผู้ใช้สั่งปฏิบัตการ) ข้อมูลทีโปรแกรม ่ ิ ่ ต้องการใช้ และทีสำาคัญที่สุดคือต้องมีเนื้อทีใน ่ ่ หน่วยความจำาหลักเพียงพอ สำาหรับกระบวนการ ใหม่ที่กำาลังจะเข้าไปในระบบ ถึงแม้วาจะมีโค้ด ่ ของโปรแกรมและข้อมูลเตรียมไว้พร้อมแล้ว แต่ถ้า ในขณะนันมีกระบวนการอืน ๆ อยู่ในระบบและใช้ ้ ่ หน่วยความจำา จนเหลือเนือทีในหน่วยความจำาไม่ ้ ่ เพียงพอ กระบวนการใหม่สำาหรับโปรแกรมงานนี้ ก็ยังไม่ถกสร้างขึ้นมา จะต้องรอไปจนกว่าจะมี ู