SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  35
Télécharger pour lire hors ligne
รายงานการศึกษารายกรณี

                    เรื่อง Dengue fever




                          จัดทําโดย

                นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ

           นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร ชันปที่ 4
                                     ้

                  เลขทะเบียน 5214680067



                            เสนอ

               อาจารยประกายเพชร สุภะเกษ


รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาการรักษาพยาบาลขั้นตน (พย.482)

          คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

                 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555




                                นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
1.ขอมูลทั่วไปผูรับบริการ

โรงพยาบาล สามโคก

ชื่อผูรับบริการ ....ชายชาวลาว.....         เพศชาย HN 59646                 อายุ 24 ป

สถานภาพสมรส โสด              เชื้อชาติ ลาว สัญชาติ ลาว ศาสนา พุทธ อาชีพ ทําสวน ระดับการศึกษา ปวส.

ที่อยู   16/3 หมู 10       ตําบลหนาไม   อําเภอลาดหลุมแกว       จังหวัดปทุมธานี

วันที่ตรวจ 21 พฤศจิกายน 2555

(แหลงขอมูล จากผูรับบริการ และฐานขอมูลของโรงพยาบาลสามโคก )

2.อาการสําคัญ (Chief complaint)

มีไข ตัวรอน หนาวสั่น 2 วันกอนมาโรงพยาบาล

3. การซักประวัติ (History Interview)

          3.1 ประวัติการเจ็บปวยปจจุบัน (Present Illness)

          2วันกอนมา รพ.เวียนศีรษะ มีไขสูงหนาวสั่นมักจะเปนไขในชวงบาย ไมไอ ไมเจ็บคอ มีน้ํามูกใสๆ
เล็กนอย ปวดเมื่อยที่บริเวณหลังและตนขาทั้งสองขางรับประทานยาพาราไป 3 เม็ด อาการทุเลาลง แต
กลับมามีไขสูงอีก รูสึกขมในปาก เบื่ออาหาร รับประทานอาหารไดนอย

          1วันกอนมา รพ. มีไขสูงรวมกับถายเหลวประมาณ 3 ครั้ง ไมไดสังเกตลักษณะลักษณะอุจจาระ
ปวดหนวงบริเวณทองนอย ปสสาวะสีเหลืองเขม ไมแสบขัด

          3.2 ประวัติการเจ็บปวยในอดีต (Past History)

          ปฏิเสธโรคประจําตัวรายแรงใดๆ และไมเคยไดรับอุบัติเหตุที่รุนแรงหรือผาตัด

          3.3 ประวัติครอบครัว (Family History)

          ปฏิเสธโรคประจําตัวหรือโรคเรื้อรังของบุคคลในครอบครัว

          ปฏิเสธโรคติดตอรายแรงในครอบครัว

                                                        นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
3.4 ประวัติสวนตัว (Personal History)

        -ประกอบอาชีพทําสวน

        - ในระยะ 1 สัปดาหที่ผานมามีเพื่อนบานปวยเปนโรคไขเลือดออก

        - บานอยูใกลลําคลองและบอน้ํา นอนอยูบานไมไดกางมุง ใชมุงลวด

        3.5 ประวัติการแพยา (History of drug allergy)

        -ยังไมเคยแพยาหรืออาหารใดๆ

        3.6 การซักประวัติตามระบบ (History of system ; ROS)

ลักษณะทั่วไป : ชาวชาวลาว วัยผูใหญ รูปรางสัดทัด ทาทางออนเพลีย โดยทั่วไปแข็งแรงดีไมคอยเจ็บปวย
หนัก ไมคอยเปนหวัดเปนหวัดปละ 1-2 ครั้ง เปนคนอารมณดี ไมคอยหงุดงายหรือคิดมาก ไมคอยไดออก
กําลังกายแตทุกวันจะทําสวนอยูแลว ชวงนี้รูสึกหนามืด ออนเพลีย ไมมีแรง เวียนศีรษะ มีไขสูงหนาวสั่น
ใหความรวมมือในการตอบคําถามและการตรวจรางกายดี

ผิวหนัง : ไมเคยมีอาการคัน ผื่น หรือโรคทางผิวหนังมากอน

ศีรษะ : ไมเคยมีแผล หรือผื่นคัน ไมเคยไดรับอุบัติเหตุรุนแรงกระทบกระแทกที่ศีรษะ ชวง2 วันมานี้มี
อาการเวียนศีรษะ หนามืด

ใบหนา : เคยมีสิวที่ใบหนา ไมเคยไดรับอุบัติเหตุที่ใบหนา ชวงสองวันนี้รูสึกหนาแดง สัมผัสรอน

ตา      :มองเห็นชัดเจนไมตองใชแวนตา ไมเคยมีหนังตาตก ไมเคยเปนโรคเกี่ยวกับตา

หู      :ไดยินเสียงชัดเจนดี ไมเคยมีสิ่งคัดหลั่งไหลออกมา ไมเคยมีโรคเกี่ยวหูและชองหู

จมูกและโพรงจมูก : เคยเปนหวัดนานๆครั้ง จะมีน้ํามูกใสๆ ไมเคยปะสบอุบัติเหตุเกี่ยวกับโพรงจมูก สองวัน
มานี้มีน้ํามูกใสๆเล็กนอย

ปากและคอ : ไมเคยมีแผลที่ปากและคอ กลืนอาหารไดปกติ ชวงสองวันนี้รูสึกขมปาก ไมอยากรับประทาน
อาหาร ไมมีกดเจ็บบริเวณลําคอ ไมเคยมีโรคเกี่ยวกับตอมไทรอยด



                                                       นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
ระบบหายใจ : ไมเคยมีอาการไอเรื้อรังหรือไอเปนเลือด ไมมีอาการหอบเหนื่อยหรือหายใจลําบากเวลา
กลางคืน เคยเปนหวัดบางปละ 1-2 ครั้ง

ระบบไหลเวียนโลหิตและหัวใจ : ไมเคยมีอาการใจสั่น หรือเจ็บหนาอก ไมมีปลายมือปลายเทาเขียว ชวงสอง
วันนี้รูสึกหนามืดบอย วิงเวียนศีรษะ

ระบบทางเดินอาหาร : รับประทานอาหารเวลา วันละ 3 มื้อ ไมมีอาการเจ็บแสบบริเวณลิ้นป ไมมีอาการ
คลื่นไสอาเจียนไมมีอาการทองอืด ไมมีตัวตาเหลือง ไมมีถายเปนเลือด ชวงสองวันนี้มีอาการขมในปาก ไม
อยากรับประทานอาหาร รวมกับมีถายเปนเนื้อเหลวๆ ประมาณ 3 ครั้ง ไมไดสังเกตลักษณะอุจจาระ

ระบบทางเดินปสสาวะ : ถายปสสาวะปกติดี สีเหลืองเขม ปสสาวะรอน ไมมีอาการแสบขัด ไมเคยเปนโรค
ในระบบทางเดินปสสาวะ

ระบบอวัยวะเพศ : ไมเคยเปนโรคทางเพศสัมพันธ

ระบบกระดูกและกลามเนื้อ : ไมเคยมีการบาดเจ็บที่กระดูกและขอ เคยมีอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อเนื่องจาก
การทํางาน ชวงสองวันที่ผานมารูสึกปวดบั้นเอว และตนขาทั้งสองขาง

ระบบประสาท : ไมเคยมีประวัติชัก ปาดเบี้ยว ไมเคยมีอาการชา หรืออาการออนแรงของกลามเนื้อ

ระบบตอมไรทอ : ไมเคยมีอาการของเบาหวาน ตอมไทรอยด ไมมีประวัติใจสั่น น้ําหนักลด



4. การตรวจรางกาย (Physical Examination)

แรกรับวันที่ 21 พฤศจิกายน 2555

        4.1 Vital signs BT = 39 °c P = 104ครั้ง/นาที R = 20 ครั้ง/นาที BP = 130/72 mmHg

Weight 58 Kgs Height 166 cms

ภาวะโภชนาการ อยูในเกณฑปกติ BMI = 21.04 Kg/m2




                                                    นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
4.2 Psychosocial assessment

         Normal body build ,good conscious ,well orientation ,no pale,look weak and tried,well participate
and coordination ,well co-orperation

         4.3 Physical assessment

Skin

         Red skin and warm to touch ,no cyanosis ,no jaundice ,no abnormal pigment ,good skin turgor
,rare papule at both arms and numerous papule at chest

Nails

         Pink in color ,normal shape , clean and short nails , no clubbing fingers, no spoon nails,capillary
refill <2 s.

Head and Neck

         Normal shape and size, Symmetry , no lesion ,no evidence of trauma , no enlargement of
lympnodes ,no distented vein ,Full range of motion

Eyes

         Normal eye contour , eyebrows and eyelids no edema , No icteric sclera ,no injection , normal
conjunctivas , normal extra ocular movement ,pupil 3 mm. react to light both eyes.

Ears

         Normal external structure ,normal ear canal ,no ear wax ,no abnormal discharge , normal hearing
,no enlargement of post auticular lympnodes.

Nose

         Normal external configuration,symmetry, midline septum , Turbinate-pink,normal nasal
mucosa,no polyps,no swelling,no bleeding ,no tenderness at maxillary and frontal sinus.

                                                        นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
Mouth

          Normal shape and size , Moisture lips ,pink oral mucosa and gingival ,normal salivation ,no
lesion

Tongue

          Normal papillae, no glossitis ,frenulum intract .normal size and texture,Intact hard and soft
palate.

Throat

          Pharynx and tonsil not inject , tonsil 1+, uvala in midline ,no lymphadenopathy

Neck

          Normal shape and size ,Symmetrical from all angles ,no disteneded vein ,full range of motion.no
massand cysts,Trachea in midline, no enlargement of thyroid gland

Chest

          Normal chest contour and symmetry.A-P diameter:transverse diameter = 1:2 no
kyphosis,scoliosis and lordosis,Rt=Lt.Respiratory rate 20 bpm rhythm regular.No mass and tenderness,Rt
and Lt axially lymph node no mass and tendernsee

Lung

          Normal lung expansion ,normal air entry ,Lung sound clear ,no adventitious sound.

Heart

          Normal S 1 S 2 ,no splitting ,heart rate 115 bpm. ,no murmur and thrill.




                                                         นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
Abdomen

        Normal size and shape ,no distension ,no ascites ,no scar ,no lesion , normal active bowel
sound ,Soft , no mass ,no tenderness , liver and spleen not palpable ,Abdomen tympanic percussion ,
,CVA not tenderness.

Genitalia Not done

Rectal Examination Not done

Musculoskeletal system

        No deformities of arms and legs ,normal movement joint , not swelling , Full rang of motion
,muscle power grade Lt= 5 ,Rt=5

Neurologic system

        Good conscious ,E4V5M6 ,sensation normal, pupil react to light 3 mm. both eyes



5 .การวินิจฉัยแยกโรค ( Differential Diagnosis ) พรอมเหตุผล

        5.1 รายการปญหา (Problem lists)

                5.1.1 จากการซักประวัติ

                1) มีไข ( Fever )

                2) ปวดศีรษะมาก ( Severe headache )

                3) ไมอยากอาหาร ( Appetite )

                4) ปวดเมื่อยกลามเนื้อบริเวณหลังและตนขาทั้งสองขาง (Muscle aches )

                5) ถายเหลว ( Diarrhea )



                                                     นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
5.1.2 จากการตรวจรางกาย

                 - Vital sign แรกรับ BT = 39 °c P = 104ครั้ง/นาที R = 20 ครั้ง/นาที BP = 130/72
mmHg

                 - ขาดน้ํา ( dehydration )

                 - Tourniquet test :Positive

จากขอมูล Problem list อาจลําดับเหตุการณ ( sequence of event ) ทําใหนึกถึงโรคไดดังนี้

    1) ไขเลือดออก ( Dengue fever )
    2) กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน ( Acute pyelonephritis )
    3) ไขหวัดใหญ ( Influenza )
    4) ไขมาลาเรีย (Malaria)




                                                      นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
พยาธิสภาพของผูรับบริการ

    คนแถวบ้านป่วยเป็น                          ผู้รับบริ การเพศชายอายุ 24 ปี            มีไข้ หนาวสัน 2วันก่อนมารพ.
                                                                                                    ่
    ไข้ เลือดออก


  ผู้รับบริ การถูกยุงลายทีมีเชื ้อ Dengue
                          ่                                                        เกิดปฏิกิริยาตอบสนอง
  virus กด เชื ้อฟักตว 3-15 วัน
         ั           ั                       กระตุ้น macrophage หลง
                                                                  ั่               กระตุ้นการทํางานของ
                                             Endrogenous pyrogen                   hypothalamus


      เชื ้อแบ่งตัวเพิ่มจํานวน                                                            ปวดศีรษะ 2วันก่อน
                                                         เกิดจากร่างกายมีการหลง
                                                                              ั่
                                                                                          มารพ.
  กระตุ้น antibodyมาจับกินเชื ้อ และปล่อยสาร             สารบางอย่าง เช่น
                                                         cytokines ,
  maidiators มากระตุ้นระบบ complement
                                                         prostaglandins                           Metabolism rate สูง
  ของร่างกาย


                                                      เพิ่มpermeability ของ          หลอดเลือดต่างๆหดตัว
สารประกอบเกาะที่ผิวเกล็ดเลือดทําให้                   หลอดเลือด
เกลดเลอดเกาะกลม และถกทําลาย
   ็ ื        ุ่    ู
                                                                                        กล้ามเนื ้อเกร็งตว
                                                                                                         ั
                                                    Plasma ออกนอกหลอดเลือด
       ปริมาณเกลดเลอดลดลง
                ็ ื

                                            เสียงต่อภาวะ hypovolemic shock
                                               ่                                           ปวดเมื่อยกล้ามเนื ้อ
    เสียงต่อภาวะเลือดออกง่าย
       ่


                                                       ORS จิบบ่อยๆ

Tourniquet test ผล Positive


                                              - แนะนําระวังกิจกรรมที่ทาให้
                                                                      ํ
                                              เลือดออก และสังเกตภาวะ
                                              เลอดออกผิดปกติ
                                                ื




                                                                นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
6.การวินิจฉัยโรคเบื้องตนของนักศึกษา และการวินิจฉัยของแพทย กอนการตรวจพิเศษเพิ่มเติม

การวินิจฉัยโรคเบื้องตนของนักศึกษา                    การวินิจฉัยโรคเบื้องตนของแพทย

Dengue fever                                          Dengue fever



 เมื่อวันที่ 21 /11/2555 ไดมีการตรวจพิเศษดังนี้

  การตรวจพิเศษ/ตรวจทางหองปฏิบัติการ               คาปกติ      ผลการตรวจ               แปลผล
Touniquet test                                                Positive
CBC : WBC                                      5000-10,900    12700 cell/mm3    สูงกวาปกติ
          Hct                                  37-54 %        38%               ปกติ
          Hb                                   14-18          12.7              มีภาวะซีดเล็กนอย
          MCV                                  80-92          49.5              ต่ํากวาปกติ
          MCH                                  27-31          16.7              มีภาวะซีด
          MCHC                                 32-42          33.8 g/dL         ปกติ
          PLT                                  140000-440000 203,000            ปกติ
          Lymphocyte                           10-59          44%               ปกติ
         Monocyte                              2-10           2%                ปกติ
         Neutrophill                           40-75          42%(band 12%)     Band สูง มีการติดเชื้อ
         Eosinophile                           1.0-6.0        0%                ปกติ
‘       Basophils                              0-1            0%                ปกติ
UA : Color                                      Yellow ,clear Yellow ,clear     ปกติ
        Sp.gr.                                 1.021          1.003-1.030       ปกติ
        pH                                     5.6            4.6-8             ปกติ
        WBC                                    1-2            0-2               ปกติ
        RBC                                    1-2            0-2               ปกติ
       Protien                                 Negative       Negative          ปกติ
       Sugar                                   Negative       Negative          ปกติ
       Ketone                                  1+             Negative          ผิดปกติ(อาจมาจากภาวะ
                                                                                อดอาหาร)
        Bacteria                               Negative        Negative         ปกติ

                                                      นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
โรค                                  ทฤษฎี                                     ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน          ขอมูลอาการและอาการแสดงที่
                                                                                               ผูปวย (Positive data)           พบในผูปวย (Negative data)
Dengue fever   สาเหตุ ไวรัสเดงกีซึ่งมีอยู 4 สายพันธุ ติดเชื้อครั้งแรกมักจะมี       - ผูรับบริการบอกวา คนแถวบานปวย       - ไมมีอาการปวดทอง/ กดเจ็บ
               อาการไมรุนแรง แตถาติดเชื้อครั้งที่ 2 โดยเชื้อที่ตางสายพันธุกับ   เปนไขเลือดออก , บริเวณบานมีคลอง       บริเวณตับ มาม
               ครั้งแรก อาการมักจะรุนแรงถึงขั้นเลือดออกหรือช็อค                      และบอน้ํา                               -ไมอาเจียน
               การติดตอ มียุงลาย (Aedes aegypt ) เปนพาหะที่สําคัญ                  -ผูรับบริการมาดวยอาการมีไขสูงหนาว     - liver and spleen not palpable
               อาการ การติดเชื้อไวรัสแดงกีครั้งแรก ผูปวยสวนใหญ (80-              สั่น 2 วันกอนมารพ. เบื่ออาหาร           - ผล CBC: Hct 38%
               90%) จะไมแสดงอาการ จะมีไขสูง ปวดศีรษะ ปวดกลามเนื้อ                 คลื่นไส ปวดเมื่อยที่หลังและขาทั้งสอง               PLT 203,000cell/mm3
               ปวดกระดูก และมีผื่นที่ผิวหนังได แตถาติดเชื้อครั้งที่สอง โดย        ขาง
               เชื้อที่ตางสายพันธุกับครั้งแรก อาจเปนไขเลือดออก ซึ่งมีอาการ       -Body temperature 39˚c P = 104ครั้ง/
               สําคัญแบงแบงออกได 3 ระยะ คือ                                       นาที
               1. ระยะไข ผูปวยจะมีไขสูงเกือบตลอดเวลา เด็กบางคนอาจชัก             - look weak and tried
               เนื่องจากไขสูง เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน ปวดทอง มักมีหนา         - Red skin and warm to touch
               แดง และอาจมีผื่นหรือจุดเลือดออกตามลําตัว แขน ขา ระยะนี้               - Rare papule at both arms and
               จะเปนอยูราว 2-7 วัน                                                 numerous papule at chest
                2. ระยะช็อค ระยะนี้ไขจะเริ่มลดลง ผูปวยจะซึม เหงื่อออก มือ         -Tourniquet test ผล Positive
               เทาเย็น ชีพจรเตนเบาแตเร็ว ปวดทอง โดยเฉพาะบริเวณใตชาย             - ผล CBC :WBC 12700 cell/mm3
               โครงขวา ปสสาวะออกนอย อาจมีเลือดออกงาย เชน มีเลือด                              Neutrophill 42%(band 12%)
               กําเดาไหล อาเจียนเปนเลือด อุจจาระมีสีดํา ในรายที่รุนแรง จะ
               มีความดันโลหิตต่ํา ช็อค และอาจถึงตายได ระยะนี้กินเวลา 24-


                                                                                                           นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
โรค                                      ทฤษฎี                                 ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน         ขอมูลอาการและอาการแสดงที่
                                                                                              ผูปวย (Positive data)          พบในผูปวย (Negative data)
                      48 ชั่วโมง
                      3.ระยะพักฟน อาการตางๆจะเริ่มดีขึ้น ผูปวยรูสึกอยาก
                      รับประทานอาหาร ความดันโลหิตสูงขึ้น ชีพจรเตนแรงขึ้นและ
                      ชาลง ปสสาวะมากขึ้น บางรายมีผื่นแดงและมีจุดเลือดออก
                      เล็กๆ ตามลําตัว
                      สิ่งที่ตรวจพบ มีไขสูง มีเลือดออกงาย (ทดสอบโดย Tourniquet
                      test , พบจุดเลือดออกตามรางกาย เชน เลือดกําเดา เลือดออก
                      ตามไรฟน) เจ็บชายโครงขวาเนื่องจากตับโต ช็อค ตรวจเลือด
                      พบเกล็ดเลือดต่ํา เลือดขนขึ้น และอาจตรวจน้ําเหลืองหรือเพาะ
                      เชื้อไวรัสจากเลือด เพื่อยืนยันการวินิจฉัย อยางไรก็ตาม ใน
                      ระยะ 1-2 วันของไข อาจมีอาการไมชัดเจน ผลเลือดอาจจะยัง
                      ปกติ จึงตองสังเกตอาการอยางใกลชิดและเจาะเลือดซ้ําถา
                      อาการไมดีขึ้น
Acute Pyelonephytis   สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้ออักเสบเฉียบพลันในบริเวณกรวยไต          -ผูรับบริการมาดวยอาการมีไขสูงหนาว   - ผูรับบริการอายุ 24 ป
                      สวนมากเชื้อโรคมักจะแพรกระจายมาจากบริเวณผิวหนังรอบ ๆ           สั่น 2 วันกอนมารพ. เบื่ออาหาร         -ผูรับบริการปฏิเสธโรคประจําตัว
                      ทอปสสาวะ เขามาในทอปสสาวะ กระเพาะปสสาวะ และผาน            คลื่นไส                               - ผูรับบริการปฏิเสธยาที่
                      ทอไตขึ้นมาที่ไต การอุดกั้นของทางเดินปสสาวะมักเปนปจจัย       -ผูรับบริการบอกวาชวงสองวันที่ผาน   รับประทานประจํา
                      เสริม ใหเกิดการติดเชื้อไดงายขึ้น เชน นิ่วในทางเดินปสสาวะ   มารูสึกปวดบั้นเอว และตนขาทั้งสอง     -ผูรับบริการบอกวามักมีไขสูง


                                                                                                           นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
โรค                              ทฤษฎี                                  ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน ขอมูลอาการและอาการแสดงที่
                                                                               ผูปวย (Positive data)        พบในผูปวย (Negative data)
      ตอมลูกหมากโต กระเพาะปสสาวะไมทํางานในผูปวยอัมพาต             ขาง                                 ชวงบาย
      การตั้งครรภหรือมีกอนในชองทอง เปนตน เชื้อที่พบไดบอย       -Body temperature 39˚c P = 104ครั้ง/ - ผูรับบริการบอกวาไมไดสังเกต
      เปนเชื้อแบคทีเรียกลุมแกรมลบ ไดแก อีโคไล (Escherichia         นาที                                 สีของปสสาวะ แตไมมีอาการ
      coli), เคลบซิลลา (Klebsiella), สูโดโมแนส (Pseudomonas)                                                ปสสาวะแสบขัด
      นอกจากนี้ ในบางรายเชื้อโรคอาจแพรกระจายจากสวนอื่น ๆ                                                  - CVA not tenderness
      ของรางกาย โดยทางกระแสเลือดก็ได โรคนี้พบในผูหญิง                                                    UA : Color Yellow, clear
      มากกวาผูชายประมาณ 4 เทา มักพบในผูหญิงในวัยเด็กหรือ                                                         WBC 1-2 cell/HP
      ขณะตั้งครรภ, ในคนที่เปนนิ่วในทางเดินปสสาวะ, ตอม                                                            RBC 1-2 cell/HP
      ลูกหมากโต, เนื้องอก หรือมะเร็งของกระเพาะปสสาวะ,                                                               Bacteria Negative
      กระเพาะปสสาวะอักเสบ หรือผูปวยที่เคยสวนปสสาวะมากอน
      (เชน ผูปวยหนักที่นอนพักรักษาอยูในโรงพยาบาล) ผูปวยที่เปน
      เบาหวาน หรือกินสเตียรอยด นาน ๆ ก็อาจมีโอกาสเปนโรคนี้
      ไดงายขึ้น
      อาการ ผูปวยจะมีอาการไขสูง หนาวสั่นมาก ตองหมผาหนาวๆ
      หรือหลายๆ ผืน ปวดศีรษะ ออนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีอาการ
      คลื่นไสอาเจียนรวมดวย มักมีอาการปวดทอง ปวดบั้นเอวขาง
      ใดขางหนึ่ง และปสสาวะขุน
      บางรายอาจมีอาการถายปสสาวะแสบขัด และออก


                                                                                            นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
โรค                               ทฤษฎี                                  ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน         ขอมูลอาการและอาการแสดงที่
                                                                                        ผูปวย (Positive data)          พบในผูปวย (Negative data)
              กะปริดกะปรอยรวมดวย
              สิ่งที่ตรวจพบไขสูง 39-40 ํซ ไขสูงไมเปนเวลาแนนอน ถาใช
              กําปนทุบเบา ๆ ที่สีขางตรงที่ปวด ผูปวยจะรูสึกเจ็บจนสะดุง
              หนาทองอาจมีอาการกดเจ็บ หรือทองเกร็งแข็งเล็กนอย
              ปสสาวะมีลักษณะขุน
Influenza     สาเหตุ เกิดจากเชื้อ DNA ไวรัสในกลุม influenza virus type         -ผูรับบริการมาดวยอาการมีไขสูงหนาว   - ผูรับบริการอายุ 24 ป
              A,B,C สําหรับ influenza type A เปนชนิดที่พบบอยที่สุด สวน       สั่น 2 วันกอนมารพ. เบื่ออาหาร         -ผูรับบริการปฏิเสธโรคประจําตัว
              Type B มีเพียงกลุมเดียว ภูมิคุมกันที่สรางขึ้นจะปองกันได      คลื่นไส                               -ผูรับบริการปฏิเสธการสัมผัส
              เฉพาะกลุม                                                        -ผูรับบริการบอกวาชวงสองวันที่ผาน   หรือใกลชิดบุคคลที่ปวยเปน
              การติดตอ ติดตอไดงายโดยการหายใจไดรับน้ํามูก หรือเสมหะ         มารูสึกปวดบั้นเอว และตนขาทั้งสอง     ไขหวัด
              ของผูปวยโดยเชื้อจะผานเขาทางเยื่อบุตา จมูกและปาก               ขาง                                   - ผูรับบริการไมไดบอกวาปวด
              การที่คนไดสัมผัสสิ่งที่ปนเชื้อโรคเชนผาเช็ดหนา ชอน แกวน้ํา   - 1วันกอนมา รพ. มีไขสูงรวมกับถาย   เมื่อยกลามเนื้อมาก
              การจูบ การที่มือไปสัมผัสเชื้อแลวขยี้ตาหรือเอาเขาปาก             เหลวประมาณ 3 ครั้ง                     - ผูรับบริการไมไอ ไมเจ็บคอ
              อาการของโรค                                                       - มีน้ํามูกใสๆเล็กนอย                 - Pharynx and tonsil not inject ,
              1.ไขหวัดใหญที่ไมมีโรคแทรกซอน ระยะฟกตัว 1-4วัน โดย            -Body temperature 39˚c P = 104ครั้ง/   tonsil 1+, no lymphadenopathy
              เฉลี่ย 2 วัน                                                      นาที                                   -Tourniquet test ผล Positive
                   • ผูปวยจะมีอาการออนเพลียอยางฉับพลัน                      - look weak and tried
                   • เบื่ออาหาร คลื่นไส                                        - Red skin and warm to touch


                                                                                                     นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
โรค                                ทฤษฎี                                  ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน     ขอมูลอาการและอาการแสดงที่
                                                                                 ผูปวย (Positive data)      พบในผูปวย (Negative data)
          •      ปวดศีรษะอยางรุนแรง
            • ปวดตามแขนขา ปวดขอ ปวดรอบตา

            • ไขสูง 39-40 ํ c

            • เจ็บคอและคอแดงมีน้ํามูกใสไหล

            • ไอแหงๆ

            • ตามตัวจะรอน แดง ตาแดง

            • อาการอาเจียน หรือทองเดิน ไขเปน 2-4 วันแลวคอยๆ

                 ลดลงแตอาการคัดจมูก และแสบคอยังคงอยูโดยทั่วไป
                 จะหายใน 1 สัปดาห
      2.สําหรับรายที่เปนรุนแรงมักเกิดในผูปวยที่มีโรคเรื้อรังอยูกอน
      มักจะเกิดโรคแทรกซอนที่ระบบอื่นดวยเชน
            • อาจพบการอักเสบของเยื่อหุมหัวใจ ผูปวยจะมีอาการ

                 เจ็บหนาอก หรืออาการหัวใจวาย ผูปวยจะเหนื่อยหอบ
            • ระบบประสาท พบเยื่อหุมสมองอักเสบ และสมอง

                 อักเสบผูปวยจะปวดศีรษะมาก และซึมลง
            • ระบบหายใจ มีหลอดลมอักเสบ และปอดบวมผูปวยจะ

                 แนนหนาอก และเหนื่อย
      ผูปวยที่เปนกลุมเสี่ยงควรพบแพทยทันทีที่เปนไขหวัดใหญ


                                                                                           นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
โรค                               ทฤษฎี                                  ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน         ขอมูลอาการและอาการแสดงที่
                                                                                          ผูปวย (Positive data)          พบในผูปวย (Negative data)
                เนื่องจากโอกาสเกิดโรคแทรกซอนไดแกผูที่มีโรคเรื้อรัง
                ประจําตัวเชน โรคหัวใจ โรคตับ โรคไต เบาหวาน หอบหืด
                มะเร็งเปนตน ,คนทอง , ผูปวยโรคเอดส , ผูที่พักในสถานเลี้ยง
                คนชรา , ผูปวยอายุมากกวา 65 ป
                สิ่งที่ตรวจพบ ไข 38.5-40 ˚c หนาแดง เปลือกตาแดง อาจมี
                น้ํามูกใส คอแดงเล็กนอยหรือไมแดงเลย (ทั้งๆที่ผูปวยอาจรูสึก
                เจ็บคอ ) สวนมากมักตรวจไมพบอาการผิดปกติอื่นๆ
Malaria         สาเหตุ เกิดจากเชื้อโปรโตซัวพลาสโมเดียม เชื้อที่ทําใหเกิดโรค      -ผูรับบริการมาดวยอาการมีไขสูงหนาว   - ผูรับบริการอายุ 24 ป
                ในคนมี 4 ชนิด คือ ฟลซิปารัม ไวแวกซ มาลาเรียอี และโอวาเล         สั่น 2 วันกอนมารพ. เบื่ออาหาร         -ผูรับบริการปฏิเสธโรคประจําตัว
                เชื้อมาลาเรียที่พบบอยในประเทศไทย คือ ชนิดฟลซิปารัม และ          คลื่นไส                               -ปฏิเสธประวัตการเขาปาในชวง
                ไวแวกซ                                                           -ผูรับบริการบอกวาชวงสองวันที่ผาน   2 สัปดาหที่ผานมา
                                                                                                                                    
                การติดตอติดตอสูคนโดยการถูกยุงกนปลองตัวเมียที่มีเชื้อ         มารูสึกปวดบั้นเอว และตนขาทั้งสอง     - ปฏิเสธประวัติการถายดํา
                มาลาเรียกัด                                                       ขาง                                   - ไมมีอาการปวดทอง/ กดเจ็บ
                อาการ                                                             - 1วันกอนมา รพ. มีไขสูงรวมกับถาย   บริเวณตับ มาม
                ไมมีลักษณะพิเศษบงเฉพาะ โดยมากจะมีอาการนําคลายกับคน             เหลวประมาณ 3 ครั้ง                     -ไมอาเจียน
                เปนไขหวัด คือ มีไขต่ํา ๆ ปวดศีรษะ ปวดตามตัว และกลามเนื้อ      - มีน้ํามูกใสๆเล็กนอย                 -ระยะเวลาที่มีไขสูงลอยเปนมา
                อาจมีอาการคลื่นไสเบื่ออาหารได อาการนี้จะเปนเพียงระยะสั้น       -Body temperature 39˚c P = 104ครั้ง/   นานกวา 2วัน
                เปนวัน หรือหลายวันได ขึ้นอยูกับระยะฟกตัวของเชื้อ ชนิดของ      นาที                                   - BP = 130/72 mmHg


                                                                                                       นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
โรค                               ทฤษฎี                                  ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน ขอมูลอาการและอาการแสดงที่
                                                                                 ผูปวย (Positive data)    พบในผูปวย (Negative data)
      เชื้อ จํานวนของสปอโรซอยตที่ผูปวยไดรับเขาไป ภาวะภูมิ          - Red skin and warm to touch     - liver and spleen not palpable
      ตานทานตอเชื้อมาลาเรียของผูปวย ภาวะที่ผูปวยไดรับยา          - look weak and tried
      ปองกันมาลาเรียมากอน หรือไดรับยารักษามาลาเรียมาบางแลว
      ในระยะ 2-3 วันแรก ไขยังจับไมเปนเวลา ประมาณปลาย
      สัปดาหที่หนึ่งจะเริ่มจับไขเปนเวลา 2-3 วันแลวแตชนิดของเชื้อ
      อาการของไขจะมี 3 รยะ คือ
      ระยะหนาวสั่นและเกร็ง ขณะนี้อุณหภูมิของรางกายจะเพิ่มขึ้น
      ชีพขจรจะเร็วและเบา แรงดันโลหิตเพิ่ม ผิวเย็นซีด อาจจะมี
      อาการคลื่นไส อาเจียน และปสสาวะบอย ระยะนี้อาจจะนาน
      15-60 นาที
      ระยะรอน อุณหภูมิรางกายจะสูง ชีพจรแรง แรงดันโลหิตจะสูง
      ลมหายใจรอนผิวจะแดง กระหายน้ํา มีอาการกระสับกระสาย
      บางคนไมคอยรูตัว ชวงนี้ใชเวลา 2 ชั่วโมง
      ระยะเหงื่อออก ระยะนี้เหงื่อจะเริ่มออกที่ขมับกอนแลวจึงออก
      ทั้งตัว อุณหภูมิและชีพขจรจะกลับสูปกติ ผูปวยจะเพลียและ
      หลับไป
      ระยะพัก คือระยะที่ไมมีไข ผูปวยจะสบายดี
             ปจจุบันนี้จะพบลักษณะทั้ง 3 ระยะไดนอยมาก ผูปวยจะมี


                                                                                           นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
โรค                              ทฤษฎี                                ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน     ขอมูลอาการและอาการแสดงที่
                                                                             ผูปวย (Positive data)      พบในผูปวย (Negative data)
      ไขสูงลอยตลอดเวลา โดยเฉพาะในผูปวยที่เปนมาลาเรียครั้ง
      แรก เนื่องจากในระยะแรกของการติดเชื้อมาลาเรีย เชื้ออาจ
      เจริญถึงระยะแกไมพรอมกัน ซึ่งอาจเปนผลมาจากไดรับเชื้อใน
      เวลาตางกัน เชื้อจึงเจริญในเม็ดเลือดแดงไมพรอมกัน ทําใหเกิด
      มีเชื้อหลายระยะ การแตกของเม็ดเลือดแดงจึงไมพรอมกัน
      ผูปวยมาลาเรียในระยะแรกอาจมีไขสูงลอยตลอดวันแตเมื่อผาน
      ไประยะหนึ่งแลว การแตกของเม็ดเลือดแดงเกิดขึ้นพรอมกัน
      จะเห็นผูปวยมีการจับไขหนาวสั่นเปนเวลา แยกไดชัดเจนตาม
      ชนิดของเชื้อมาลาเรีย เชื้อไวแวกซ ฟสซิพารัม และโอวัลเล ใช
      เวลาในการแบงตัว 48 ชั่วโมง จึงทําใหเกิดไขทุกวันที่ 3 สวน
      มาลาริอี ใชเวลา 72 ชั่วโมง อาการไขจึงเกิดทุกวันที่ 4
             ภายหลังที่เปนมาลาเรียไดระยะหนึ่ง จะตรวจพบวาผูปวย
      ซีด บางคนมีตัวเหลือง ตาเหลือง ตับและมามโต บางรายกดเจ็บ
      ถาเม็ดเลือดแดงแตกมากๆ จะพบวาผูปวยมีปสสาวะดํา
      สิ่งที่ตรวจพบ อาการสําคัญของมาลาเรีย ไขมากกวา 40 องศา
      หนาวสั่น คลื่นไสอาเจียน ออนเพลีย ปวดกลามเนื้อ
      เหงื่อออก



                                                                                       นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
การรักษาของนักศึกษา/การรักษาของแพทย

               การรักษาของนักศึกษา                                 การรักษาของแพทย
- Tourniquet test ,CBC , UA                         Tourniquet test
- Paracetamal (500 mg) 2 tab prn for fever q 4-6   - Paracetamal (500 mg) 2 tab prn for fever q 4-6
hr                                                  hr #20
- Oral rehydration salt                             - Oral rehydration salt #10 ซอง
- Tolperisone HCl (50 mg)1x3  pc                   - Tolperisone HCl (50 mg)1x3  pc #20
                                                    - นัด F/U 23 พย. 2555 + เจาะ CBC



ยาและสารน้ําที่ไดรับ

Paracetamal

ชื่อสามัญ Paracetamol

ประเภท ระงับปวด ลดไข

ขอบงใช ควบคุมอาการปวดศีรษะ ปวดหู ปวดประจําเดือน ปวดขอ ปวดกลามเนื้อ ปวดฟน ลดไขจากการ
ติดเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัส ใชในผูปวยที่แพแอสไพริน มีปญหาเลือดออก ไดรับยาตานการแข็งตัวของเลือด

กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการสังเคราะห Prostaglandins ในระบบประสาทสวนกลางไดดี ไมมีฤทธิ์ยังกยั้ง
การเคลื่อนตัวของ Neutrophill จึงมีฤทธิ์ตานการอักเสบต่ํามาก ไมทําใหเกิดแผลในกระเพาะอาหารและไมมี
ผลตอการเกาะกลุมของเกล็ดเลือด ออกฤทธิ์สูงสุด 30-60 นาที หลังไดรับยา หากไดรับเกินขนาดจะมีพิษตอ
ตับและไต จึงไมควรไดรับยาเกิน 7วัน

อาการขางเคียง ปวดศีรษะ ปวดหรือไมสบายทอง คลื่นไส อาเจียน มีอาการแพ เชน ผื่นคัน ผื่นลมพิษ บวม
ตามอวัยวะตางๆ เชน ใบหนา คอ ตา ริมฝปาก ลิ้น มือ แขน นอง ขา ขอเทา หายใจหรือกลืนลําบาก มีปญหา
เกี่ยวกับการหายใจ มีไข เจ็บคอ เสียงแหบ ปสสาวะลําบากหรือมีปริมาณเปลี่ยนแปลงไป มีเลือดออกหรือมี
รอยช้ําอยางผิดปกติ ออนเพลียหรือไมมีแรงอยางผิดปกติ ตาหรือผิวหนังเปลี่ยนเปนสีเหลืองอยางผิดปกติ




                                                    นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
การพยาบาล ใหการดูแลและแนะนําดังนี้

            1. ควรดื่มน้ํา เครื่องดื่ม หรือรับประทานอาหารเหลวๆบอยๆ เพื่อชวยลดความรอน ไมควรดื่ม
                 น้ําผลไม หรือเครื่องเดื่มที่มีฟทธิ์เปนกรดหลังรับประทานยา
            2. ไมซื้อยารับประทานเองหรือใชยาติดตอกันเปนเวลานาน เพราะอาจทําใหไดรับยาเกิน
                 ขนาด เกิดพิษและผลขางเคียง
            3. ระวังการใชยาในผูปวยโรคตับหรือผูติดแอลกอฮอร

Oral rehydration salt

ชื่อสามัญ Oral rehydration salt (ORS)

ประเภท สารละลายน้ําตาลและเกลือแร

ขอบงใช ใชทดแทนการเสียน้ําในรายที่มีอาการทองเสีย หรือในรายที่อาเจียนมากๆ และปองกันการ

ช็อคเนื่องจากการที่รางกายขาดน้ํา

กลไกการออกฤทธิ์ ทดแทนน้ําและเกลือแร เชน โซเดียม โปแตสเซียม เปนตน ที่สูญเสียไปจากอาการ
ทองเสีย หรือขาดน้ํา

อาการขางเคียง คลื่นไส อาเจียน

การพยาบาล

    1. ดูแลใหผูรับบริการไดรับสารละลายน้ําตาลและเกลือแรอยางถูกตองเหมาะสมไมใหมาก หรือนอย
        เกินไป
    2. ควรมีการประเมินอาการของภาวะขาดน้ํา และประเมินจากผลตรวจ Hct ทางหองปฏิบัติการ
    3. สังเกตอาการทองเสีย หากมีอาการรุนแรงมากขึ้น ควรรายงานแพทย เพื่อใหสารน้ําทางหลอดเลือด

Tolperisone HCl

ชื่อสามัญ Tolperisone

ประเภท ยาคลายกลามเนื้อ


                                                      นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
ขอบงใช รักษาผูปวยที่มีอาการปวดกลามเนื้อ

กลไกการออกฤทธิ์ ตาน Cholinergic

อาการขางเคียง งวงซึม เวียนศีรษะ ออนเพลีย คลื่นไส ตามัว เบื่ออาหาร หัวใจเตนชา

การพยาบาล

    1. แนะนําใหผูรับบริการงดกิจกรรมที่เกี่ยวของกับงานควบคุมเครื่องจักร หรือการขับขี่ยานพาหนะ
    2. แนะนําใหผูรับบริการนอนหลับพักผอนใหเพียงพอ



การติดตามผลการรักษา

จากผลการรักษาที่ทําใหเปนปญหาของผูปวย (permanent problem list ) ที่มีอยูมีดังนี้

 Problem No.                  21/11/2555                           23/11/2555                Activity
1).               Fever                                 Fever                             Active
2).               Severe headache                       Severe headache                   Inactive
3).               Mild Dehydration                      Mild Dehydration                  Active
4).               Appetite                              Appetite                          Active
5).               Muscle aches                          Muscle aches                      Active
6).               Diarrhea                              Diarrhea                          Inactive


Plan of Management

Problem #1 Fever

Subjectiv ผูรับบริการบอกวาอาการมีไขสูงหนาวสั่น 2 วันกอนมารพ. ออนเพลีย เวียนศีรษะ
e
Objective - Body temperature 39˚c PR = 104ครั้ง/นาที
           - look weak and tried
          - Red skin and warm to touch


                                                        นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
Assessment ไขเปนอาการซึ่งรางกายมีอุณหภูมิสูงขึ้นกวาปกติ เพื่อตอบสนองตอการติดเชื้อโรค หรือมีการ
           เจ็บปวยจากบางสาเหตุ เชน การอักเสบของเนื้อเยื่อจากโรคภูมิแพตนเอง โดยไขจะเกิดอยู
           เพียงชั่วคราว เฉพาะในชวงเกิดโรค หรือมีการเจ็บปวย เมื่อรางกายเกิดการติดเชื้อ หรือจากบาง
           สาเหตุ จะสงผลกระตุนใหสมองไฮโปธาลามัส ตอบสนองดวยการปรับอุณหภูมิรางกายให
           สูงขึ้น เนื้อเยื่อที่จะทําหนา ที่เพิ่มอุณหภูมิของรางกายตามคําสั่งของสมอง คือ กลามเนื้อ และ
           หลอดเลือด โดยหลอดเลือดจะหดตัวเพื่อปองกันไมใหความรอนแพรกระจายออกทางผิวหนัง
           และทางปอด ซึ่งการหดตัวของหลอดเลือดนอกจากสงผลใหอุณหภูมิของรางกายสูงขึ้นแลว จะ
           สงผลใหผูมีไขรูสึกหนาว จากมีการลดปริมาณของเลือดที่หลอเลี้ยง นอกจากนั้นกลามเนื้อ
           ตางๆจะหดเกร็ง จึงกออาการหนาวสั่น ทั้งหมด คือ อาการไขขึ้น
Plan       Diagnotic plan : วินิจฉัยหาสาเหตุของอาการไขสูงหนาวสั่น โดยการตรวจเลือดทาง
           หองปฏิบัติการ (CBC )เพื่อประเมินหาการติดเชื้อ , Tourniquet test
           Treatment plan: -Advice force oral fluid 2000-2500 ml/day
                                -Paracetamal (500 mg) 2 tab  q 4-6 hr prn. for fever
           Nursing plan :
           1.Observe body temperature
           2. ดูแลใหไดรับ Paracetamal (500 mg) 2 tab  stat
           3. หัตถการเพื่อการวินิจฉัย Tourniquet test นาน 5 นาที
           4. การเจาะเลือดสงตรวจทางหองปฏิบัติการ (CBC)
           5.แนะนําใหผูรับบริการเช็ดตัวลดไขรวมดวย
Problem #2 Severe headache

Subjective      ปวดศีรษะมาก เวียนศีรษะ 2 วันกอนมา รพ.
Objective       -
Assessment      เปนการตอบสนองตอการติดเชื้อโรค หรือมีการเจ็บปวยจากบางสาเหตุ เมื่อรางกายเกิดการ
                ติดเชื้อ หรือจากบางสาเหตุ จะสงผลกระตุนเกิดการหลั่งสาร mediator ตางๆ ตอบสนองดวย
                การปรับอุณหภูมิรางกายใหสูงขึ้น เนื้อเยื่อที่จะทําหนาที่เพิ่มอุณหภูมิของรางกายตามคําสั่ง
                ของสมอง คือ กลามเนื้อ และหลอดเลือด โดยหลอดเลือดจะหดตัวรวมทั้งหลอดเลือดที่
                สมอง ทําใหเกิดอาการปวดศีรษะ
Plan            Diagnotic plan : วินิจฉัยหาสาเหตุ โดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ (CBC )เพื่อ
                ประเมินหาการติดเชื้อ , Tourniquet test
                Treatment plan: -Paracetamal (500 mg) 2 tab  q 4-6 hr prn. for pain
                Nursing plan :

                                                      นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
1.ประเมินอาการปวดศีรษะโดยใช Pain scale
             2. แนะนําใหผูรับบริการนอนหลับพักผอน
Problem #3 Mild Dehydration

Subjective    - ผูรับบริการบอกวา มีไขสูงหนาวสั่นมานาน 2 วัน รวมกับ 1 วันกอนมา รพ. มีถายเหลว 3
                  
              ครั้ง รูสึกคลื่นไส ขมในปาก ไมอยากรับประทานอาหาร

              -ผูรับบริการบอกวา ปสสาวะมีสีเหลืองเขม

Objective     - Body temperature 39˚c PR=104 ครั้ง/นาที
               - look weak and tried
              - Red skin and warm to touch

Assessment    ภาวะขาดน้ําเกิดขึ้นไดจากการสูญเสียน้ําจาก invisible loss เนื่องจากภาวะไข , อาการถาย
              เหลว ,และการที่ plasma ออกนอกหลอดเลือดจากอาการของไขเลือดออก

Plan          Diagnotic plan : วินิจฉัยหาสาเหตุ โดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ (CBC )เพื่อ
              ประเมินหาการติดเชื้อ , Tourniquet test
              Treatment plan: Oral rehydration salt
              Nursing plan :
              1.ประเมินอาการแสดงของภาวะขาดน้ํา เชน ริมฝปากแหง ผิวแหง ออนเพลีย ไมมีแรง
              กระหายน้ํา หัวใจเตนเร็ว ปสสาวะออกนอย มีสีเขมขึ้น เปนตน
              2. แนะนําใหผูรับบริการจิบสารละลายเกลือแรบอยๆ ดื่มน้ํามากขึ้นจากเดิม เปนวันละ
              2000-2500 ml.

Problem #4 Appetite

Subjective    - ผูรับบริการบอกวา มีไขสูงหนาวสั่นมานาน 2 วัน รวมกับ 1 วันกอนมา รพ. มีถายเหลว 3
              ครั้ง รูสึกคลื่นไส ขมในปาก ไมอยากรับประทานอาหาร

Objective     - look weak and tried

Assessment    อาการเบื่ออาหารเปนอาการหนึ่งที่พบเนื่องจากการติดเชื้อไวรัส Dengue virus



                                                   นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
Plan         Diagnotic plan : วินิจฉัยหาสาเหตุ โดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ (CBC )เพื่อ
             ประเมินหาการติดเชื้อ , Tourniquet test
             Treatment plan: -
             Nursing plan :
             1.อธิบายใหผูรับบริการเขาใจถึงการดําเนินของโรคไขเลือดออก วาจะสามารถหายไดเอง
             แตอาการจะรุนแรงไดเนื่องจากภาวะแทรกซอน ดังนั้นแผนการรักษาจะรักษาตามอาการ
             โดยผูรับบริการจะตองพยายามรับประทานอาหารเพื่อใหรางกายมีพลังงาน และกลับสูภาวะ
             ปกติ
             2.อธิบายใหทราบความสําคัญของการรับประทานอาหารตอการดําเนินของโรคไขเลือดออก
Problem #5 Muscle aches

Subjective    2วันกอนมา รพ.เวียนศีรษะ มีไขสูงหนาวสั่นมักจะเปนไขในชวงบาย ไมไอ ไมเจ็บคอ มี
              น้ํามูกใสๆเล็กนอย ปวดเมื่อยที่บริเวณหลังและตนขาทั้งสองขาง

Objective     - look weak and tried

Assessment    อาการปวดเมื่อยกลามเนื้อเกิดขึ้นไดจากปฏิกิริยาตอบสนองของรางกาย โดยการหดตัวของ
              หลอดเลือดตางๆทําใหกลามเนื้อหดเกร็งเปนเวลานาน กลามเนื้อตางๆอาจไดรับสารอาหาร
              และพลังงานไมเพียงพอ เกิดการเผาผลาญกลามเนื้อโดยไมใชออกซิเจน เกิดการคั่งของกรด
              แลคติคทําใหเกิดอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อ

Plan          Diagnotic plan : วินิจฉัยหาสาเหตุการเจ็บปวย โดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ (CBC
              )เพื่อประเมินหาการติดเชื้อ , Tourniquet test

              Treatment plan: - Tolperisone HCl (50 mg)1x3  pc

              Nursing plan :

              1.ประเมินอาการปวดโดยใช Pain scale

              2.อธิบายใหผูรับบริการทราบวาอาการปวดเมื่อยตามรางกายเปนอาการที่เกิดไดจากการติด
              เชื้อไขเลือดออก และจะหายไดเอง




                                                    นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
Problem #6 Diarrhea

Subjective     - ผูรับบริการบอกวา 1 วัน กอนมารพ. ถายเหลว 3ครั้ง

Objective      -

Assessment     ปฏิกิริยาการตอบสนองตอการติดเชื้อของรางกาย กอใหเกิดการหลั่งสาร mediator ตางๆ
               เปนผลทําใหหลอดเลือกหดตัว รวมทั้งหลอดเลือดที่เลี้ยงระบบทางเดินอาหารสงผลใหการ
               ทํางานของระบบทางเดินอาหารผิดปกติได กอใหเกิดอาการคลื่นไสอาเจียน ถายเหลวได

Plan           Diagnotic plan : -

               Treatment plan: Oral rehydration salt

               Nursing plan :

               1.ประเมินอาการแสดงของภาวะขาดน้ําจากภาวะทองเสีย เชน ริมฝปากแหง ผิวแหง
               ออนเพลีย ไมมีแรง กระหายน้ํา หัวใจเตนเร็ว ปสสาวะออกนอย มีสีเขมขึ้น เปนตน

               2. แนะนําใหผูรับบริการจิบสารละลายเกลือแรบอยๆ ดื่มน้ํามากขึ้นจากเดิม เปนวันละ
               2000-2500 ml.

               3. แนะนําใหผูรับบริการทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธและซับใหแหงหลังการขับถาย



Patient education plan

1.อธิบายใหผูรับบริการทราบเกี่ยวกับการดําเนินโรคและอาการจากไขเลือดออก อธิบายใหผูรับบริการทราบ
ตอนนี้ผูรับบริการอยูในระยะไข ระยะวิกฤตของโรคนี้คือวันที่ 3-7 ของไข ซึ่งอาจมีภาวะช็อกหรือ
เลือดออกได ดังนั้นจึงควรเฝาสังเกตอาการอยางใกลชิด ถาพนระยะนี้ไปได ก็ถือวาปลอดภัย

2. อธิบายแผนการรักษาใหผูรับบริการทราบวา ไขเลือดออกยังไมมียาที่รักษาหายขาดได ปจจุบันรักษาตาม
อาการ




                                                       นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
3. แนะนําใหผูรับบริการสังเกตอาการของภาวะชอค คือ หนามืด ใจสั่น หายใจเหนื่อยหอบ และบอกใหญาติ
สังเกตอาการที่เปนสัญญาณอันตรายดังนี้คือ กระสับกระสาย หรือซึมมาก ควรมาพบแพทยโดยเร็ว

4.แนะนําใหผูรับบริการสังเกตอาการของภาวะเลือดออก คือมีเลือดออก เชน เลือดกําเดาไหล อาเจียนเปน
เลือด ถายอุจาระเปนเลือด ถาพบอาการดังกลาวเพียงอยางใดอยางหนึ่ง ควรพาไปพบแพทยโดยเร็ว

5.แนะนําใหผูรับบริการรับประทานอาหารที่มีประโยชนครบ 5 หมู ตรงตามเวลา ไมปลอยใหทองวาง

6.แนะนําใหผูรับบริการดื่มน้ํา/ น้ําผลไมมากขึ้นจากที่ดื่มปกติในแตละวัน

7.แนะนําใหผูรับบริการนอนหลับพักผอนใหเพียงพอวันละ 8-10 ชั่วโมง

8. แนะนําการรับประทานยา

        Paracetamal (500 mg) รับประทาน 2เม็ดเมื่อมีไขหรือปวดศีรษะทุก 4- 6 ชม. หากรับประทานแลว
ไขอาจไมลดใหเช็ดตัวลดไขรวมดวย

         Oral rehydration salt ละลายน้ําตมสุกสะอาดตามปริมาตรที่ระบุขางซอง จิบบอยๆ หากละลายแลว
ควรดื่มใหหมดภายใน 24 ชม.

        Tolperisone HCl คลายกลามเนื้อ ลดอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อ รับประทานครั้งละ 1 เม็ด หลัง
อาหารเชา-กลางวัน - เย็น หลังอาหารทันที

9. เนนย้ําใหผูรับบริการมาพบแพทยเพื่อติดตามอาการ ในวันที่ 23 พย. 2555




                                                       นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
การติดตามเยี่ยม (Visiting Progression note)

เยี่ยมครั้งที่ 1 วันที่ 23 /11/2555

 การตรวจพิเศษ/ตรวจทางหองปฏิบัติการ              คาปกติ          ผลการตรวจ                แปลผล
CBC : WBC                                     5000-10,900        2700 cell/mm3    ต่ํากวาปกติ(มีการติด
                                                                                  เชื้อ)

            Hct                               37-54 %            37%              ปกติ

            Hb                                14-18              12.8             มีภาวะซีดเล็กนอย

            MCV                               80-92              49.1             ต่ํากวาปกติ

            MCH                               27-31              16.7             มีภาวะซีด

            MCHC                              32-42              34.2 g/dL        ปกติ

            PLT                               140000-440000 270,000               ปกติ

            Lymphocyte                        10-59              54%              ปกติ

           Monocyte                           2-10               1%               ปกติ

           Neutrophill                        40-75              40%(band 57%) Band สูง มีการติดเชื้อ

           Eosinophile                        1.0-6.0            0%               ปกติ

‘         Basophils                           0-1                0%               ปกติ




                                                        นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
Progress Note

Problem #1 Fever

Subjective      ผูรับบริการบอกวาหลังการรักษา ยังคงมีไขต่ําๆ ออนเพลียเล็กนอย เวียนศีรษะ โดยรวม
                อาการไขดีขึ้น ลุกปฏิบัติกิจวัตรประจําวันได

Objective       - Body temperature 37.8˚c PR = 96 ครั้ง/นาที

                - look weak and tried

                - Red skin and warm to touch

Assessment      เมื่อไดรับยา อุณหภูมิกายลดลง

Plan            Diagnotic plan : ตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ (CBC )เพื่อประเมินระยะของไขเลือดออก

                Treatment plan:

                     -Paracetamal (500 mg) 2 tab  q 4-6 hr prn. for fever (ยาเดิม)

                Nursing plan :

                1.Observe body temperature

                2. การเจาะเลือดสงตรวจทางหองปฏิบัติการ (CBC)

                3. ทบทวนคําแนะนําเดิมในการดูแลตนเองเพื่อลดไข

Problem #2 Severe headache

Subjective      อาการปวดศีรษะลดลง ไมคอยปวดศีรษะแลว

Objective       -

Assessment      เมื่อไดรับยา Paracetamol มีผลลดการสราง Prostaglandin บรรเทาอาการปวดศีรษะได

Plan            Diagnotic plan : วินิจฉัยหาระยะการดําเนินของโรคโดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ


                                                      นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
(CBC )
             Treatment plan: -Paracetamal (500 mg) 2 tab  q 4-6 hr prn. for pain (ยาเดิม)
             Nursing plan :
             1.ประเมินอาการปวดศีรษะโดยใช Pain scale และแนะนําใหรับประทานยาบรรเทาอาการ
             ปวดศีรษะ หากมีอาการมาก
             2. แนะนําใหผูรับบริการนอนหลับพักผอน

Problem #3 Mild Dehydration

Subjective   - ผูรับบริการบอกวา ไมมีถายเหลวแลว ถายอุจจาระปกติ

             -ยังรูสึกคลื่นไส ขมในปาก ไมอยากรับประทานอาหาร แตพยายามรับประทานอาหาร

             -ผูรับบริการบอกวา ปสสาวะมีสีเหลืองเขม

Objective    - Body temperature 37.8 ˚c PR=96ครั้ง/นาที

              - look weak and tried

             - Red skin and warm to touch

             - Hct 37% (ปกติ)

Assessment   ภาวะขาดน้ําเกิดขึ้นไดจากการสูญเสียน้ําจาก invisible loss เนื่องจากภาวะไข , อาการถาย
             เหลว ,และการที่ plasma ออกนอกหลอดเลือดจากอาการของไขเลือดออก

Plan         Diagnotic plan : วินิจฉัยหาระยะการดําเนินของโรคโดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ
             (CBC )

             Treatment plan: Oral rehydration salt

             Nursing plan :

             1.ประเมินอาการแสดงของภาวะขาดน้ํา เชน ริมฝปากแหง ผิวแหง ออนเพลีย ไมมีแรง
             กระหายน้ํา หัวใจเตนเร็ว ปสสาวะออกนอย มีสีเขมขึ้น เปนตน



                                                     นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
2. แนะนําใหผูรับบริการจิบสารละลายเกลือแรบอยๆ ดื่มน้ํามากขึ้นจากเดิม เปนวันละ
             2000-2500 ml.

Problem #4 Appetite

Subjective   - ผูรับบริการบอกวายังรูสึกคลื่นไส ขมในปาก ไมอยากรับประทานอาหาร

Objective    - mild look weak and tried

Assessment   อาการเบื่ออาหารเปนอาการหนึ่งที่พบเนื่องจากการติดเชื้อไวรัส Dengue virus

Plan         Diagnotic plan : วินิจฉัยหาระยะการดําเนินของโรคโดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ
             (CBC )

             Treatment plan: -

             Nursing plan :

             1.อธิบายใหผูรับบริการเขาใจถึงการดําเนินของโรคไขเลือดออก

             2.เนนย้ําใหผูรับบริการพยายามรับประทานอาหาร

Problem #5 Muscle aches

Subjective   - ผูรับบริการบอกวา ยังคงมีปวดเมื่อกลามเนื้อบาง แตไมรุนแรง

Objective    - look weak and tried

Assessment   หลังไดรับยา

Plan         Diagnotic plan : วินิจฉัยหาระยะการดําเนินของโรคโดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ
             (CBC )

             Treatment plan: - Tolperisone HCl (50 mg)1x3  pc




                                                   นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
Problem #6 Diarrhea

Subjective     - ผูรับบริการบอกวา ถายอุจจาระเปนปกติ ไมมีถายเหลวแลว

Objective      -

Assessment     ปฏิกิริยาการตอบสนองตอการติดเชื้อของรางกาย กอใหเกิดการหลั่งสาร mediator ตางๆ
               เปนผลทําใหหลอดเลือกหดตัว รวมทั้งหลอดเลือดที่เลี้ยงระบบทางเดินอาหารสงผลใหการ
               ทํางานของระบบทางเดินอาหารผิดปกติได กอใหเกิดอาการคลื่นไสอาเจียน ถายเหลวได

Plan           Diagnotic plan : -

               Treatment plan: Oral rehydration salt




สรุปรายงานการศึกษาผูปวย

        ผูรับบริการชายชาวลาว วัยผูใหญ อายุ 24 ป รูปรางสมสวน ผิวขาวเหลือง ทาทางออนเพลีย มาดวย
มีไขสูงหนาวสั่น ไมไอ ไมเจ็บคอ มีน้ํามูกใสๆเล็กนอย ปวดเมื่อยที่บริเวณหลังและตนขาทั้งสองขาง2วัน
กอนมา รพ.เวียนศีรษะ รับประทานยาพาราไป 3 เม็ด อาการทุเลาลง แตกลับมามีไขสูงอีก รูสึกขมในปาก
เบื่ออาหาร รับประทานอาหารไดนอย รวมกับ 1วันกอนมา รพ. มีไขสูงรวมกับถายเหลวประมาณ 3 ครั้ง
ปวดหนวงบริเวณทองนอย ปสสาวะสีเหลืองเขม ไมแสบขัด ปวดศีรษะมาก จึงตัดสินใจมา รพ.

มาพบแพทยที่แผนกผูปวยนอกในวันที่ 21 /11/2555 เวลา 10.00 น.

สรุปปญหาสําคัญ

ปญหาแรกรับ 1) มีไข ( Fever )

                2) ปวดศีรษะมาก ( Severe headache )

                3) ขาดน้ํา (dehydration)



                                                       นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
3) ไมอยากอาหาร ( Appetite )

                 4) ปวดเมื่อยกลามเนื้อบริเวณหลังและตนขาทั้งสองขาง (Muscle aches )

                 5) ถายเหลว ( Diarrhea )



การตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม

Vital sign แรกรับ : BT = 39 ˚c P = 104ครั้ง/นาที R = 20 ครั้ง/นาที BP = 130/72 mmHg

                 Dengue virus infection

Tourniquet test : Positive

CBC พบ WBC 2700 cell/mm3, Neutrophill 40%(band 57%) , PLT 270000 cell/mm3,Hct 37%



การวินิจฉัยแยกโรค

        Caseนี้ตรวจพบอาการแสดงของภาวะไขเลือดออกคือ มีไขสูง 39 องศาเซลเซียส PR 104 ครั้ง/นาที
ตัวแดงหนาแดง ออนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยกลามเนื้อ ใหขอมูลทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับการเจ็บปวย
เปนไขเลือดออกของเพื่อนบาน ทํา Tourniquet test ผล Positive อยูในระยะไข แพทยไมไดรับไวใน
โรงพยาบาล แตอธิบายเกี่ยวกับการดําเนินของโรคและแผนการรักษา เมื่อมาตรวจตามนัดเพื่อติดตามอาการ
ในวันที่ 23 /11/2555 สงตรวจ CBC ผล CBC พบ WBC 2700 cell/mm3, Neutrophill 40%(band 57%) , PLT
270000 cell/mm3,Hct 37% พบวายังอยูในระยะไข จึงเนนย้ําเกี่ยวกับการดูแลตนเองและสังเกตอาการของ
ภาวะชอคและภาวะเลือดออกที่ควรมา รพ.

Final Diagnosis : Dengue fever , Thalassemia trait




                                                     นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
Case study : dengue fever
Case study : dengue fever
Case study : dengue fever

Contenu connexe

Tendances

ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก Dbeat Dong
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 

Tendances (20)

ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
22
2222
22
 

Similaire à Case study : dengue fever

การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfpraphan khunti
 
คู่มือไข้เลือดออก
คู่มือไข้เลือดออกคู่มือไข้เลือดออก
คู่มือไข้เลือดออกKingchat Laolee
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
NTstep3round2 9_jan2554
NTstep3round2 9_jan2554NTstep3round2 9_jan2554
NTstep3round2 9_jan2554vora kun
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSpipepipe10
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 

Similaire à Case study : dengue fever (20)

การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
คู่มือไข้เลือดออก
คู่มือไข้เลือดออกคู่มือไข้เลือดออก
คู่มือไข้เลือดออก
 
Case01
Case01Case01
Case01
 
Example osce
Example osceExample osce
Example osce
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
NTstep3round2 9_jan2554
NTstep3round2 9_jan2554NTstep3round2 9_jan2554
NTstep3round2 9_jan2554
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธินแนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDS
 
Asthma guideline for children
Asthma guideline for childrenAsthma guideline for children
Asthma guideline for children
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
Psychiatric Emergency
Psychiatric EmergencyPsychiatric Emergency
Psychiatric Emergency
 

Case study : dengue fever

  • 1. รายงานการศึกษารายกรณี เรื่อง Dengue fever จัดทําโดย นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร ชันปที่ 4 ้ เลขทะเบียน 5214680067 เสนอ อาจารยประกายเพชร สุภะเกษ รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาการรักษาพยาบาลขั้นตน (พย.482) คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 2. 1.ขอมูลทั่วไปผูรับบริการ โรงพยาบาล สามโคก ชื่อผูรับบริการ ....ชายชาวลาว..... เพศชาย HN 59646 อายุ 24 ป สถานภาพสมรส โสด เชื้อชาติ ลาว สัญชาติ ลาว ศาสนา พุทธ อาชีพ ทําสวน ระดับการศึกษา ปวส. ที่อยู 16/3 หมู 10 ตําบลหนาไม อําเภอลาดหลุมแกว จังหวัดปทุมธานี วันที่ตรวจ 21 พฤศจิกายน 2555 (แหลงขอมูล จากผูรับบริการ และฐานขอมูลของโรงพยาบาลสามโคก ) 2.อาการสําคัญ (Chief complaint) มีไข ตัวรอน หนาวสั่น 2 วันกอนมาโรงพยาบาล 3. การซักประวัติ (History Interview) 3.1 ประวัติการเจ็บปวยปจจุบัน (Present Illness) 2วันกอนมา รพ.เวียนศีรษะ มีไขสูงหนาวสั่นมักจะเปนไขในชวงบาย ไมไอ ไมเจ็บคอ มีน้ํามูกใสๆ เล็กนอย ปวดเมื่อยที่บริเวณหลังและตนขาทั้งสองขางรับประทานยาพาราไป 3 เม็ด อาการทุเลาลง แต กลับมามีไขสูงอีก รูสึกขมในปาก เบื่ออาหาร รับประทานอาหารไดนอย 1วันกอนมา รพ. มีไขสูงรวมกับถายเหลวประมาณ 3 ครั้ง ไมไดสังเกตลักษณะลักษณะอุจจาระ ปวดหนวงบริเวณทองนอย ปสสาวะสีเหลืองเขม ไมแสบขัด 3.2 ประวัติการเจ็บปวยในอดีต (Past History) ปฏิเสธโรคประจําตัวรายแรงใดๆ และไมเคยไดรับอุบัติเหตุที่รุนแรงหรือผาตัด 3.3 ประวัติครอบครัว (Family History) ปฏิเสธโรคประจําตัวหรือโรคเรื้อรังของบุคคลในครอบครัว ปฏิเสธโรคติดตอรายแรงในครอบครัว นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 3. 3.4 ประวัติสวนตัว (Personal History) -ประกอบอาชีพทําสวน - ในระยะ 1 สัปดาหที่ผานมามีเพื่อนบานปวยเปนโรคไขเลือดออก - บานอยูใกลลําคลองและบอน้ํา นอนอยูบานไมไดกางมุง ใชมุงลวด 3.5 ประวัติการแพยา (History of drug allergy) -ยังไมเคยแพยาหรืออาหารใดๆ 3.6 การซักประวัติตามระบบ (History of system ; ROS) ลักษณะทั่วไป : ชาวชาวลาว วัยผูใหญ รูปรางสัดทัด ทาทางออนเพลีย โดยทั่วไปแข็งแรงดีไมคอยเจ็บปวย หนัก ไมคอยเปนหวัดเปนหวัดปละ 1-2 ครั้ง เปนคนอารมณดี ไมคอยหงุดงายหรือคิดมาก ไมคอยไดออก กําลังกายแตทุกวันจะทําสวนอยูแลว ชวงนี้รูสึกหนามืด ออนเพลีย ไมมีแรง เวียนศีรษะ มีไขสูงหนาวสั่น ใหความรวมมือในการตอบคําถามและการตรวจรางกายดี ผิวหนัง : ไมเคยมีอาการคัน ผื่น หรือโรคทางผิวหนังมากอน ศีรษะ : ไมเคยมีแผล หรือผื่นคัน ไมเคยไดรับอุบัติเหตุรุนแรงกระทบกระแทกที่ศีรษะ ชวง2 วันมานี้มี อาการเวียนศีรษะ หนามืด ใบหนา : เคยมีสิวที่ใบหนา ไมเคยไดรับอุบัติเหตุที่ใบหนา ชวงสองวันนี้รูสึกหนาแดง สัมผัสรอน ตา :มองเห็นชัดเจนไมตองใชแวนตา ไมเคยมีหนังตาตก ไมเคยเปนโรคเกี่ยวกับตา หู :ไดยินเสียงชัดเจนดี ไมเคยมีสิ่งคัดหลั่งไหลออกมา ไมเคยมีโรคเกี่ยวหูและชองหู จมูกและโพรงจมูก : เคยเปนหวัดนานๆครั้ง จะมีน้ํามูกใสๆ ไมเคยปะสบอุบัติเหตุเกี่ยวกับโพรงจมูก สองวัน มานี้มีน้ํามูกใสๆเล็กนอย ปากและคอ : ไมเคยมีแผลที่ปากและคอ กลืนอาหารไดปกติ ชวงสองวันนี้รูสึกขมปาก ไมอยากรับประทาน อาหาร ไมมีกดเจ็บบริเวณลําคอ ไมเคยมีโรคเกี่ยวกับตอมไทรอยด นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 4. ระบบหายใจ : ไมเคยมีอาการไอเรื้อรังหรือไอเปนเลือด ไมมีอาการหอบเหนื่อยหรือหายใจลําบากเวลา กลางคืน เคยเปนหวัดบางปละ 1-2 ครั้ง ระบบไหลเวียนโลหิตและหัวใจ : ไมเคยมีอาการใจสั่น หรือเจ็บหนาอก ไมมีปลายมือปลายเทาเขียว ชวงสอง วันนี้รูสึกหนามืดบอย วิงเวียนศีรษะ ระบบทางเดินอาหาร : รับประทานอาหารเวลา วันละ 3 มื้อ ไมมีอาการเจ็บแสบบริเวณลิ้นป ไมมีอาการ คลื่นไสอาเจียนไมมีอาการทองอืด ไมมีตัวตาเหลือง ไมมีถายเปนเลือด ชวงสองวันนี้มีอาการขมในปาก ไม อยากรับประทานอาหาร รวมกับมีถายเปนเนื้อเหลวๆ ประมาณ 3 ครั้ง ไมไดสังเกตลักษณะอุจจาระ ระบบทางเดินปสสาวะ : ถายปสสาวะปกติดี สีเหลืองเขม ปสสาวะรอน ไมมีอาการแสบขัด ไมเคยเปนโรค ในระบบทางเดินปสสาวะ ระบบอวัยวะเพศ : ไมเคยเปนโรคทางเพศสัมพันธ ระบบกระดูกและกลามเนื้อ : ไมเคยมีการบาดเจ็บที่กระดูกและขอ เคยมีอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อเนื่องจาก การทํางาน ชวงสองวันที่ผานมารูสึกปวดบั้นเอว และตนขาทั้งสองขาง ระบบประสาท : ไมเคยมีประวัติชัก ปาดเบี้ยว ไมเคยมีอาการชา หรืออาการออนแรงของกลามเนื้อ ระบบตอมไรทอ : ไมเคยมีอาการของเบาหวาน ตอมไทรอยด ไมมีประวัติใจสั่น น้ําหนักลด 4. การตรวจรางกาย (Physical Examination) แรกรับวันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 4.1 Vital signs BT = 39 °c P = 104ครั้ง/นาที R = 20 ครั้ง/นาที BP = 130/72 mmHg Weight 58 Kgs Height 166 cms ภาวะโภชนาการ อยูในเกณฑปกติ BMI = 21.04 Kg/m2 นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 5. 4.2 Psychosocial assessment Normal body build ,good conscious ,well orientation ,no pale,look weak and tried,well participate and coordination ,well co-orperation 4.3 Physical assessment Skin Red skin and warm to touch ,no cyanosis ,no jaundice ,no abnormal pigment ,good skin turgor ,rare papule at both arms and numerous papule at chest Nails Pink in color ,normal shape , clean and short nails , no clubbing fingers, no spoon nails,capillary refill <2 s. Head and Neck Normal shape and size, Symmetry , no lesion ,no evidence of trauma , no enlargement of lympnodes ,no distented vein ,Full range of motion Eyes Normal eye contour , eyebrows and eyelids no edema , No icteric sclera ,no injection , normal conjunctivas , normal extra ocular movement ,pupil 3 mm. react to light both eyes. Ears Normal external structure ,normal ear canal ,no ear wax ,no abnormal discharge , normal hearing ,no enlargement of post auticular lympnodes. Nose Normal external configuration,symmetry, midline septum , Turbinate-pink,normal nasal mucosa,no polyps,no swelling,no bleeding ,no tenderness at maxillary and frontal sinus. นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 6. Mouth Normal shape and size , Moisture lips ,pink oral mucosa and gingival ,normal salivation ,no lesion Tongue Normal papillae, no glossitis ,frenulum intract .normal size and texture,Intact hard and soft palate. Throat Pharynx and tonsil not inject , tonsil 1+, uvala in midline ,no lymphadenopathy Neck Normal shape and size ,Symmetrical from all angles ,no disteneded vein ,full range of motion.no massand cysts,Trachea in midline, no enlargement of thyroid gland Chest Normal chest contour and symmetry.A-P diameter:transverse diameter = 1:2 no kyphosis,scoliosis and lordosis,Rt=Lt.Respiratory rate 20 bpm rhythm regular.No mass and tenderness,Rt and Lt axially lymph node no mass and tendernsee Lung Normal lung expansion ,normal air entry ,Lung sound clear ,no adventitious sound. Heart Normal S 1 S 2 ,no splitting ,heart rate 115 bpm. ,no murmur and thrill. นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 7. Abdomen Normal size and shape ,no distension ,no ascites ,no scar ,no lesion , normal active bowel sound ,Soft , no mass ,no tenderness , liver and spleen not palpable ,Abdomen tympanic percussion , ,CVA not tenderness. Genitalia Not done Rectal Examination Not done Musculoskeletal system No deformities of arms and legs ,normal movement joint , not swelling , Full rang of motion ,muscle power grade Lt= 5 ,Rt=5 Neurologic system Good conscious ,E4V5M6 ,sensation normal, pupil react to light 3 mm. both eyes 5 .การวินิจฉัยแยกโรค ( Differential Diagnosis ) พรอมเหตุผล 5.1 รายการปญหา (Problem lists) 5.1.1 จากการซักประวัติ 1) มีไข ( Fever ) 2) ปวดศีรษะมาก ( Severe headache ) 3) ไมอยากอาหาร ( Appetite ) 4) ปวดเมื่อยกลามเนื้อบริเวณหลังและตนขาทั้งสองขาง (Muscle aches ) 5) ถายเหลว ( Diarrhea ) นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 8. 5.1.2 จากการตรวจรางกาย - Vital sign แรกรับ BT = 39 °c P = 104ครั้ง/นาที R = 20 ครั้ง/นาที BP = 130/72 mmHg - ขาดน้ํา ( dehydration ) - Tourniquet test :Positive จากขอมูล Problem list อาจลําดับเหตุการณ ( sequence of event ) ทําใหนึกถึงโรคไดดังนี้ 1) ไขเลือดออก ( Dengue fever ) 2) กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน ( Acute pyelonephritis ) 3) ไขหวัดใหญ ( Influenza ) 4) ไขมาลาเรีย (Malaria) นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 9. พยาธิสภาพของผูรับบริการ คนแถวบ้านป่วยเป็น ผู้รับบริ การเพศชายอายุ 24 ปี มีไข้ หนาวสัน 2วันก่อนมารพ. ่ ไข้ เลือดออก ผู้รับบริ การถูกยุงลายทีมีเชื ้อ Dengue ่ เกิดปฏิกิริยาตอบสนอง virus กด เชื ้อฟักตว 3-15 วัน ั ั กระตุ้น macrophage หลง ั่ กระตุ้นการทํางานของ Endrogenous pyrogen hypothalamus เชื ้อแบ่งตัวเพิ่มจํานวน ปวดศีรษะ 2วันก่อน เกิดจากร่างกายมีการหลง ั่ มารพ. กระตุ้น antibodyมาจับกินเชื ้อ และปล่อยสาร สารบางอย่าง เช่น cytokines , maidiators มากระตุ้นระบบ complement prostaglandins Metabolism rate สูง ของร่างกาย เพิ่มpermeability ของ หลอดเลือดต่างๆหดตัว สารประกอบเกาะที่ผิวเกล็ดเลือดทําให้ หลอดเลือด เกลดเลอดเกาะกลม และถกทําลาย ็ ื ุ่ ู กล้ามเนื ้อเกร็งตว ั Plasma ออกนอกหลอดเลือด ปริมาณเกลดเลอดลดลง ็ ื เสียงต่อภาวะ hypovolemic shock ่ ปวดเมื่อยกล้ามเนื ้อ เสียงต่อภาวะเลือดออกง่าย ่ ORS จิบบ่อยๆ Tourniquet test ผล Positive - แนะนําระวังกิจกรรมที่ทาให้ ํ เลือดออก และสังเกตภาวะ เลอดออกผิดปกติ ื นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 10. 6.การวินิจฉัยโรคเบื้องตนของนักศึกษา และการวินิจฉัยของแพทย กอนการตรวจพิเศษเพิ่มเติม การวินิจฉัยโรคเบื้องตนของนักศึกษา การวินิจฉัยโรคเบื้องตนของแพทย Dengue fever Dengue fever เมื่อวันที่ 21 /11/2555 ไดมีการตรวจพิเศษดังนี้ การตรวจพิเศษ/ตรวจทางหองปฏิบัติการ คาปกติ ผลการตรวจ แปลผล Touniquet test Positive CBC : WBC 5000-10,900 12700 cell/mm3 สูงกวาปกติ Hct 37-54 % 38% ปกติ Hb 14-18 12.7 มีภาวะซีดเล็กนอย MCV 80-92 49.5 ต่ํากวาปกติ MCH 27-31 16.7 มีภาวะซีด MCHC 32-42 33.8 g/dL ปกติ PLT 140000-440000 203,000 ปกติ Lymphocyte 10-59 44% ปกติ Monocyte 2-10 2% ปกติ Neutrophill 40-75 42%(band 12%) Band สูง มีการติดเชื้อ Eosinophile 1.0-6.0 0% ปกติ ‘ Basophils 0-1 0% ปกติ UA : Color Yellow ,clear Yellow ,clear ปกติ Sp.gr. 1.021 1.003-1.030 ปกติ pH 5.6 4.6-8 ปกติ WBC 1-2 0-2 ปกติ RBC 1-2 0-2 ปกติ Protien Negative Negative ปกติ Sugar Negative Negative ปกติ Ketone 1+ Negative ผิดปกติ(อาจมาจากภาวะ อดอาหาร) Bacteria Negative Negative ปกติ นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 11. โรค ทฤษฎี ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน ขอมูลอาการและอาการแสดงที่ ผูปวย (Positive data) พบในผูปวย (Negative data) Dengue fever สาเหตุ ไวรัสเดงกีซึ่งมีอยู 4 สายพันธุ ติดเชื้อครั้งแรกมักจะมี - ผูรับบริการบอกวา คนแถวบานปวย - ไมมีอาการปวดทอง/ กดเจ็บ อาการไมรุนแรง แตถาติดเชื้อครั้งที่ 2 โดยเชื้อที่ตางสายพันธุกับ เปนไขเลือดออก , บริเวณบานมีคลอง บริเวณตับ มาม ครั้งแรก อาการมักจะรุนแรงถึงขั้นเลือดออกหรือช็อค และบอน้ํา -ไมอาเจียน การติดตอ มียุงลาย (Aedes aegypt ) เปนพาหะที่สําคัญ -ผูรับบริการมาดวยอาการมีไขสูงหนาว - liver and spleen not palpable อาการ การติดเชื้อไวรัสแดงกีครั้งแรก ผูปวยสวนใหญ (80- สั่น 2 วันกอนมารพ. เบื่ออาหาร - ผล CBC: Hct 38% 90%) จะไมแสดงอาการ จะมีไขสูง ปวดศีรษะ ปวดกลามเนื้อ คลื่นไส ปวดเมื่อยที่หลังและขาทั้งสอง PLT 203,000cell/mm3 ปวดกระดูก และมีผื่นที่ผิวหนังได แตถาติดเชื้อครั้งที่สอง โดย ขาง เชื้อที่ตางสายพันธุกับครั้งแรก อาจเปนไขเลือดออก ซึ่งมีอาการ -Body temperature 39˚c P = 104ครั้ง/ สําคัญแบงแบงออกได 3 ระยะ คือ นาที 1. ระยะไข ผูปวยจะมีไขสูงเกือบตลอดเวลา เด็กบางคนอาจชัก - look weak and tried เนื่องจากไขสูง เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน ปวดทอง มักมีหนา - Red skin and warm to touch แดง และอาจมีผื่นหรือจุดเลือดออกตามลําตัว แขน ขา ระยะนี้ - Rare papule at both arms and จะเปนอยูราว 2-7 วัน numerous papule at chest 2. ระยะช็อค ระยะนี้ไขจะเริ่มลดลง ผูปวยจะซึม เหงื่อออก มือ -Tourniquet test ผล Positive เทาเย็น ชีพจรเตนเบาแตเร็ว ปวดทอง โดยเฉพาะบริเวณใตชาย - ผล CBC :WBC 12700 cell/mm3 โครงขวา ปสสาวะออกนอย อาจมีเลือดออกงาย เชน มีเลือด Neutrophill 42%(band 12%) กําเดาไหล อาเจียนเปนเลือด อุจจาระมีสีดํา ในรายที่รุนแรง จะ มีความดันโลหิตต่ํา ช็อค และอาจถึงตายได ระยะนี้กินเวลา 24- นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 12. โรค ทฤษฎี ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน ขอมูลอาการและอาการแสดงที่ ผูปวย (Positive data) พบในผูปวย (Negative data) 48 ชั่วโมง 3.ระยะพักฟน อาการตางๆจะเริ่มดีขึ้น ผูปวยรูสึกอยาก รับประทานอาหาร ความดันโลหิตสูงขึ้น ชีพจรเตนแรงขึ้นและ ชาลง ปสสาวะมากขึ้น บางรายมีผื่นแดงและมีจุดเลือดออก เล็กๆ ตามลําตัว สิ่งที่ตรวจพบ มีไขสูง มีเลือดออกงาย (ทดสอบโดย Tourniquet test , พบจุดเลือดออกตามรางกาย เชน เลือดกําเดา เลือดออก ตามไรฟน) เจ็บชายโครงขวาเนื่องจากตับโต ช็อค ตรวจเลือด พบเกล็ดเลือดต่ํา เลือดขนขึ้น และอาจตรวจน้ําเหลืองหรือเพาะ เชื้อไวรัสจากเลือด เพื่อยืนยันการวินิจฉัย อยางไรก็ตาม ใน ระยะ 1-2 วันของไข อาจมีอาการไมชัดเจน ผลเลือดอาจจะยัง ปกติ จึงตองสังเกตอาการอยางใกลชิดและเจาะเลือดซ้ําถา อาการไมดีขึ้น Acute Pyelonephytis สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้ออักเสบเฉียบพลันในบริเวณกรวยไต -ผูรับบริการมาดวยอาการมีไขสูงหนาว - ผูรับบริการอายุ 24 ป สวนมากเชื้อโรคมักจะแพรกระจายมาจากบริเวณผิวหนังรอบ ๆ สั่น 2 วันกอนมารพ. เบื่ออาหาร -ผูรับบริการปฏิเสธโรคประจําตัว ทอปสสาวะ เขามาในทอปสสาวะ กระเพาะปสสาวะ และผาน คลื่นไส - ผูรับบริการปฏิเสธยาที่ ทอไตขึ้นมาที่ไต การอุดกั้นของทางเดินปสสาวะมักเปนปจจัย -ผูรับบริการบอกวาชวงสองวันที่ผาน รับประทานประจํา เสริม ใหเกิดการติดเชื้อไดงายขึ้น เชน นิ่วในทางเดินปสสาวะ มารูสึกปวดบั้นเอว และตนขาทั้งสอง -ผูรับบริการบอกวามักมีไขสูง นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 13. โรค ทฤษฎี ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน ขอมูลอาการและอาการแสดงที่ ผูปวย (Positive data) พบในผูปวย (Negative data) ตอมลูกหมากโต กระเพาะปสสาวะไมทํางานในผูปวยอัมพาต ขาง ชวงบาย การตั้งครรภหรือมีกอนในชองทอง เปนตน เชื้อที่พบไดบอย -Body temperature 39˚c P = 104ครั้ง/ - ผูรับบริการบอกวาไมไดสังเกต เปนเชื้อแบคทีเรียกลุมแกรมลบ ไดแก อีโคไล (Escherichia นาที สีของปสสาวะ แตไมมีอาการ coli), เคลบซิลลา (Klebsiella), สูโดโมแนส (Pseudomonas) ปสสาวะแสบขัด นอกจากนี้ ในบางรายเชื้อโรคอาจแพรกระจายจากสวนอื่น ๆ - CVA not tenderness ของรางกาย โดยทางกระแสเลือดก็ได โรคนี้พบในผูหญิง UA : Color Yellow, clear มากกวาผูชายประมาณ 4 เทา มักพบในผูหญิงในวัยเด็กหรือ WBC 1-2 cell/HP ขณะตั้งครรภ, ในคนที่เปนนิ่วในทางเดินปสสาวะ, ตอม RBC 1-2 cell/HP ลูกหมากโต, เนื้องอก หรือมะเร็งของกระเพาะปสสาวะ, Bacteria Negative กระเพาะปสสาวะอักเสบ หรือผูปวยที่เคยสวนปสสาวะมากอน (เชน ผูปวยหนักที่นอนพักรักษาอยูในโรงพยาบาล) ผูปวยที่เปน เบาหวาน หรือกินสเตียรอยด นาน ๆ ก็อาจมีโอกาสเปนโรคนี้ ไดงายขึ้น อาการ ผูปวยจะมีอาการไขสูง หนาวสั่นมาก ตองหมผาหนาวๆ หรือหลายๆ ผืน ปวดศีรษะ ออนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีอาการ คลื่นไสอาเจียนรวมดวย มักมีอาการปวดทอง ปวดบั้นเอวขาง ใดขางหนึ่ง และปสสาวะขุน บางรายอาจมีอาการถายปสสาวะแสบขัด และออก นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 14. โรค ทฤษฎี ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน ขอมูลอาการและอาการแสดงที่ ผูปวย (Positive data) พบในผูปวย (Negative data) กะปริดกะปรอยรวมดวย สิ่งที่ตรวจพบไขสูง 39-40 ํซ ไขสูงไมเปนเวลาแนนอน ถาใช กําปนทุบเบา ๆ ที่สีขางตรงที่ปวด ผูปวยจะรูสึกเจ็บจนสะดุง หนาทองอาจมีอาการกดเจ็บ หรือทองเกร็งแข็งเล็กนอย ปสสาวะมีลักษณะขุน Influenza สาเหตุ เกิดจากเชื้อ DNA ไวรัสในกลุม influenza virus type -ผูรับบริการมาดวยอาการมีไขสูงหนาว - ผูรับบริการอายุ 24 ป A,B,C สําหรับ influenza type A เปนชนิดที่พบบอยที่สุด สวน สั่น 2 วันกอนมารพ. เบื่ออาหาร -ผูรับบริการปฏิเสธโรคประจําตัว Type B มีเพียงกลุมเดียว ภูมิคุมกันที่สรางขึ้นจะปองกันได คลื่นไส -ผูรับบริการปฏิเสธการสัมผัส เฉพาะกลุม -ผูรับบริการบอกวาชวงสองวันที่ผาน หรือใกลชิดบุคคลที่ปวยเปน การติดตอ ติดตอไดงายโดยการหายใจไดรับน้ํามูก หรือเสมหะ มารูสึกปวดบั้นเอว และตนขาทั้งสอง ไขหวัด ของผูปวยโดยเชื้อจะผานเขาทางเยื่อบุตา จมูกและปาก ขาง - ผูรับบริการไมไดบอกวาปวด การที่คนไดสัมผัสสิ่งที่ปนเชื้อโรคเชนผาเช็ดหนา ชอน แกวน้ํา - 1วันกอนมา รพ. มีไขสูงรวมกับถาย เมื่อยกลามเนื้อมาก การจูบ การที่มือไปสัมผัสเชื้อแลวขยี้ตาหรือเอาเขาปาก เหลวประมาณ 3 ครั้ง - ผูรับบริการไมไอ ไมเจ็บคอ อาการของโรค - มีน้ํามูกใสๆเล็กนอย - Pharynx and tonsil not inject , 1.ไขหวัดใหญที่ไมมีโรคแทรกซอน ระยะฟกตัว 1-4วัน โดย -Body temperature 39˚c P = 104ครั้ง/ tonsil 1+, no lymphadenopathy เฉลี่ย 2 วัน นาที -Tourniquet test ผล Positive • ผูปวยจะมีอาการออนเพลียอยางฉับพลัน - look weak and tried • เบื่ออาหาร คลื่นไส - Red skin and warm to touch นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 15. โรค ทฤษฎี ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน ขอมูลอาการและอาการแสดงที่ ผูปวย (Positive data) พบในผูปวย (Negative data) • ปวดศีรษะอยางรุนแรง • ปวดตามแขนขา ปวดขอ ปวดรอบตา • ไขสูง 39-40 ํ c • เจ็บคอและคอแดงมีน้ํามูกใสไหล • ไอแหงๆ • ตามตัวจะรอน แดง ตาแดง • อาการอาเจียน หรือทองเดิน ไขเปน 2-4 วันแลวคอยๆ ลดลงแตอาการคัดจมูก และแสบคอยังคงอยูโดยทั่วไป จะหายใน 1 สัปดาห 2.สําหรับรายที่เปนรุนแรงมักเกิดในผูปวยที่มีโรคเรื้อรังอยูกอน มักจะเกิดโรคแทรกซอนที่ระบบอื่นดวยเชน • อาจพบการอักเสบของเยื่อหุมหัวใจ ผูปวยจะมีอาการ เจ็บหนาอก หรืออาการหัวใจวาย ผูปวยจะเหนื่อยหอบ • ระบบประสาท พบเยื่อหุมสมองอักเสบ และสมอง อักเสบผูปวยจะปวดศีรษะมาก และซึมลง • ระบบหายใจ มีหลอดลมอักเสบ และปอดบวมผูปวยจะ แนนหนาอก และเหนื่อย ผูปวยที่เปนกลุมเสี่ยงควรพบแพทยทันทีที่เปนไขหวัดใหญ นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 16. โรค ทฤษฎี ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน ขอมูลอาการและอาการแสดงที่ ผูปวย (Positive data) พบในผูปวย (Negative data) เนื่องจากโอกาสเกิดโรคแทรกซอนไดแกผูที่มีโรคเรื้อรัง ประจําตัวเชน โรคหัวใจ โรคตับ โรคไต เบาหวาน หอบหืด มะเร็งเปนตน ,คนทอง , ผูปวยโรคเอดส , ผูที่พักในสถานเลี้ยง คนชรา , ผูปวยอายุมากกวา 65 ป สิ่งที่ตรวจพบ ไข 38.5-40 ˚c หนาแดง เปลือกตาแดง อาจมี น้ํามูกใส คอแดงเล็กนอยหรือไมแดงเลย (ทั้งๆที่ผูปวยอาจรูสึก เจ็บคอ ) สวนมากมักตรวจไมพบอาการผิดปกติอื่นๆ Malaria สาเหตุ เกิดจากเชื้อโปรโตซัวพลาสโมเดียม เชื้อที่ทําใหเกิดโรค -ผูรับบริการมาดวยอาการมีไขสูงหนาว - ผูรับบริการอายุ 24 ป ในคนมี 4 ชนิด คือ ฟลซิปารัม ไวแวกซ มาลาเรียอี และโอวาเล สั่น 2 วันกอนมารพ. เบื่ออาหาร -ผูรับบริการปฏิเสธโรคประจําตัว เชื้อมาลาเรียที่พบบอยในประเทศไทย คือ ชนิดฟลซิปารัม และ คลื่นไส -ปฏิเสธประวัตการเขาปาในชวง ไวแวกซ -ผูรับบริการบอกวาชวงสองวันที่ผาน 2 สัปดาหที่ผานมา  การติดตอติดตอสูคนโดยการถูกยุงกนปลองตัวเมียที่มีเชื้อ มารูสึกปวดบั้นเอว และตนขาทั้งสอง - ปฏิเสธประวัติการถายดํา มาลาเรียกัด ขาง - ไมมีอาการปวดทอง/ กดเจ็บ อาการ - 1วันกอนมา รพ. มีไขสูงรวมกับถาย บริเวณตับ มาม ไมมีลักษณะพิเศษบงเฉพาะ โดยมากจะมีอาการนําคลายกับคน เหลวประมาณ 3 ครั้ง -ไมอาเจียน เปนไขหวัด คือ มีไขต่ํา ๆ ปวดศีรษะ ปวดตามตัว และกลามเนื้อ - มีน้ํามูกใสๆเล็กนอย -ระยะเวลาที่มีไขสูงลอยเปนมา อาจมีอาการคลื่นไสเบื่ออาหารได อาการนี้จะเปนเพียงระยะสั้น -Body temperature 39˚c P = 104ครั้ง/ นานกวา 2วัน เปนวัน หรือหลายวันได ขึ้นอยูกับระยะฟกตัวของเชื้อ ชนิดของ นาที - BP = 130/72 mmHg นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 17. โรค ทฤษฎี ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน ขอมูลอาการและอาการแสดงที่ ผูปวย (Positive data) พบในผูปวย (Negative data) เชื้อ จํานวนของสปอโรซอยตที่ผูปวยไดรับเขาไป ภาวะภูมิ - Red skin and warm to touch - liver and spleen not palpable ตานทานตอเชื้อมาลาเรียของผูปวย ภาวะที่ผูปวยไดรับยา - look weak and tried ปองกันมาลาเรียมากอน หรือไดรับยารักษามาลาเรียมาบางแลว ในระยะ 2-3 วันแรก ไขยังจับไมเปนเวลา ประมาณปลาย สัปดาหที่หนึ่งจะเริ่มจับไขเปนเวลา 2-3 วันแลวแตชนิดของเชื้อ อาการของไขจะมี 3 รยะ คือ ระยะหนาวสั่นและเกร็ง ขณะนี้อุณหภูมิของรางกายจะเพิ่มขึ้น ชีพขจรจะเร็วและเบา แรงดันโลหิตเพิ่ม ผิวเย็นซีด อาจจะมี อาการคลื่นไส อาเจียน และปสสาวะบอย ระยะนี้อาจจะนาน 15-60 นาที ระยะรอน อุณหภูมิรางกายจะสูง ชีพจรแรง แรงดันโลหิตจะสูง ลมหายใจรอนผิวจะแดง กระหายน้ํา มีอาการกระสับกระสาย บางคนไมคอยรูตัว ชวงนี้ใชเวลา 2 ชั่วโมง ระยะเหงื่อออก ระยะนี้เหงื่อจะเริ่มออกที่ขมับกอนแลวจึงออก ทั้งตัว อุณหภูมิและชีพขจรจะกลับสูปกติ ผูปวยจะเพลียและ หลับไป ระยะพัก คือระยะที่ไมมีไข ผูปวยจะสบายดี ปจจุบันนี้จะพบลักษณะทั้ง 3 ระยะไดนอยมาก ผูปวยจะมี นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 18. โรค ทฤษฎี ขอมูลอาการและอาการแสดงที่พบใน ขอมูลอาการและอาการแสดงที่ ผูปวย (Positive data) พบในผูปวย (Negative data) ไขสูงลอยตลอดเวลา โดยเฉพาะในผูปวยที่เปนมาลาเรียครั้ง แรก เนื่องจากในระยะแรกของการติดเชื้อมาลาเรีย เชื้ออาจ เจริญถึงระยะแกไมพรอมกัน ซึ่งอาจเปนผลมาจากไดรับเชื้อใน เวลาตางกัน เชื้อจึงเจริญในเม็ดเลือดแดงไมพรอมกัน ทําใหเกิด มีเชื้อหลายระยะ การแตกของเม็ดเลือดแดงจึงไมพรอมกัน ผูปวยมาลาเรียในระยะแรกอาจมีไขสูงลอยตลอดวันแตเมื่อผาน ไประยะหนึ่งแลว การแตกของเม็ดเลือดแดงเกิดขึ้นพรอมกัน จะเห็นผูปวยมีการจับไขหนาวสั่นเปนเวลา แยกไดชัดเจนตาม ชนิดของเชื้อมาลาเรีย เชื้อไวแวกซ ฟสซิพารัม และโอวัลเล ใช เวลาในการแบงตัว 48 ชั่วโมง จึงทําใหเกิดไขทุกวันที่ 3 สวน มาลาริอี ใชเวลา 72 ชั่วโมง อาการไขจึงเกิดทุกวันที่ 4 ภายหลังที่เปนมาลาเรียไดระยะหนึ่ง จะตรวจพบวาผูปวย ซีด บางคนมีตัวเหลือง ตาเหลือง ตับและมามโต บางรายกดเจ็บ ถาเม็ดเลือดแดงแตกมากๆ จะพบวาผูปวยมีปสสาวะดํา สิ่งที่ตรวจพบ อาการสําคัญของมาลาเรีย ไขมากกวา 40 องศา หนาวสั่น คลื่นไสอาเจียน ออนเพลีย ปวดกลามเนื้อ เหงื่อออก นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 19. การรักษาของนักศึกษา/การรักษาของแพทย การรักษาของนักศึกษา การรักษาของแพทย - Tourniquet test ,CBC , UA Tourniquet test - Paracetamal (500 mg) 2 tab prn for fever q 4-6 - Paracetamal (500 mg) 2 tab prn for fever q 4-6 hr hr #20 - Oral rehydration salt - Oral rehydration salt #10 ซอง - Tolperisone HCl (50 mg)1x3  pc - Tolperisone HCl (50 mg)1x3  pc #20 - นัด F/U 23 พย. 2555 + เจาะ CBC ยาและสารน้ําที่ไดรับ Paracetamal ชื่อสามัญ Paracetamol ประเภท ระงับปวด ลดไข ขอบงใช ควบคุมอาการปวดศีรษะ ปวดหู ปวดประจําเดือน ปวดขอ ปวดกลามเนื้อ ปวดฟน ลดไขจากการ ติดเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัส ใชในผูปวยที่แพแอสไพริน มีปญหาเลือดออก ไดรับยาตานการแข็งตัวของเลือด กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการสังเคราะห Prostaglandins ในระบบประสาทสวนกลางไดดี ไมมีฤทธิ์ยังกยั้ง การเคลื่อนตัวของ Neutrophill จึงมีฤทธิ์ตานการอักเสบต่ํามาก ไมทําใหเกิดแผลในกระเพาะอาหารและไมมี ผลตอการเกาะกลุมของเกล็ดเลือด ออกฤทธิ์สูงสุด 30-60 นาที หลังไดรับยา หากไดรับเกินขนาดจะมีพิษตอ ตับและไต จึงไมควรไดรับยาเกิน 7วัน อาการขางเคียง ปวดศีรษะ ปวดหรือไมสบายทอง คลื่นไส อาเจียน มีอาการแพ เชน ผื่นคัน ผื่นลมพิษ บวม ตามอวัยวะตางๆ เชน ใบหนา คอ ตา ริมฝปาก ลิ้น มือ แขน นอง ขา ขอเทา หายใจหรือกลืนลําบาก มีปญหา เกี่ยวกับการหายใจ มีไข เจ็บคอ เสียงแหบ ปสสาวะลําบากหรือมีปริมาณเปลี่ยนแปลงไป มีเลือดออกหรือมี รอยช้ําอยางผิดปกติ ออนเพลียหรือไมมีแรงอยางผิดปกติ ตาหรือผิวหนังเปลี่ยนเปนสีเหลืองอยางผิดปกติ นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 20. การพยาบาล ใหการดูแลและแนะนําดังนี้ 1. ควรดื่มน้ํา เครื่องดื่ม หรือรับประทานอาหารเหลวๆบอยๆ เพื่อชวยลดความรอน ไมควรดื่ม น้ําผลไม หรือเครื่องเดื่มที่มีฟทธิ์เปนกรดหลังรับประทานยา 2. ไมซื้อยารับประทานเองหรือใชยาติดตอกันเปนเวลานาน เพราะอาจทําใหไดรับยาเกิน ขนาด เกิดพิษและผลขางเคียง 3. ระวังการใชยาในผูปวยโรคตับหรือผูติดแอลกอฮอร Oral rehydration salt ชื่อสามัญ Oral rehydration salt (ORS) ประเภท สารละลายน้ําตาลและเกลือแร ขอบงใช ใชทดแทนการเสียน้ําในรายที่มีอาการทองเสีย หรือในรายที่อาเจียนมากๆ และปองกันการ ช็อคเนื่องจากการที่รางกายขาดน้ํา กลไกการออกฤทธิ์ ทดแทนน้ําและเกลือแร เชน โซเดียม โปแตสเซียม เปนตน ที่สูญเสียไปจากอาการ ทองเสีย หรือขาดน้ํา อาการขางเคียง คลื่นไส อาเจียน การพยาบาล 1. ดูแลใหผูรับบริการไดรับสารละลายน้ําตาลและเกลือแรอยางถูกตองเหมาะสมไมใหมาก หรือนอย เกินไป 2. ควรมีการประเมินอาการของภาวะขาดน้ํา และประเมินจากผลตรวจ Hct ทางหองปฏิบัติการ 3. สังเกตอาการทองเสีย หากมีอาการรุนแรงมากขึ้น ควรรายงานแพทย เพื่อใหสารน้ําทางหลอดเลือด Tolperisone HCl ชื่อสามัญ Tolperisone ประเภท ยาคลายกลามเนื้อ นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 21. ขอบงใช รักษาผูปวยที่มีอาการปวดกลามเนื้อ กลไกการออกฤทธิ์ ตาน Cholinergic อาการขางเคียง งวงซึม เวียนศีรษะ ออนเพลีย คลื่นไส ตามัว เบื่ออาหาร หัวใจเตนชา การพยาบาล 1. แนะนําใหผูรับบริการงดกิจกรรมที่เกี่ยวของกับงานควบคุมเครื่องจักร หรือการขับขี่ยานพาหนะ 2. แนะนําใหผูรับบริการนอนหลับพักผอนใหเพียงพอ การติดตามผลการรักษา จากผลการรักษาที่ทําใหเปนปญหาของผูปวย (permanent problem list ) ที่มีอยูมีดังนี้ Problem No. 21/11/2555 23/11/2555 Activity 1). Fever Fever Active 2). Severe headache Severe headache Inactive 3). Mild Dehydration Mild Dehydration Active 4). Appetite Appetite Active 5). Muscle aches Muscle aches Active 6). Diarrhea Diarrhea Inactive Plan of Management Problem #1 Fever Subjectiv ผูรับบริการบอกวาอาการมีไขสูงหนาวสั่น 2 วันกอนมารพ. ออนเพลีย เวียนศีรษะ e Objective - Body temperature 39˚c PR = 104ครั้ง/นาที - look weak and tried - Red skin and warm to touch นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 22. Assessment ไขเปนอาการซึ่งรางกายมีอุณหภูมิสูงขึ้นกวาปกติ เพื่อตอบสนองตอการติดเชื้อโรค หรือมีการ เจ็บปวยจากบางสาเหตุ เชน การอักเสบของเนื้อเยื่อจากโรคภูมิแพตนเอง โดยไขจะเกิดอยู เพียงชั่วคราว เฉพาะในชวงเกิดโรค หรือมีการเจ็บปวย เมื่อรางกายเกิดการติดเชื้อ หรือจากบาง สาเหตุ จะสงผลกระตุนใหสมองไฮโปธาลามัส ตอบสนองดวยการปรับอุณหภูมิรางกายให สูงขึ้น เนื้อเยื่อที่จะทําหนา ที่เพิ่มอุณหภูมิของรางกายตามคําสั่งของสมอง คือ กลามเนื้อ และ หลอดเลือด โดยหลอดเลือดจะหดตัวเพื่อปองกันไมใหความรอนแพรกระจายออกทางผิวหนัง และทางปอด ซึ่งการหดตัวของหลอดเลือดนอกจากสงผลใหอุณหภูมิของรางกายสูงขึ้นแลว จะ สงผลใหผูมีไขรูสึกหนาว จากมีการลดปริมาณของเลือดที่หลอเลี้ยง นอกจากนั้นกลามเนื้อ ตางๆจะหดเกร็ง จึงกออาการหนาวสั่น ทั้งหมด คือ อาการไขขึ้น Plan Diagnotic plan : วินิจฉัยหาสาเหตุของอาการไขสูงหนาวสั่น โดยการตรวจเลือดทาง หองปฏิบัติการ (CBC )เพื่อประเมินหาการติดเชื้อ , Tourniquet test Treatment plan: -Advice force oral fluid 2000-2500 ml/day -Paracetamal (500 mg) 2 tab  q 4-6 hr prn. for fever Nursing plan : 1.Observe body temperature 2. ดูแลใหไดรับ Paracetamal (500 mg) 2 tab  stat 3. หัตถการเพื่อการวินิจฉัย Tourniquet test นาน 5 นาที 4. การเจาะเลือดสงตรวจทางหองปฏิบัติการ (CBC) 5.แนะนําใหผูรับบริการเช็ดตัวลดไขรวมดวย Problem #2 Severe headache Subjective ปวดศีรษะมาก เวียนศีรษะ 2 วันกอนมา รพ. Objective - Assessment เปนการตอบสนองตอการติดเชื้อโรค หรือมีการเจ็บปวยจากบางสาเหตุ เมื่อรางกายเกิดการ ติดเชื้อ หรือจากบางสาเหตุ จะสงผลกระตุนเกิดการหลั่งสาร mediator ตางๆ ตอบสนองดวย การปรับอุณหภูมิรางกายใหสูงขึ้น เนื้อเยื่อที่จะทําหนาที่เพิ่มอุณหภูมิของรางกายตามคําสั่ง ของสมอง คือ กลามเนื้อ และหลอดเลือด โดยหลอดเลือดจะหดตัวรวมทั้งหลอดเลือดที่ สมอง ทําใหเกิดอาการปวดศีรษะ Plan Diagnotic plan : วินิจฉัยหาสาเหตุ โดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ (CBC )เพื่อ ประเมินหาการติดเชื้อ , Tourniquet test Treatment plan: -Paracetamal (500 mg) 2 tab  q 4-6 hr prn. for pain Nursing plan : นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 23. 1.ประเมินอาการปวดศีรษะโดยใช Pain scale 2. แนะนําใหผูรับบริการนอนหลับพักผอน Problem #3 Mild Dehydration Subjective - ผูรับบริการบอกวา มีไขสูงหนาวสั่นมานาน 2 วัน รวมกับ 1 วันกอนมา รพ. มีถายเหลว 3  ครั้ง รูสึกคลื่นไส ขมในปาก ไมอยากรับประทานอาหาร -ผูรับบริการบอกวา ปสสาวะมีสีเหลืองเขม Objective - Body temperature 39˚c PR=104 ครั้ง/นาที - look weak and tried - Red skin and warm to touch Assessment ภาวะขาดน้ําเกิดขึ้นไดจากการสูญเสียน้ําจาก invisible loss เนื่องจากภาวะไข , อาการถาย เหลว ,และการที่ plasma ออกนอกหลอดเลือดจากอาการของไขเลือดออก Plan Diagnotic plan : วินิจฉัยหาสาเหตุ โดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ (CBC )เพื่อ ประเมินหาการติดเชื้อ , Tourniquet test Treatment plan: Oral rehydration salt Nursing plan : 1.ประเมินอาการแสดงของภาวะขาดน้ํา เชน ริมฝปากแหง ผิวแหง ออนเพลีย ไมมีแรง กระหายน้ํา หัวใจเตนเร็ว ปสสาวะออกนอย มีสีเขมขึ้น เปนตน 2. แนะนําใหผูรับบริการจิบสารละลายเกลือแรบอยๆ ดื่มน้ํามากขึ้นจากเดิม เปนวันละ 2000-2500 ml. Problem #4 Appetite Subjective - ผูรับบริการบอกวา มีไขสูงหนาวสั่นมานาน 2 วัน รวมกับ 1 วันกอนมา รพ. มีถายเหลว 3 ครั้ง รูสึกคลื่นไส ขมในปาก ไมอยากรับประทานอาหาร Objective - look weak and tried Assessment อาการเบื่ออาหารเปนอาการหนึ่งที่พบเนื่องจากการติดเชื้อไวรัส Dengue virus นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 24. Plan Diagnotic plan : วินิจฉัยหาสาเหตุ โดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ (CBC )เพื่อ ประเมินหาการติดเชื้อ , Tourniquet test Treatment plan: - Nursing plan : 1.อธิบายใหผูรับบริการเขาใจถึงการดําเนินของโรคไขเลือดออก วาจะสามารถหายไดเอง แตอาการจะรุนแรงไดเนื่องจากภาวะแทรกซอน ดังนั้นแผนการรักษาจะรักษาตามอาการ โดยผูรับบริการจะตองพยายามรับประทานอาหารเพื่อใหรางกายมีพลังงาน และกลับสูภาวะ ปกติ 2.อธิบายใหทราบความสําคัญของการรับประทานอาหารตอการดําเนินของโรคไขเลือดออก Problem #5 Muscle aches Subjective 2วันกอนมา รพ.เวียนศีรษะ มีไขสูงหนาวสั่นมักจะเปนไขในชวงบาย ไมไอ ไมเจ็บคอ มี น้ํามูกใสๆเล็กนอย ปวดเมื่อยที่บริเวณหลังและตนขาทั้งสองขาง Objective - look weak and tried Assessment อาการปวดเมื่อยกลามเนื้อเกิดขึ้นไดจากปฏิกิริยาตอบสนองของรางกาย โดยการหดตัวของ หลอดเลือดตางๆทําใหกลามเนื้อหดเกร็งเปนเวลานาน กลามเนื้อตางๆอาจไดรับสารอาหาร และพลังงานไมเพียงพอ เกิดการเผาผลาญกลามเนื้อโดยไมใชออกซิเจน เกิดการคั่งของกรด แลคติคทําใหเกิดอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อ Plan Diagnotic plan : วินิจฉัยหาสาเหตุการเจ็บปวย โดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ (CBC )เพื่อประเมินหาการติดเชื้อ , Tourniquet test Treatment plan: - Tolperisone HCl (50 mg)1x3  pc Nursing plan : 1.ประเมินอาการปวดโดยใช Pain scale 2.อธิบายใหผูรับบริการทราบวาอาการปวดเมื่อยตามรางกายเปนอาการที่เกิดไดจากการติด เชื้อไขเลือดออก และจะหายไดเอง นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 25. Problem #6 Diarrhea Subjective - ผูรับบริการบอกวา 1 วัน กอนมารพ. ถายเหลว 3ครั้ง Objective - Assessment ปฏิกิริยาการตอบสนองตอการติดเชื้อของรางกาย กอใหเกิดการหลั่งสาร mediator ตางๆ เปนผลทําใหหลอดเลือกหดตัว รวมทั้งหลอดเลือดที่เลี้ยงระบบทางเดินอาหารสงผลใหการ ทํางานของระบบทางเดินอาหารผิดปกติได กอใหเกิดอาการคลื่นไสอาเจียน ถายเหลวได Plan Diagnotic plan : - Treatment plan: Oral rehydration salt Nursing plan : 1.ประเมินอาการแสดงของภาวะขาดน้ําจากภาวะทองเสีย เชน ริมฝปากแหง ผิวแหง ออนเพลีย ไมมีแรง กระหายน้ํา หัวใจเตนเร็ว ปสสาวะออกนอย มีสีเขมขึ้น เปนตน 2. แนะนําใหผูรับบริการจิบสารละลายเกลือแรบอยๆ ดื่มน้ํามากขึ้นจากเดิม เปนวันละ 2000-2500 ml. 3. แนะนําใหผูรับบริการทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธและซับใหแหงหลังการขับถาย Patient education plan 1.อธิบายใหผูรับบริการทราบเกี่ยวกับการดําเนินโรคและอาการจากไขเลือดออก อธิบายใหผูรับบริการทราบ ตอนนี้ผูรับบริการอยูในระยะไข ระยะวิกฤตของโรคนี้คือวันที่ 3-7 ของไข ซึ่งอาจมีภาวะช็อกหรือ เลือดออกได ดังนั้นจึงควรเฝาสังเกตอาการอยางใกลชิด ถาพนระยะนี้ไปได ก็ถือวาปลอดภัย 2. อธิบายแผนการรักษาใหผูรับบริการทราบวา ไขเลือดออกยังไมมียาที่รักษาหายขาดได ปจจุบันรักษาตาม อาการ นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 26. 3. แนะนําใหผูรับบริการสังเกตอาการของภาวะชอค คือ หนามืด ใจสั่น หายใจเหนื่อยหอบ และบอกใหญาติ สังเกตอาการที่เปนสัญญาณอันตรายดังนี้คือ กระสับกระสาย หรือซึมมาก ควรมาพบแพทยโดยเร็ว 4.แนะนําใหผูรับบริการสังเกตอาการของภาวะเลือดออก คือมีเลือดออก เชน เลือดกําเดาไหล อาเจียนเปน เลือด ถายอุจาระเปนเลือด ถาพบอาการดังกลาวเพียงอยางใดอยางหนึ่ง ควรพาไปพบแพทยโดยเร็ว 5.แนะนําใหผูรับบริการรับประทานอาหารที่มีประโยชนครบ 5 หมู ตรงตามเวลา ไมปลอยใหทองวาง 6.แนะนําใหผูรับบริการดื่มน้ํา/ น้ําผลไมมากขึ้นจากที่ดื่มปกติในแตละวัน 7.แนะนําใหผูรับบริการนอนหลับพักผอนใหเพียงพอวันละ 8-10 ชั่วโมง 8. แนะนําการรับประทานยา Paracetamal (500 mg) รับประทาน 2เม็ดเมื่อมีไขหรือปวดศีรษะทุก 4- 6 ชม. หากรับประทานแลว ไขอาจไมลดใหเช็ดตัวลดไขรวมดวย Oral rehydration salt ละลายน้ําตมสุกสะอาดตามปริมาตรที่ระบุขางซอง จิบบอยๆ หากละลายแลว ควรดื่มใหหมดภายใน 24 ชม. Tolperisone HCl คลายกลามเนื้อ ลดอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อ รับประทานครั้งละ 1 เม็ด หลัง อาหารเชา-กลางวัน - เย็น หลังอาหารทันที 9. เนนย้ําใหผูรับบริการมาพบแพทยเพื่อติดตามอาการ ในวันที่ 23 พย. 2555 นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 27. การติดตามเยี่ยม (Visiting Progression note) เยี่ยมครั้งที่ 1 วันที่ 23 /11/2555 การตรวจพิเศษ/ตรวจทางหองปฏิบัติการ คาปกติ ผลการตรวจ แปลผล CBC : WBC 5000-10,900 2700 cell/mm3 ต่ํากวาปกติ(มีการติด เชื้อ) Hct 37-54 % 37% ปกติ Hb 14-18 12.8 มีภาวะซีดเล็กนอย MCV 80-92 49.1 ต่ํากวาปกติ MCH 27-31 16.7 มีภาวะซีด MCHC 32-42 34.2 g/dL ปกติ PLT 140000-440000 270,000 ปกติ Lymphocyte 10-59 54% ปกติ Monocyte 2-10 1% ปกติ Neutrophill 40-75 40%(band 57%) Band สูง มีการติดเชื้อ Eosinophile 1.0-6.0 0% ปกติ ‘ Basophils 0-1 0% ปกติ นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 28. Progress Note Problem #1 Fever Subjective ผูรับบริการบอกวาหลังการรักษา ยังคงมีไขต่ําๆ ออนเพลียเล็กนอย เวียนศีรษะ โดยรวม อาการไขดีขึ้น ลุกปฏิบัติกิจวัตรประจําวันได Objective - Body temperature 37.8˚c PR = 96 ครั้ง/นาที - look weak and tried - Red skin and warm to touch Assessment เมื่อไดรับยา อุณหภูมิกายลดลง Plan Diagnotic plan : ตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ (CBC )เพื่อประเมินระยะของไขเลือดออก Treatment plan: -Paracetamal (500 mg) 2 tab  q 4-6 hr prn. for fever (ยาเดิม) Nursing plan : 1.Observe body temperature 2. การเจาะเลือดสงตรวจทางหองปฏิบัติการ (CBC) 3. ทบทวนคําแนะนําเดิมในการดูแลตนเองเพื่อลดไข Problem #2 Severe headache Subjective อาการปวดศีรษะลดลง ไมคอยปวดศีรษะแลว Objective - Assessment เมื่อไดรับยา Paracetamol มีผลลดการสราง Prostaglandin บรรเทาอาการปวดศีรษะได Plan Diagnotic plan : วินิจฉัยหาระยะการดําเนินของโรคโดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 29. (CBC ) Treatment plan: -Paracetamal (500 mg) 2 tab  q 4-6 hr prn. for pain (ยาเดิม) Nursing plan : 1.ประเมินอาการปวดศีรษะโดยใช Pain scale และแนะนําใหรับประทานยาบรรเทาอาการ ปวดศีรษะ หากมีอาการมาก 2. แนะนําใหผูรับบริการนอนหลับพักผอน Problem #3 Mild Dehydration Subjective - ผูรับบริการบอกวา ไมมีถายเหลวแลว ถายอุจจาระปกติ -ยังรูสึกคลื่นไส ขมในปาก ไมอยากรับประทานอาหาร แตพยายามรับประทานอาหาร -ผูรับบริการบอกวา ปสสาวะมีสีเหลืองเขม Objective - Body temperature 37.8 ˚c PR=96ครั้ง/นาที - look weak and tried - Red skin and warm to touch - Hct 37% (ปกติ) Assessment ภาวะขาดน้ําเกิดขึ้นไดจากการสูญเสียน้ําจาก invisible loss เนื่องจากภาวะไข , อาการถาย เหลว ,และการที่ plasma ออกนอกหลอดเลือดจากอาการของไขเลือดออก Plan Diagnotic plan : วินิจฉัยหาระยะการดําเนินของโรคโดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ (CBC ) Treatment plan: Oral rehydration salt Nursing plan : 1.ประเมินอาการแสดงของภาวะขาดน้ํา เชน ริมฝปากแหง ผิวแหง ออนเพลีย ไมมีแรง กระหายน้ํา หัวใจเตนเร็ว ปสสาวะออกนอย มีสีเขมขึ้น เปนตน นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 30. 2. แนะนําใหผูรับบริการจิบสารละลายเกลือแรบอยๆ ดื่มน้ํามากขึ้นจากเดิม เปนวันละ 2000-2500 ml. Problem #4 Appetite Subjective - ผูรับบริการบอกวายังรูสึกคลื่นไส ขมในปาก ไมอยากรับประทานอาหาร Objective - mild look weak and tried Assessment อาการเบื่ออาหารเปนอาการหนึ่งที่พบเนื่องจากการติดเชื้อไวรัส Dengue virus Plan Diagnotic plan : วินิจฉัยหาระยะการดําเนินของโรคโดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ (CBC ) Treatment plan: - Nursing plan : 1.อธิบายใหผูรับบริการเขาใจถึงการดําเนินของโรคไขเลือดออก 2.เนนย้ําใหผูรับบริการพยายามรับประทานอาหาร Problem #5 Muscle aches Subjective - ผูรับบริการบอกวา ยังคงมีปวดเมื่อกลามเนื้อบาง แตไมรุนแรง Objective - look weak and tried Assessment หลังไดรับยา Plan Diagnotic plan : วินิจฉัยหาระยะการดําเนินของโรคโดยการตรวจเลือดทางหองปฏิบัติการ (CBC ) Treatment plan: - Tolperisone HCl (50 mg)1x3  pc นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 31. Problem #6 Diarrhea Subjective - ผูรับบริการบอกวา ถายอุจจาระเปนปกติ ไมมีถายเหลวแลว Objective - Assessment ปฏิกิริยาการตอบสนองตอการติดเชื้อของรางกาย กอใหเกิดการหลั่งสาร mediator ตางๆ เปนผลทําใหหลอดเลือกหดตัว รวมทั้งหลอดเลือดที่เลี้ยงระบบทางเดินอาหารสงผลใหการ ทํางานของระบบทางเดินอาหารผิดปกติได กอใหเกิดอาการคลื่นไสอาเจียน ถายเหลวได Plan Diagnotic plan : - Treatment plan: Oral rehydration salt สรุปรายงานการศึกษาผูปวย ผูรับบริการชายชาวลาว วัยผูใหญ อายุ 24 ป รูปรางสมสวน ผิวขาวเหลือง ทาทางออนเพลีย มาดวย มีไขสูงหนาวสั่น ไมไอ ไมเจ็บคอ มีน้ํามูกใสๆเล็กนอย ปวดเมื่อยที่บริเวณหลังและตนขาทั้งสองขาง2วัน กอนมา รพ.เวียนศีรษะ รับประทานยาพาราไป 3 เม็ด อาการทุเลาลง แตกลับมามีไขสูงอีก รูสึกขมในปาก เบื่ออาหาร รับประทานอาหารไดนอย รวมกับ 1วันกอนมา รพ. มีไขสูงรวมกับถายเหลวประมาณ 3 ครั้ง ปวดหนวงบริเวณทองนอย ปสสาวะสีเหลืองเขม ไมแสบขัด ปวดศีรษะมาก จึงตัดสินใจมา รพ. มาพบแพทยที่แผนกผูปวยนอกในวันที่ 21 /11/2555 เวลา 10.00 น. สรุปปญหาสําคัญ ปญหาแรกรับ 1) มีไข ( Fever ) 2) ปวดศีรษะมาก ( Severe headache ) 3) ขาดน้ํา (dehydration) นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever
  • 32. 3) ไมอยากอาหาร ( Appetite ) 4) ปวดเมื่อยกลามเนื้อบริเวณหลังและตนขาทั้งสองขาง (Muscle aches ) 5) ถายเหลว ( Diarrhea ) การตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม Vital sign แรกรับ : BT = 39 ˚c P = 104ครั้ง/นาที R = 20 ครั้ง/นาที BP = 130/72 mmHg Dengue virus infection Tourniquet test : Positive CBC พบ WBC 2700 cell/mm3, Neutrophill 40%(band 57%) , PLT 270000 cell/mm3,Hct 37% การวินิจฉัยแยกโรค Caseนี้ตรวจพบอาการแสดงของภาวะไขเลือดออกคือ มีไขสูง 39 องศาเซลเซียส PR 104 ครั้ง/นาที ตัวแดงหนาแดง ออนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยกลามเนื้อ ใหขอมูลทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับการเจ็บปวย เปนไขเลือดออกของเพื่อนบาน ทํา Tourniquet test ผล Positive อยูในระยะไข แพทยไมไดรับไวใน โรงพยาบาล แตอธิบายเกี่ยวกับการดําเนินของโรคและแผนการรักษา เมื่อมาตรวจตามนัดเพื่อติดตามอาการ ในวันที่ 23 /11/2555 สงตรวจ CBC ผล CBC พบ WBC 2700 cell/mm3, Neutrophill 40%(band 57%) , PLT 270000 cell/mm3,Hct 37% พบวายังอยูในระยะไข จึงเนนย้ําเกี่ยวกับการดูแลตนเองและสังเกตอาการของ ภาวะชอคและภาวะเลือดออกที่ควรมา รพ. Final Diagnosis : Dengue fever , Thalassemia trait นางสาวทิพาพร สอนโพธิ์ตรุ /case study Dengue fever