SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  37
IQ 
INTELLIGENCE QUOTIENT 
คือความฉลาดทางสติปัญญา 
นา เสนอโดย นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
ไอคิว (IQ ย่อจาก Intelligence quotient) 
หมายถึง 
ความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา การคิด การใช้เหตุผล 
การคานวณ การเชื่อมโยง 
ไอคิว เป็นศักยภาพทางสมองที่ติดตัวมาแต่กาเนิด 
เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ยาก 
ไอคิว สามารถวัดออกมาเป็นค่าสัดส่วนตัวเลขที่แน่นอน 
ได้เทียบกับอายุคน ส่วนใหญ่มีไอคิวช่วง 90-110 
ส่วนคนที่มีไอคิวเกิน 120 ถือว่าเป็นคนที่มีไอคิวใน 
ระดับสูง
นายวิลเลียม สเตอร์น เป็นคนคิดคาว่า ไอ.คิว. 
เป็นคนแรก เพื่อบ่งถึงระดับเชาวน์ปัญญาของแต่ละ 
บุคคล โดยใช้สูตร คือ 
IQ = [ อายุสมอง (Mental Age) / อายุจริง 
(Chronologic Age) ] * 100 
(มนุษย์ประมาณ 2 ใน 3 มีไอคิวช่วง 85-115 มีเพียงร้อยละ 1 
เท่านั้นที่มีไอคิวเท่ากับ 136 หรือมากกว่านั้น ชาวญ่ปี่นุถือเป็นชน 
ชาติที่มีไอคิวค่าเฉลี่ยสูงที่สุดในโลกถึง 115)
นกัจติวิทยาต้องและสามารถจดั ไอ.คิว. เป็น 3 ประเภทหลกั ได้แก่ 
 ไอ.คิว. ด้านภาษา (Verbal I.Q.) 
 ไอ.คิว. ด้านปฏิบัติ (Performance 
I.Q.) 
 ไอ.คิว. รวม (Full I.Q.)
แบบทดสอบ IQ วดัทกัษะด้านต่างๆดงันี้ 
 ทักษะด้านคณิตศาสตร์ 
 ทักษะด้านการใช้ภาษา 
 ทักษะด้านการคิดเชิงตรรกะ 
 ทักษะด้านการมองเห็น 
 ทักษะด้านการจัดหมวดหมู่ 
 ทักษะด้านความจาในระยะสั้นๆ 
 ทักษะด้านความรู้ทัว่ไป 
 ทักษะด้านความเร็วในการคานวน
การพัฒนา IQ 
 50% จากกรรมพันธุ์ซึ่งปรับเปลี่ยนกันได้ยาก 
 50% จากสิ่งแวดล้อม เช่น การเลี้ยงดูความรัก 
ความอบอ่นุ เพราะฉะนั้นต้องมีเวลาให้ลูกหลาน 
 อาหาร ครบห้าหมู่โดยเฉพาะ ปลา ถัว่เหลือง 
วิตามินบี ธาตุเหล็ก ไอโอดีน โปรตีน 
 ประสบการณ์ต่างๆจากการเล่น ออกกาลังกาย 
ทากิจกรรมกลุ่ม การทางาน การทางาน ศิลปะ ดนตรี 
กีฬา ที่ชื่นชอบ
การพัฒนา IQ 
 ได้ฟังนทิาน(วัยเด็กเล็ก) การได้ช่วยทางาน ทากิจกรรมในเด็ก 
โต 
 การได้รับรับคาชมเชย จะช่วยให้มองเห็นคุณค่าของตนเอง 
 ความคิดในทางบวก มีความคิดอย่างสร้างสรรค์จากการที่ได้ 
รับคาชมเชยเสมอ ได้รับการยอมรับการกระทาต่างๆที่ดี 
 อารมณ์ดีไม่เครียด 
 ออกกาลังกาย อย่างน้อย 30 นาทีต่อวันจะช่วยให้มีสมาธิสด 
ชื่น คิดอะไรได้เร็ว อดทน ไม่ซึมเศร้า ไม่ติดยาเสพติด
ปั จจัยที่มีผลลบต่อสมอง ทา ให้สมองไม่พัฒนา 
 ความเครียด, ความกดดันต่างๆ เช่นการทาการบ้านมากมาย ขาดการ 
พักผ่อนออกกาลังกาย 
 ขาดอาหารเช่นพวกโลหิตจาง 
 สมองขาดการกระตุ้น หรือการใช้สมองฝึกคิดในสิ่งต่างๆ เช่นการฝึกการ 
แก้ปัญหา ฝึกความคิดสร้างสรรค์จินตนาการ การใช้ไหวพริบ 
 มองตนเองในแง่ลบ มองตนเองไม่มีคุณค่า จากการถูกตาหนิทุกวัน 
หรือบ่อยๆ 
 ซึมเศร้า,ทุกข์,โกรธ,วิตกกังวล 
 สารพิษ ยาเสพติด สารตะกัว่
Multiple Intelligences 
หรือทฤษฎีพหุปั ญญา 
โดย ดร. โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ Howard Gardner 
ปัญญา คือ ความสามารถในการทาความเข้าใจ ระบุและ 
แก้ปัญหา นา ไปสู่ การสร้างสรรค์ ประดิษฐ์ หรือ ให้บริการได้
ปั ญญาทั้ง 8 
1. เชาวน์ปัญญาด้านภาษา(Linguistic intelligence 
) 
2. เชาวน์ปัญญาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ 
(Logical-mathematical intelligence ) 
3. เชาวน์ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์(Spatial 
intelligence ) 
4. เชาวน์ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว(Bodily- 
Kinesthetic intelligence )
ปั ญญาทั้ง 8 
5. เชาวน์ปัญญาด้านดนตรีและจังหวะ 
(Musical intelligence ) 
6. เชาวน์ปัญญาด้านความเข้าใจตนเอง 
(Intrapersonal intelligence ) 
7. เชาวน์ปัญญาด้านความเข้าใจผู้อื่น 
(Interpersonal intelligence ) 
8. เชาวน์ปัญญาด้านความเข้าใจธรรมชาติ 
(Naturalist intelligence )
ทฤษฎีทางปัญญาของเพียเจต์ 
“พัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคล 
เป็นไปตามวัยต่างๆ เป็นลา ดับขั้น ดังนี้”
1. ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว 
(Sensori-Motor Stage) 
ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี 
พฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคล่อืนไหวเป็นส่วน 
ใหญ่ เช่น การไขว่คว้า การเคลื่อนไหว การมอง การดู 
ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติปัญญา 
ด้วยการกระทา 
เด็กสามารถแก้ปัญหาได้ 
แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคาพูด
เด็กจะต้องมีโอกาสที่จะปะทะกับส่งิแวดล้อมด้วย 
ตนเอง สาหรับพัฒนาการด้านสติปัญญาและความคิด 
สามารถประสานงานระหว่างกล้ามเน้อืมือ และสายตา 
 มักจะทาอะไรซ้าบ่อยๆ เป็นการเลียนแบบ แก้ปัญหา 
แบบลองผิดลองถูก 
 กิจกรรมการคิดของเด็กวัยนี้ส่วนใหญ่ยังคงอยู่เฉพาะ 
ส่งิที่สามารถสัมผัสได้เท่านั้น
2. ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด 
(Preoperational Stage) 
ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปีแบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น 
ขั้นก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought) 
 เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี 
 เด็กเริ่มมีเหตุผลเบ้อืงต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 
เกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน 
 เด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือถือความคิดตนเองเป็นใหญ่และมอง 
ไม่เห็นเหตุผลของผู้อื่น 
 ความเข้าใจต่อส่งิต่างๆ ยังคงอยู่ในระดับเบื้องต้น เช่น เข้าใจว่าเด็กหญิง 
2 คน ชื่อเหมือนกัน จะมีทุกอย่างเหมือนกัน 
 พัฒนาการทางภาษาของเด็กเจริญรวดเร็วมาก
การคิดแบบญาณหยั่งรู้ นึกออกเองโดยไม่ใช้เหตุผล 
(Intuitive Thought) 
 เป็นขั้นพัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี 
 เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ 
 รู้จักแยกประเภทและแยกชิ้นส่วนของวัตถุ เข้าใจ 
ความหมายของจานวนเลข 
 เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ 
 สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่คิดเตรียม 
ล่วงหน้าไว้ก่อน
ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม 
(Concrete Operation Stage) 
ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ปี 
 เด็กวัยน้สีามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อม 
ออกเป็นหมวดหมู่ได้ 
 สามารถเข้าใจเหตุผล รู้จักการแก้ปัญหาส่งิต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมได้ 
 สามารถที่จะเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความคงตัวของสิ่งต่างๆ ของแข็งหรือ 
(ของเหลวจานวนหนึ่งแม้ว่าจะเปล่ยีนรูปร่างไปก็ยังมีน้า หนัก หรือ 
ปริมาตรเท่าเดิม) 
 ลักษณะเด่นของเด็กวัยน้คีือ ความสามารถในการคิดย้อนกลับ 
สามารถสนทนากับบุคคลอื่นและเข้าใจความคิดของผู้อื่นได้ดี
ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม 
(Formal Operational Stage) 
เริ่มจากอายุ 11-15 ปี 
 พัฒนาการทางสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยน้เีป็น 
ขั้นสุดยอด คือเด็กในวัยน้จีะเริ่มคิดแบบผู้ใหญ่สามารถคิดแบบ 
นักวิทยาศาสตร์ ตั้งสมมุติฐานและทฤษฎี 
 มีความคิดนอกเหนอืไปกว่าสิ่งปัจจุบัน สนใจที่จะสร้างทฤษฎี 
เกี่ยวกับทุกสิ่งทุกอย่าง 
 มีความพอใจที่จะคิดพิจารณาเกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มีตัวตน
เพยีเจต์ ได้กล่าวถึงการส่งเสริมทเี่ด็กควรได้รบัมี6 ขนั้ ได้แก่ 
1. ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute Differences) 
เด็กเริ่มรับรู้ในความแตกต่างของสิ่งของที่มองเห็น 
2. ขั้นรู้สิ่งตรงกันข้าม (Opposition) 
ขั้นน้เีด็กรู้ว่าของต่างๆ มีลักษณะตรงกันข้ามเป็น 2 ด้าน เช่น 
มี-ไม่มี หรือ เล็ก-ใหญ่ 
3. ขั้นรู้หลายระดับ (Discrete Degree) 
เด็กเริ่มรู้จักคิดสิ่งที่เกี่ยวกับลักษณะที่อยู่ตรงกลางระหว่างปลาย 
สุดสองปลาย เช่น ปานกลาง น้อย
4. ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเน่อืง (Variation) 
เด็กสามารถเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ เช่น 
บอกถึงความเจริญเติบโตของต้นไม้ 
5. ขั้นรู้ผลของการกระทา (Function) 
ในขั้นน้เีด็กจะเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของการเปล่ยีนแปลง 
6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว 
(ExactCompensation) 
เด็กจะรู้ว่าการกระทาให้ของสิ่งหน่งึเปลี่ยนแปลงย่อมมีผลต่อ 
อีกสิ่งหนึ่ง
นกัเรียนแต่ละคนจะได้รบัประสบการณ์ 2 แบบคือ 
ประสบการณ์ทางกายภาพ 
(physical experiences) 
จะเกิดขึ้นเม่อืนักเรียนแต่ละคนได้ปฏิสัมพันธ์กับวัตถุต่าง 
ในสภาพแวดล้อมโดยตรง 
ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์ 
(Logicomathematical 
experiences) จะเกิดขึ้นเม่อืนักเรียนได้พัฒนา 
โครงสร้างทางสติปัญญาให้ความคิดรวบยอดที่เป็น 
นามธรรม
การนา ไปใช้ในการจัดการศึกษา / การสอน 
ควรคานึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนดังต่อไปนี้ 
 นักเรียนที่มีอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาที่ 
แตกต่างกัน 
 ไม่ควรเปรียบเทียบเด็ก 
 ควรให้เด็กมีอิสระที่จะเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของ 
เขาไปตามระดับพัฒนาการของเขา
หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีพัฒนาการทาง 
สติัปญญาของเพียเจต์ ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้คือ 
 เน้นพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนโดยต้องเน้นให้นักเรียนใช้ 
ศักยภาพของตนเองให้มากที่สุด 
 เสนอการเรียนการเสนอที่ให้ผู้เรียนพบกับความแปลกใหม่ 
 เน้นการเรียนรู้ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบ 
 เน้นกิจกรรมการสารวจและการเพ่มิขยายความคิดในระหว่างการ 
เรียนการสอน 
 ใช้กิจกรรมขัดแย้ง (cognitive conflict activities) 
โดยการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นนอกเหนือจากความคิดเห็นของ 
ตนเอง
การสอนที่ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปั ญญาของผู้เรียนควร 
ดา เนินการดังต่อไปนี้ 
 ถามคาถามมากกว่าการให้คาตอบ 
 ครูผู้สอนควรจะพูดให้น้อยลง และฟังให้มากขึ้น 
 ควรให้เสรีภาพแก่นักเรียนที่จะเลือกเรียนกิจกรรมต่าง ๆ 
 เมื่อนักเรียนให้เหตุผลผิด ควรถามคาถามหรือจัดประสบการณ์ให้ 
นักเรียนใหม่ เพื่อนักเรียนจะได้แก้ไขข้อผิดพลาดด้วยตนเอง 
 ยอมรับว่านักเรียนแต่ละคนมีพัฒนาการทางสติปัญญาที่แตกต่างกัน 
 ตระหนักว่าการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเพราะจดจามากกว่าที่จะเข้าใจ 
เป็นการเรียนรู้ที่ไม่แท้จริง (pseudo learning)
ในขั้นประเมินผล ควรดา เนินการสอนต่อไปนี้ 
มีการทดสอบแบบการให้เหตุผลของนักเรียน 
พยายามให้นักเรียนแสดงเหตุผลในการตอน 
คา ถามนั้น ๆ 
ต้องช่วยเหลือนักเรียนทีมีพัฒนาการทาง 
สติปัญญาต่า กว่าเพื่อร่วมชั้น
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปั ญญาของบรุนเนอร์
บรุนเนอร์ (Bruner) เป็นนักจิตวิทยาที่สนใจ 
และศึกษาเรื่องของพัฒนาการทางสติปัญญา 
ต่อเนื่องจากเพียเจต์ 
เชื่อว่ามนุษย์เลือกที่จะรับรู้ส่งิที่ตนเองสนใจและการ 
เรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบด้วยตัวเอง 
(discovery learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ 
 การจัดโครงสร้างของความรู้ให้มีความสัมพันธ์ และสอดคล้องกับ 
พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก มีผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก 
 การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับระดับความ 
พร้อมของผู้เรียน จะช่วยให้การเรียนรู้เกิดประสิทธิภาพ 
 การคิดแบบหยัง่รู้ (intuition) เป็นการคิดหาเหตุผลอย่าง 
อิสระที่สามารถช่วยพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้ 
 แรงจูงใจภายในเป็นปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้ผู้เรียน 
ประสบผลสาเร็จในการเรียนรู้
ทฤษฎีพฒันาการทางสติปญัญาของมนุษย์แบ่งได้เป็น 3 ขนั้ใหญ่ ๆ คือ 
 ขั้นการเรียนรู้จากการกระทา (Enactive Stage) คือ ขั้น 
ของการเรียนรู้จากการใช้ประสาทสัมผัสรับรู้สิ่งต่าง ๆ การลงมือ 
กระทาช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ดี การเรียนรู้เกิดจากการกระทา 
 ขั้นการเรียนรู้จากความคิด (Iconic Stage) เป็นขั้นที่เด็ก 
สามารถสร้างมโนภาพในใจได้ และสามารถเรียนรู้จากภาพแทน 
ของจริงได้ 
 ขั้นการเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม (Symbolic 
Stage) เป็นขั้นการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรมได้
การนา ไปใช้ในการจัดการศึกษา / การสอน 
 กระบวนการค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการ 
เรียนรู้ที่ดีมีความหมายสาหรับผู้เรียน 
 การวิเคราะห์และจัดโครงสร้างเน้อืหาสาระการเรียนรู้ให้ 
เหมาะสมเป็นสงิ่ทีจ่าเป็นทีต่อ้งทาก่อนการสอน 
 การจัดหลักสูตรแบบเกลียว (Spiral 
Curriculum) ช่วยให้สามารถสอนเน้อืหาหรือ 
ความคิดรวบยอดเดียวกันแก่ผู้เรียนทุกวัยได้ 
 ในการเรียนการสอนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระ 
ให้มากเพ่อืช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปั ญญาของกาเย่ 
 เด็กพัฒนาเน่อืงจากว่า เขาได้เรียนรู้กฎเกณฑ์ที่ซับซ้อน 
ขึ้นเรื่อย ๆ 
 ในระยะเริ่มแรกเด็กจะได้รับนิสัยง่าย ๆ ที่ช่วยทาหน้าที่ 
เป็นจุดเริ่มต้น เพ่อืให้ได้มาซึ่งกลไกพื้นฐาน และการ 
ตอบสนองทางคาพูด และจะเริ่มซับซ้อนมากขึ้น
การสร้างแรงจูงใจภายในกับผู้เรียน 
เป็นสิ่งจาเป็นในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แก่ผู้เรียน 
การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการ 
ทางสติปัญญาของผู้เรียน จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ 
เรียนรู้ได้ดี 
การสอนความคิดรวบยอดให้แก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็น 
การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ค้นพบการเรียนรู้ด้วย 
ตนเอง สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
 การพัฒนาทางสติปัญญา จึงได้แก่การสร้างความสามารถ 
ในการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนเพ่มิขึ้นเรื่อย ๆ 
 ระยะหรือขั้นของการพัฒนาการจะสัมพันธ์กับอายุของ 
เด็ก เน่อืงจากการเรียนรู้ต้องใช้เวลา มีข้อจากัดทางสังคม 
เป็นตัวกาหนด 
 ความสามารถในการเรียนรู้อาจต้องรอการฝึกฝนที่ 
เหมาะสม
การนา ไปใช้ในการจัดการศึกษา / การสอน 
 เด็ก ๆ จะต้องพัฒนาให้เร็วที่สุดทันทีที่เราสามารถ 
สอนเขาได้ 
 ความพร้อมในการเรียนของนักเรียนขึ้นอยู่กับการจัดให้ 
งานด้านทักษะมีความเหมาะสม และนิสัยที่จาเป็นสาหรับ 
การเรียนทักษะใหม่ ๆ
หลกัการสอนทงั้ 9 ประการ 
1. เร่งเร้าความสนใจ (Gain Attention) 
2. บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective) 
3. ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior 
Knoeledge) 
4. นา เสนอเน้อืหาใหม่ (Present New 
Information) 
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ (Guide 
Learning)
หลกัการสอนทงั้ 9 ประการ 
6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน 
(Elicit Response) 
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide 
Feedback) 
8. ทดสอบความรู้ใหม่ (Assess 
Performance) 
9. รุปและนา ไปใช้ (Review and 
Transfer)
Average IQ Score

Contenu connexe

En vedette

ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก6Phepho
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์khuwawa2513
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1NusaiMath
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการchonchai55
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์6Phepho
 

En vedette (7)

ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย โรเบิร์ก
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
 

Similaire à นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์

152010010020
152010010020152010010020
152010010020Aaesah
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1pattamasatun
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Yee022
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1New Born
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Jan Sirinoot
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 

Similaire à นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์ (20)

152010010020
152010010020152010010020
152010010020
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 

นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์

  • 1. IQ INTELLIGENCE QUOTIENT คือความฉลาดทางสติปัญญา นา เสนอโดย นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
  • 2. ไอคิว (IQ ย่อจาก Intelligence quotient) หมายถึง ความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา การคิด การใช้เหตุผล การคานวณ การเชื่อมโยง ไอคิว เป็นศักยภาพทางสมองที่ติดตัวมาแต่กาเนิด เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ยาก ไอคิว สามารถวัดออกมาเป็นค่าสัดส่วนตัวเลขที่แน่นอน ได้เทียบกับอายุคน ส่วนใหญ่มีไอคิวช่วง 90-110 ส่วนคนที่มีไอคิวเกิน 120 ถือว่าเป็นคนที่มีไอคิวใน ระดับสูง
  • 3. นายวิลเลียม สเตอร์น เป็นคนคิดคาว่า ไอ.คิว. เป็นคนแรก เพื่อบ่งถึงระดับเชาวน์ปัญญาของแต่ละ บุคคล โดยใช้สูตร คือ IQ = [ อายุสมอง (Mental Age) / อายุจริง (Chronologic Age) ] * 100 (มนุษย์ประมาณ 2 ใน 3 มีไอคิวช่วง 85-115 มีเพียงร้อยละ 1 เท่านั้นที่มีไอคิวเท่ากับ 136 หรือมากกว่านั้น ชาวญ่ปี่นุถือเป็นชน ชาติที่มีไอคิวค่าเฉลี่ยสูงที่สุดในโลกถึง 115)
  • 4. นกัจติวิทยาต้องและสามารถจดั ไอ.คิว. เป็น 3 ประเภทหลกั ได้แก่  ไอ.คิว. ด้านภาษา (Verbal I.Q.)  ไอ.คิว. ด้านปฏิบัติ (Performance I.Q.)  ไอ.คิว. รวม (Full I.Q.)
  • 5. แบบทดสอบ IQ วดัทกัษะด้านต่างๆดงันี้  ทักษะด้านคณิตศาสตร์  ทักษะด้านการใช้ภาษา  ทักษะด้านการคิดเชิงตรรกะ  ทักษะด้านการมองเห็น  ทักษะด้านการจัดหมวดหมู่  ทักษะด้านความจาในระยะสั้นๆ  ทักษะด้านความรู้ทัว่ไป  ทักษะด้านความเร็วในการคานวน
  • 6. การพัฒนา IQ  50% จากกรรมพันธุ์ซึ่งปรับเปลี่ยนกันได้ยาก  50% จากสิ่งแวดล้อม เช่น การเลี้ยงดูความรัก ความอบอ่นุ เพราะฉะนั้นต้องมีเวลาให้ลูกหลาน  อาหาร ครบห้าหมู่โดยเฉพาะ ปลา ถัว่เหลือง วิตามินบี ธาตุเหล็ก ไอโอดีน โปรตีน  ประสบการณ์ต่างๆจากการเล่น ออกกาลังกาย ทากิจกรรมกลุ่ม การทางาน การทางาน ศิลปะ ดนตรี กีฬา ที่ชื่นชอบ
  • 7. การพัฒนา IQ  ได้ฟังนทิาน(วัยเด็กเล็ก) การได้ช่วยทางาน ทากิจกรรมในเด็ก โต  การได้รับรับคาชมเชย จะช่วยให้มองเห็นคุณค่าของตนเอง  ความคิดในทางบวก มีความคิดอย่างสร้างสรรค์จากการที่ได้ รับคาชมเชยเสมอ ได้รับการยอมรับการกระทาต่างๆที่ดี  อารมณ์ดีไม่เครียด  ออกกาลังกาย อย่างน้อย 30 นาทีต่อวันจะช่วยให้มีสมาธิสด ชื่น คิดอะไรได้เร็ว อดทน ไม่ซึมเศร้า ไม่ติดยาเสพติด
  • 8. ปั จจัยที่มีผลลบต่อสมอง ทา ให้สมองไม่พัฒนา  ความเครียด, ความกดดันต่างๆ เช่นการทาการบ้านมากมาย ขาดการ พักผ่อนออกกาลังกาย  ขาดอาหารเช่นพวกโลหิตจาง  สมองขาดการกระตุ้น หรือการใช้สมองฝึกคิดในสิ่งต่างๆ เช่นการฝึกการ แก้ปัญหา ฝึกความคิดสร้างสรรค์จินตนาการ การใช้ไหวพริบ  มองตนเองในแง่ลบ มองตนเองไม่มีคุณค่า จากการถูกตาหนิทุกวัน หรือบ่อยๆ  ซึมเศร้า,ทุกข์,โกรธ,วิตกกังวล  สารพิษ ยาเสพติด สารตะกัว่
  • 9. Multiple Intelligences หรือทฤษฎีพหุปั ญญา โดย ดร. โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ Howard Gardner ปัญญา คือ ความสามารถในการทาความเข้าใจ ระบุและ แก้ปัญหา นา ไปสู่ การสร้างสรรค์ ประดิษฐ์ หรือ ให้บริการได้
  • 10. ปั ญญาทั้ง 8 1. เชาวน์ปัญญาด้านภาษา(Linguistic intelligence ) 2. เชาวน์ปัญญาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ (Logical-mathematical intelligence ) 3. เชาวน์ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์(Spatial intelligence ) 4. เชาวน์ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว(Bodily- Kinesthetic intelligence )
  • 11. ปั ญญาทั้ง 8 5. เชาวน์ปัญญาด้านดนตรีและจังหวะ (Musical intelligence ) 6. เชาวน์ปัญญาด้านความเข้าใจตนเอง (Intrapersonal intelligence ) 7. เชาวน์ปัญญาด้านความเข้าใจผู้อื่น (Interpersonal intelligence ) 8. เชาวน์ปัญญาด้านความเข้าใจธรรมชาติ (Naturalist intelligence )
  • 13. 1. ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคล่อืนไหวเป็นส่วน ใหญ่ เช่น การไขว่คว้า การเคลื่อนไหว การมอง การดู ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติปัญญา ด้วยการกระทา เด็กสามารถแก้ปัญหาได้ แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคาพูด
  • 14. เด็กจะต้องมีโอกาสที่จะปะทะกับส่งิแวดล้อมด้วย ตนเอง สาหรับพัฒนาการด้านสติปัญญาและความคิด สามารถประสานงานระหว่างกล้ามเน้อืมือ และสายตา  มักจะทาอะไรซ้าบ่อยๆ เป็นการเลียนแบบ แก้ปัญหา แบบลองผิดลองถูก  กิจกรรมการคิดของเด็กวัยนี้ส่วนใหญ่ยังคงอยู่เฉพาะ ส่งิที่สามารถสัมผัสได้เท่านั้น
  • 15. 2. ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปีแบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น ขั้นก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought)  เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี  เด็กเริ่มมีเหตุผลเบ้อืงต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ เกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน  เด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือถือความคิดตนเองเป็นใหญ่และมอง ไม่เห็นเหตุผลของผู้อื่น  ความเข้าใจต่อส่งิต่างๆ ยังคงอยู่ในระดับเบื้องต้น เช่น เข้าใจว่าเด็กหญิง 2 คน ชื่อเหมือนกัน จะมีทุกอย่างเหมือนกัน  พัฒนาการทางภาษาของเด็กเจริญรวดเร็วมาก
  • 16. การคิดแบบญาณหยั่งรู้ นึกออกเองโดยไม่ใช้เหตุผล (Intuitive Thought)  เป็นขั้นพัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี  เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ  รู้จักแยกประเภทและแยกชิ้นส่วนของวัตถุ เข้าใจ ความหมายของจานวนเลข  เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์  สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่คิดเตรียม ล่วงหน้าไว้ก่อน
  • 17. ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ปี  เด็กวัยน้สีามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อม ออกเป็นหมวดหมู่ได้  สามารถเข้าใจเหตุผล รู้จักการแก้ปัญหาส่งิต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมได้  สามารถที่จะเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความคงตัวของสิ่งต่างๆ ของแข็งหรือ (ของเหลวจานวนหนึ่งแม้ว่าจะเปล่ยีนรูปร่างไปก็ยังมีน้า หนัก หรือ ปริมาตรเท่าเดิม)  ลักษณะเด่นของเด็กวัยน้คีือ ความสามารถในการคิดย้อนกลับ สามารถสนทนากับบุคคลอื่นและเข้าใจความคิดของผู้อื่นได้ดี
  • 18. ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) เริ่มจากอายุ 11-15 ปี  พัฒนาการทางสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยน้เีป็น ขั้นสุดยอด คือเด็กในวัยน้จีะเริ่มคิดแบบผู้ใหญ่สามารถคิดแบบ นักวิทยาศาสตร์ ตั้งสมมุติฐานและทฤษฎี  มีความคิดนอกเหนอืไปกว่าสิ่งปัจจุบัน สนใจที่จะสร้างทฤษฎี เกี่ยวกับทุกสิ่งทุกอย่าง  มีความพอใจที่จะคิดพิจารณาเกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มีตัวตน
  • 19. เพยีเจต์ ได้กล่าวถึงการส่งเสริมทเี่ด็กควรได้รบัมี6 ขนั้ ได้แก่ 1. ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute Differences) เด็กเริ่มรับรู้ในความแตกต่างของสิ่งของที่มองเห็น 2. ขั้นรู้สิ่งตรงกันข้าม (Opposition) ขั้นน้เีด็กรู้ว่าของต่างๆ มีลักษณะตรงกันข้ามเป็น 2 ด้าน เช่น มี-ไม่มี หรือ เล็ก-ใหญ่ 3. ขั้นรู้หลายระดับ (Discrete Degree) เด็กเริ่มรู้จักคิดสิ่งที่เกี่ยวกับลักษณะที่อยู่ตรงกลางระหว่างปลาย สุดสองปลาย เช่น ปานกลาง น้อย
  • 20. 4. ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเน่อืง (Variation) เด็กสามารถเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ เช่น บอกถึงความเจริญเติบโตของต้นไม้ 5. ขั้นรู้ผลของการกระทา (Function) ในขั้นน้เีด็กจะเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของการเปล่ยีนแปลง 6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว (ExactCompensation) เด็กจะรู้ว่าการกระทาให้ของสิ่งหน่งึเปลี่ยนแปลงย่อมมีผลต่อ อีกสิ่งหนึ่ง
  • 21. นกัเรียนแต่ละคนจะได้รบัประสบการณ์ 2 แบบคือ ประสบการณ์ทางกายภาพ (physical experiences) จะเกิดขึ้นเม่อืนักเรียนแต่ละคนได้ปฏิสัมพันธ์กับวัตถุต่าง ในสภาพแวดล้อมโดยตรง ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์ (Logicomathematical experiences) จะเกิดขึ้นเม่อืนักเรียนได้พัฒนา โครงสร้างทางสติปัญญาให้ความคิดรวบยอดที่เป็น นามธรรม
  • 22. การนา ไปใช้ในการจัดการศึกษา / การสอน ควรคานึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนดังต่อไปนี้  นักเรียนที่มีอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาที่ แตกต่างกัน  ไม่ควรเปรียบเทียบเด็ก  ควรให้เด็กมีอิสระที่จะเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของ เขาไปตามระดับพัฒนาการของเขา
  • 23. หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีพัฒนาการทาง สติัปญญาของเพียเจต์ ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้คือ  เน้นพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนโดยต้องเน้นให้นักเรียนใช้ ศักยภาพของตนเองให้มากที่สุด  เสนอการเรียนการเสนอที่ให้ผู้เรียนพบกับความแปลกใหม่  เน้นการเรียนรู้ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบ  เน้นกิจกรรมการสารวจและการเพ่มิขยายความคิดในระหว่างการ เรียนการสอน  ใช้กิจกรรมขัดแย้ง (cognitive conflict activities) โดยการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นนอกเหนือจากความคิดเห็นของ ตนเอง
  • 24. การสอนที่ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปั ญญาของผู้เรียนควร ดา เนินการดังต่อไปนี้  ถามคาถามมากกว่าการให้คาตอบ  ครูผู้สอนควรจะพูดให้น้อยลง และฟังให้มากขึ้น  ควรให้เสรีภาพแก่นักเรียนที่จะเลือกเรียนกิจกรรมต่าง ๆ  เมื่อนักเรียนให้เหตุผลผิด ควรถามคาถามหรือจัดประสบการณ์ให้ นักเรียนใหม่ เพื่อนักเรียนจะได้แก้ไขข้อผิดพลาดด้วยตนเอง  ยอมรับว่านักเรียนแต่ละคนมีพัฒนาการทางสติปัญญาที่แตกต่างกัน  ตระหนักว่าการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเพราะจดจามากกว่าที่จะเข้าใจ เป็นการเรียนรู้ที่ไม่แท้จริง (pseudo learning)
  • 25. ในขั้นประเมินผล ควรดา เนินการสอนต่อไปนี้ มีการทดสอบแบบการให้เหตุผลของนักเรียน พยายามให้นักเรียนแสดงเหตุผลในการตอน คา ถามนั้น ๆ ต้องช่วยเหลือนักเรียนทีมีพัฒนาการทาง สติปัญญาต่า กว่าเพื่อร่วมชั้น
  • 27. บรุนเนอร์ (Bruner) เป็นนักจิตวิทยาที่สนใจ และศึกษาเรื่องของพัฒนาการทางสติปัญญา ต่อเนื่องจากเพียเจต์ เชื่อว่ามนุษย์เลือกที่จะรับรู้ส่งิที่ตนเองสนใจและการ เรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบด้วยตัวเอง (discovery learning)
  • 28. ทฤษฎีการเรียนรู้  การจัดโครงสร้างของความรู้ให้มีความสัมพันธ์ และสอดคล้องกับ พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก มีผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก  การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับระดับความ พร้อมของผู้เรียน จะช่วยให้การเรียนรู้เกิดประสิทธิภาพ  การคิดแบบหยัง่รู้ (intuition) เป็นการคิดหาเหตุผลอย่าง อิสระที่สามารถช่วยพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้  แรงจูงใจภายในเป็นปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้ผู้เรียน ประสบผลสาเร็จในการเรียนรู้
  • 29. ทฤษฎีพฒันาการทางสติปญัญาของมนุษย์แบ่งได้เป็น 3 ขนั้ใหญ่ ๆ คือ  ขั้นการเรียนรู้จากการกระทา (Enactive Stage) คือ ขั้น ของการเรียนรู้จากการใช้ประสาทสัมผัสรับรู้สิ่งต่าง ๆ การลงมือ กระทาช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ดี การเรียนรู้เกิดจากการกระทา  ขั้นการเรียนรู้จากความคิด (Iconic Stage) เป็นขั้นที่เด็ก สามารถสร้างมโนภาพในใจได้ และสามารถเรียนรู้จากภาพแทน ของจริงได้  ขั้นการเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม (Symbolic Stage) เป็นขั้นการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรมได้
  • 30. การนา ไปใช้ในการจัดการศึกษา / การสอน  กระบวนการค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการ เรียนรู้ที่ดีมีความหมายสาหรับผู้เรียน  การวิเคราะห์และจัดโครงสร้างเน้อืหาสาระการเรียนรู้ให้ เหมาะสมเป็นสงิ่ทีจ่าเป็นทีต่อ้งทาก่อนการสอน  การจัดหลักสูตรแบบเกลียว (Spiral Curriculum) ช่วยให้สามารถสอนเน้อืหาหรือ ความคิดรวบยอดเดียวกันแก่ผู้เรียนทุกวัยได้  ในการเรียนการสอนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระ ให้มากเพ่อืช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน
  • 31. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปั ญญาของกาเย่  เด็กพัฒนาเน่อืงจากว่า เขาได้เรียนรู้กฎเกณฑ์ที่ซับซ้อน ขึ้นเรื่อย ๆ  ในระยะเริ่มแรกเด็กจะได้รับนิสัยง่าย ๆ ที่ช่วยทาหน้าที่ เป็นจุดเริ่มต้น เพ่อืให้ได้มาซึ่งกลไกพื้นฐาน และการ ตอบสนองทางคาพูด และจะเริ่มซับซ้อนมากขึ้น
  • 32. การสร้างแรงจูงใจภายในกับผู้เรียน เป็นสิ่งจาเป็นในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แก่ผู้เรียน การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการ ทางสติปัญญาของผู้เรียน จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ได้ดี การสอนความคิดรวบยอดให้แก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็น การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ค้นพบการเรียนรู้ด้วย ตนเอง สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
  • 33.  การพัฒนาทางสติปัญญา จึงได้แก่การสร้างความสามารถ ในการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนเพ่มิขึ้นเรื่อย ๆ  ระยะหรือขั้นของการพัฒนาการจะสัมพันธ์กับอายุของ เด็ก เน่อืงจากการเรียนรู้ต้องใช้เวลา มีข้อจากัดทางสังคม เป็นตัวกาหนด  ความสามารถในการเรียนรู้อาจต้องรอการฝึกฝนที่ เหมาะสม
  • 34. การนา ไปใช้ในการจัดการศึกษา / การสอน  เด็ก ๆ จะต้องพัฒนาให้เร็วที่สุดทันทีที่เราสามารถ สอนเขาได้  ความพร้อมในการเรียนของนักเรียนขึ้นอยู่กับการจัดให้ งานด้านทักษะมีความเหมาะสม และนิสัยที่จาเป็นสาหรับ การเรียนทักษะใหม่ ๆ
  • 35. หลกัการสอนทงั้ 9 ประการ 1. เร่งเร้าความสนใจ (Gain Attention) 2. บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective) 3. ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knoeledge) 4. นา เสนอเน้อืหาใหม่ (Present New Information) 5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ (Guide Learning)
  • 36. หลกัการสอนทงั้ 9 ประการ 6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน (Elicit Response) 7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide Feedback) 8. ทดสอบความรู้ใหม่ (Assess Performance) 9. รุปและนา ไปใช้ (Review and Transfer)