SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
เคยได้ยินนักวิชาการในระดับกาหนดนโยบายของประเทศให้
ทัศนคติต่อการพัฒนาระบบรางว่า "ประเทศไทยไม่ใหญ่โตอะไร ไม่
จาเป็นต้องพัฒนาระบบรางมากมายเหมือนประเทศอื่น" หรือ "จะพัฒนา
อุตสาหกรรมทาไม มีคนอื่นผลิตขายเยอะแยะอยู่แล้ว อยากได้อะไรก็ซื้อเอา"
หรือ "จะมาวิจัยทาไมในเมื่อเทคโนโลยีรถไฟ ทาการวิจัยอยู่ที่ใดในโลกก็
สามารถยกเอามาใช้ได้เลย ความต่างเรื่องพื้นที่ไม่ใช่ปัญหา"
ทัศนคติดังนี้จึงอาจเป็นที่มาของกับดักรายได้ปานกลาง (Middle
Income Trap) ซึ่งประเทศไทยติดอยู่ตรงนี้มาเป็นเวลานานกว่าสิบปี
ทัศนคตินี้ทาให้ขาดความมุ่งมั่นที่จะสร้างงานที่มีรายได้ระดับสูง มองข้าม
ความสาคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมซึ่งเป็นกลไกหนึ่งที่จะ
เพิ่มการจ้างงานที่มีรายได้ระดับสูง
หากประเทศอิสราเอลซึ่งมีพื้นที่เพียง 20,770 ตร.กม. และเกาหลี
ซึ่งมีพื้นที่ 100,210 ตร.กม. ใช้หลักคิดดังกล่าวข้างต้นโดยเปรียบเทียบกับ
ประเทศไทยซึ่งมีพื้นที่ 514,000 ตร.กม. แล้ว อิสราเอล ก็คงไม่ต้องมีรถไฟใน
ประเทศ และเกาหลีก็คงไม่ต้องพัฒนารถไฟ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนา
เทคโนโลยีรถไฟ
นักเขียนชาวอังกฤษ Isabella Bird Bishop เขียนถึงเกาหลีที่เธอ
เห็นว่า "ตอนที่ฉันอยู่ที่ประเทศเกาหลี ฉันนึกสงสัยว่า พวกเขาเป็นชนชาติที่
ด้อยพัฒนาที่สุดในโลกหรือเปล่า สถานการณ์ของพวกเขาถือว่าไร้ซึ่ง
ความหวังแล้ว"
นายพล ดั๊กลาส แมกอาเธอร์ กล่าวไว้เมื่อสงครามเกาหลียุติลงว่า
"เป็นประเทศซึ่งไม่มีอนาคต ระยะเวลาร้อยปีคงไม่พอที่จะฟื้นฟูประเทศนี้
ขึ้นมาใหม่ได้"
หัวหน้าคณะผู้แทนพิเศษขององค์การสหประชาชาติ Vengalil
Menon กล่าวถึงประเทศเกลาหลีหลังสงครามว่า "ดอกกุหลาบจะผลิบาน
ออกมาจากกองขยะได้อย่างไร"
ตอนที่ได้รับอิสรภาพจากการถูกยึดครองโดยญี่ปุ่น ในปี 2488
รายได้เฉลี่ยต่อหัวของคนเกาหลีไม่ถึง 60 เหรียญ ในปีที่ ปาร์ค จุง ฮี ปฏิวัติ
ยึดอานาจการปกครอง (พ.ศ. 2504) รายได้ต่อหัวคนเกาหลี 79 เหรียญ
ขณะนั้นรายได้เฉลี่ยของคนไทย 260 เหรียญ คนฟิลิปปินส์ 170 เหรียญ ปี
2522 ซึ่ง ปาร์ค จุง ฮี เสียชีวิต รายได้เฉลี่ยคนเกาหลี 1,747 เหรียญ ปี 2530
การลุกขึ้นเรียกร้องประชาธิปไตยเป็นครั้งแรกหลังได้รับอิสรภาพ รายได้เฉลี่ย
คนเกาหลี 3,367 เหรียญ พ.ศ. 2540 วิกฤตต้มยากุ้ง รายได้เฉลี่ยคนเกาหลี
11,235 เหรียญ ปี 2556 รายได้เฉลี่ย 23,893 เหรียญ
สิ่งมหัศจรรย์เหล่านี้มิได้เกิดขึ้นได้เอง แต่เกิดจากการบริหาร
จัดการที่ยึดหลักคิดที่ผลประโยชน์ของชาติ ความโปร่งใสและสุจริตเป็นที่ตั้ง
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 131313 ประจำเดือน มิถุนำยน 255ประจำเดือน มิถุนำยน 255ประจำเดือน มิถุนำยน 255888
โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ
สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
Page | 1The Miracle of the Han River: From Despair to Hope
(and great success!)
บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :
กองบรรณาธิการ
ต่อคาถามถึงมุมมองเรื่องโอกาสและความท้าทายในการเป็น
ศูนย์กลางระบบขนส่งทางรางแห่งภูมิภาคอาเซียนของประเทศไทย
ดร.ชินยู ชอย จาก Korean Railroad Research Institute (KRRI) ได้
แสดงทัศนคติในสิ่งที่ประเทศไทยควรทาว่า
"1. ควรรับกำรถ่ำยทอดเทคโนโลยีจำกผู้ผลิตในปริมำณ
คนที่มำกพอเพื่อสำมำรถยืนได้ด้วยตัวเองในทุกๆ ด้ำน หลังจำกหมด
ระยะเวลำกำรรับประกันซึ่งผู้ผลิตกลับประเทศเขำไปแล้ว
2. ควรสร้ำงบุคลำกรในประเทศที่มีควำมรู้เรื่องระบบรำง
ชั้นสูง โดยสถำบันกำรศึกษำเพื่อเป็นรำกฐำนที่เข้มแข็งและเพิ่ม
ศักยภำพในกำรพัฒนำระบบรำงต่อไป
3. ควรมีระบบกำรบริหำรจัดกำรองค์ควำมรู้และทักษะ
โดยเก็บข้อมูลทั้งหมดไว้ที่เดียว อย่ำง เช่น ประเทศเกำหลีเก็บควำมรู้
เรื่องระบบรำงทั้งหมดไว้ที่สถำบันวิจัยเทคโนโลยีรถไฟเกำหลี (KRRI)
เพื่อง่ำยในกำรสืบค้น ตัวอย่ำงควำมสำเร็จที่เกิดขึ้นก็คือ ในระยะที่ 1
เกำหลียังไม่มีอะไรเลย ใช้ระยะเวลำดำเนินกำรก่อสร้ำงระบบ
รถไฟฟ้ำ 10 ปี เม็ดเงินลงทุน 1 แสนล้ำนวอน ระยะที่ 2 หลังจำก
รับกำรถ่ำยเทคโนโลยีในช่วงกำรดำเนินกำรระยะที่ 1 รวมทั้งวิจัย
และพัฒนำเทคโนโลยีด้วยตัวเอง สำมำรถก่อสร้ำงระบบรถไฟฟ้ำได้
เอง
4. ควรมียุทธศำสตร์ในกำรวิจัยและพัฒนำเพื่อส่งเสริม
กำรผลิตชิ้นส่วนภำยในประเทศด้ำนระบบรำงโดยมองไปที่ประเทศ
ในกลุ่มอำเซียนที่อยู่โดยรอบซึ่งหำกถึงที่สุดแล้วไม่สำมำรถเป็นไป
ตำมแผนที่วำงไว้ เรำก็สำมำรถปรับเปลี่ยนรูปแบบได้ ดีกว่ำไม่เริ่ม
วำงแผนในระยะยำวไว้เลย"
การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนา
“การเพิ่มมูลค่ายางธรรมชาติเพื่อใช้เป็ นชิ้นส่วนในระบบราง”
วันที่ 3 มิถุนำยน 2558 ณ ห้องโถงกระทรวงวิทยำศำสตร์ ฯ กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :
19 มิ.ย. 58 เวลา 9.00 - 15.00 น. ขอเชิญเข้าร่วม ประชุม
ระดมความคิด (ร่าง) ยุทธศาสตร์การวิจัยรายประเด็นด้านการ
ขนส่งระบบราง โดย สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ณ ห้อง
ไมดาส 1 โรงแรม ไมด้า ซิตี้ รีสอร์ท แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ สอบถามได้ที่
0-2561-2445 ต่อ 559
ทางรถไฟ 1 กิโลเมตร ต้องใช้หมอนรองรางประมาณ 1,500 ท่อน หมอนแต่ละท่อนมียางรองราง 2
ชิ้น จะต้องใช้ยางรองรางจานวนมากถึง 3,000 ชิ้น แต่ละชิ้นจะมีน้าหนักประมาณ 200 กรัม หากสามารถนา
ยางพารามาผลิตเป็นยางรองรางได้จะสนับสนุนการใช้ยางธรรมชาติได้ถึง 600 กิโลกรัม สาหรับทางเดี่ยวและ
1,200 กิโลกรัม สาหรับทางคู่ต่อระยะทาง 1 กิโลเมตร ซึ่งดูเหมือนจะไม่มากนักแต่หากพิจารณาแผนการ
ก่อสร้างเส้นทางรถไฟทั่วประเทศแล้วคาดว่าจะสามารถช่วยเพิ่มปริมาณการใช้ยางได้อีกนับหมื่นตัน จากต้น
ความคิดตรงนี้โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ จึงได้เริ่มประสานความ
ร่วมมือกับเครือข่าย คือนักวิจัยห้องปฏิบัติการยาง เอ็มเทคและผู้ผลิตชิ้นส่วนยาง เริ่มต้นศึกษาความเป็นไปได้
ในการพัฒนาสูตรน้ายางธรรมชาติให้มีคุณสมบัติเทียบเท่าและสามารถนามาใช้งานแทนยางสังเคราะห์ใน
ปัจจุบันจนเป็นที่มาของ พิธีลงนามความร่วมมือการเพิ่มมูลค่ายางธรรมชาติโดยการผลิตเป็นชิ้นส่วนใช้ในระบบ
ราง โดยเป็นความร่วมมือกันระหว่าง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) และ บริษัท
ไอ อาร์ ซี (เอเชีย) รีเสิร์ช จากัด เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2558 ที่ผ่านมา
กระบวนการผลิตยางรองรางจะเริ่มจากการ
พัฒนาสูตรน้ายาง การผสมและขึ้นรูปยางตามแบบที่
ต้องการเพื่อให้ได้คุณสมบัติสาหรับยางรองราง ได้แก่
สมบัติทางกล สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางไฟฟ้า และ
อื่นๆ โดยอ้างอิงมาตรฐานสากลของแผ่นยางรองราง และ
จะต้องคานึงถึงสภาวะอากาศที่จะส่งผลต่ออายุการใช้งาน
โดยเฉพาะโอโซนและความร้อนจากแสงแดดที่เป็น
อุปสรรคสาคัญของการนายางธรรมชาติมาผลิตเป็นยาง
รองรางที่ต้องใช้ภายใต้สภาวะที่ตากแดดตากฝนเป็น
เวลานานนับสิบปี
ปกิณกะ :ปกิณกะ :ปกิณกะ :
24 มิ.ย. 58 เวลา 13.00 – 16.30 น. ขอเชิญร่วมงานเสวนา
Monorail and Heavy rail ความเหมาะสมระบบขนส่ง
มวลชนในกรุงเทพมหานคร เสวนาโดย พล.อ.อ.ประจิน จั่น
ตอง รมว.กระทรวงคมนาคม ผู้แทนสวทช. สนข. และ รฟม. จัดโดย
คณะกรรมการนโยบายระบบราง วสท. ณ ห้องซาลอน เอ ชั้น 2 โรงแรม
สวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด สอบถามได้ที่ โทร : 0-2184-4600-9 ต่อ 530
14 ก.ค. 58 เวลา 8.30 – 12.00 น. ขอเชิญร่วมงานสัมมนาโครงการ
“การศึกษาและจัดทาดัชนีความเหมาะสมในการเดินเท้ารอบสถานีรถไฟฟ้า”
ครั้งที่ 2 โดย ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
จอมเกล้าพระนครเหนือ ณ ห้องประชุมมิ่งเมือง โรงแรม เดอะ ทวินทาวเวอร์ ติดต่อ
ลงทะเบียน ได้ที่ E-mail : walkability.index@gmail.com โทร : 0-2693-1661
24 มิ.ย. 58 เวลา 13.00 – 17.00 น. ขอเชิญร่วม
โครงการบรรยายพิเศษ “Urban Transportation
Problems, Systems and Solutions” จัดโดย คณะกรรมการนโยบายระบบราง
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ร่วมกับ Mitsubishi
Heavy Industries,Ltd. ณ ห้อง 1 ชั้น 6 อาคาร วสท. สอบถามและสารองที่นั่งได้
ที่ E-mail : pt3972@gmail.com โทร : 0-2184-4600-9 ต่อ 508
Page | 2
ยางรองรางหรือยางรองหมอนรถไฟ (Rail pads) เป็นวัสดุที่ใช้วางคั่นระหว่างรางกับหมอนรูป
สี่เหลี่ยมตามแบบของเครื่องยึดเหนี่ยวความหนาประมาณ 2-3 มม. ทาหน้าที่รองรับความสั่นสะเทือนและรับ
น้าหนักราง ป้องกันการแตกร้าวของหมอนจากการกระแทกระหว่างหมอนคอนกรีตกับรางเหล็ก รวมไปถึงทา
หน้าที่เป็นฉนวนไฟฟ้าระหว่างรางกับพื้นดินในกรณีที่เดินรถไฟฟ้าเพื่อป้องกันผลจากกระแสจรจัด (stray cur-
rent) และกระแสรั่วไหล (leak current) ที่จะส่งผลให้โลหะที่อยู่บริเวณเส้นทางรถไฟเกิดการกัดกร่อนเสียหาย
โครงการความร่วมมือการเพิ่มมูลค่ายาง
ธรรมชาติโดยการผลิตเป็นชิ้นส่วนใช้ในระบบราง ในครั้ง
นี้เป็นอีกก้าวแห่งความสาเร็จของ หลักสูตรการฝึกอบรม
โครงการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทาง
ราง (วศร.) ที่ได้นาเอาผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบรางใน
ภาคส่วนต่างๆ มาเข้าเรียนรู้เรื่องระบบรางด้วยกันเพื่อให้
เกิดการพัฒนาความรู้และเครือข่าย นาไปใช้ประโยชน์ต่อ
ยอด เพื่อให้ประเทศไทยสำมำรถพัฒนำระบบขนส่งทำง
รำงได้อย่ำงมั่นคงและยั่งยืน
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
Railway Technical Research Institute (RTRI), Japan เยือน สมอ.
27 พ.ค. 58 เวลา 13.30 – 15.00 น. Dr. Yutaka SATO, Gen-
eral Manager, Railway International Standards Center
(RISC), Railway Technical Research Institute (RTRI),
Japan Railway เดินทางเยือนประเทศไทย โดยเข้าร่วมหารือ
เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลทางด้านมาตรฐาน กับผู้แทนสานักงาน
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
Railway Technical Research Institute (RTRI), Japan เยี่ยมชม สวทช.
28 พ.ค. 58 Dr. Yutaka SATO, General Manager, Railway Inter-
national Standards Center (RISC), Railway Technical Research
Institute (RTRI), Japan Railway พร้อมคณะ เดินทางเยี่ยมชม
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) และ
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) สานักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (NSTDA) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี ในการนี้
Dr. Yutaka SATO ได้เข้าร่วมประชุมเพื่อแนะนา RISC และบรรยายในหัวข้อ “Recent Status of Inter-
national Standardization in Railway Field” โดยมีเจ้าหน้าที่โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยี
ระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ผู้แทนสมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย (วศรท.) ผู้แทนและนักวิจัย
จาก MTEC NECTEC และ ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (PTEC) เข้าร่วม
Page | 3
สัมมนำ“โครงกำรพัฒนำระบบซ่อมบำรุงและปฏิบัติกำร
ขนส่งทำงรำงแบบรวม”
22 พ.ค. 58 การสัมมนา
ทางวิชาการ “โครงการ
พัฒนาระบบซ่อมบารุง
และปฏิบัติการขนส่ง
ท า ง ร า ง แ บ บ ร ว ม
(Development of Integrated Maintenance and
Operations Control System of Rail Transporta-
tion)” ณ ห้องฟอร์จูน โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน
กรุงเทพฯ โดยสถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ได้รับอนุมัติโครงการวิจัย จากสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ซึ่งสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(สวทช.) เป็นผู้บริหารโครงการ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
แนวทางการพัฒนาระบบซ่อมบารุงรวมสาหรับระบบ
รถไฟฟ้าสายต่างๆ ที่อาจสามารถใช้อุปกรณ์ หรือทรัพยากร
ต่างๆ ร่วมกันได้ ภายในงานสัมมนาได้แบ่งออกเป็น 2 ภาค
โดยภาคเช้าเป็นการบรรยายสรุปเพื่อทาความเข้าใจกับ
แนวความคิด และภาคบ่ายเป็นการสัมมนาเฉพาะกลุ่ม
โดยเน้นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องระดับเทคนิค
ประชุมคณะทำงำนยุทธศำสตร์กำรวิจัยด้ำนระบบขนส่ง
ทำงรำง
15 พ.ค. 58 เวลา 9.30 -
12.00 น. การประชุม
คณะทางานจัดการ
ยุทธศาสตร์การวิจัยราย
ประเด็นด้านระบบขนส่ง
ทางราง ครั้งที่ 2/2558 ณ ห้องประชุม ศ.สัญญา ธรรมศักดิ์
ชั้น 2 อาคาร วช.2 สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ประชุมคณะทำงำน Teaching Platform
3 มิ.ย. 58 เวลา 10.00-12.00 น. การประชุมคณะทางานจัดตั้ง
ศูนย์ปฏิบัติการงานวิจัยสาหรับระบบรถไฟ ณ ห้องประชุม YT-720
อาคารวิจัยโยธี สวทช. ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ เพื่อพิจารณา
ข้อเสนอโครงการวิจัย การออกแบบและพัฒนาระบบจาลองเสมือนจริง
สาหรับการศึกษาและการวิจัยระบบรถไฟฟ้าความเร็วสูง (Design and
Development of Teaching Platform of Operation Organization and Control for High-Speed
Railway) โดย สาขาวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า
คุณทหารลาดกระบัง และ ข้อเสนอโครงการ Driving Simulator หัวหน้าโครงการ รศ.ดร.สุเทพ บุตรดี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
รับฟังควำมคิดเห็นระบบขนส่งมวลชน
23 พ.ค. 58 การนาเสนอ
ผลการศึกษาและรับฟัง
ความคิดเห็นของผู้มีส่วน
ได้เสีย ต่อโ ครงก า ร
ศึกษาวิจัยความเหมาะสม
และออกแบบรายละเอียดระบบขนส่งมวลชน เชียงใหม่
ลาพูนและลาปาง ครั้งที่ 2 ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก
สานักงานพัฒนาพิงคนคร (องค์การมหาชน)
พิธีลงนำม MOU “กำรเพิ่มมูลค่ำยำงธรรมชำติเพื่อใช้เป็นชิ้นส่วนในระบบรำง”
3 มิ.ย. 58 เวลา 10.00 - 12.00 น. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความ
ร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนา “การเพิ่มมูลค่ายางธรรมชาติเพื่อใช้เป็น
ชิ้นส่วนในระบบราง” ณ ห้องโถงกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นความร่วมมือระหว่าง
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย หน่วยวิจัยเฉพาะทางด้านยาง
ธรรมชาติ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ (สวทช.) และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ร่วมกับ บริษัท
ไอ อาร์ ซี (เอเชีย) รีเสิร์ช จากัด ซึ่งเป็นบริษัทวิจัยในเครือ บริษัท อีโนเว รับเบอร์ (ประเทศไทย) จากัด
(มหาชน)
ที่ปรึกษำ : ดร.ชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล
กองบรรณำธิกำร : คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทปกร เหมือนเตย คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล
ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ
ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech
กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์
เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :
ประชุมแนวทำงกำรติดตำมโครงกำรวิจัย
9 มิ.ย. 58 เวลา 9.00 – 12.00 น. การประชุมแนวทางการ
ติดตามโครงการวิจัย ประจาปีงบประมาณ 2557 ณ ห้อง 720
ชั้น 7 อาคารโยธี โดยเป็นการประชุมร่วมกับหัวหน้า
โครงการวิจัยเพื่อหารือข้อตกลง ในแนวทางติดตาม
โครงการวิจัย
ประชุมศึกษำกำรเชื่อมโยงระบบขนส่งทำงรำง
10 มิ.ย. 58 คุณนคร จันทศร ที่ปรึกษาผู้อานวยการ สวทช. ได้รับเชิญ
เข้าร่วมประชุมกับคณะอนุกรรมาธิการปฏิรูปโครงสร้างพื้นฐานและ
โลจิสติกส์ สภาปฏิรูปแห่งชาติ ในการประชุมเพื่อพิจารณาศึกษาการ
เชื่อมโยงระบบคมนาคมขนส่งทางรางสู่ท่าเรือชายฝั่ง ท่าเรือน้าลึก
เขตเศรษฐกิจพิเศษ และประเทศเพื่อนบ้าน ณ อาคารรัฐสภา 2
แถลงข่ำว Thailand Railway Academy Symposium
(TRAS-2)
4 มิ.ย. 58 เวลา 13:30-
15:30 น. งานแถลงข่าว
ใ ห้ กั บ สื่ อ ม ว ล ช น เ พื่ อ
ประชาสัมพันธ์ งานประชุม
วิชาการระบบขนส่งทางราง
ครั้งที่ 2 ปี พ.ศ. 2558 (Thailand Railway Academy
Symposium TRAS-2) ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่าง 26-28 ส.ค. 58 ที่
โรงแรมท็อปแลนด์ จ.พิษณุโลก โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) มหาวิทยาลัยนเรศวร Korean
Railroad Research Institute (KRRI) แ ล ะ National
Research Council of Science & Technology
ประชุมคณะทำงำนโครงกำรศูนย์วิจัยร่วมไทย-จีน
4 มิ.ย. 58 เวลา 10.00 –
12.00 น. การประชุม
คณะทางานโครงการ
ศูนย์วิจัยร่วมไทย-จีนด้าน
ระบบราง ภายใต้กรอบ
Science and Technology Partnership Program ครั้งที่
1/2558 ณ ห้องประชุมชั้น 3 อาคารพระจอมเกล้า
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
International Symposium on Railway System
9 - 10 มิ.ย. 58 เวลา 9.00 -
16.00 น. International
Symposium on Railway
System ISRS 2014/2016
- Workshop 1 Faculty of
Engineering, Chulalongkorn University, Bangkok, Thai-
land Sponsor: IEEE Thailand Section ผู้เชี่ยวชาญจาก
ประเทศญี่ปุ่นและไทยมาบรรยายเกี่ยวกับการซ่อมบารุง
รถไฟฟ้า โดยเชิญมาบรรยายครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน คือ Track
work, Rolling stock, Electric Power Supply และ Signal-
ing และมีช่วง Panel discussion ในตอนสุดท้ายของแต่ละวัน
เพื่อพูดคุยถึงปัญหา แลกเปลี่ยนประสบการณ์ต่างๆใน 4 ด้านที่
กล่าวมา โดย Workshop นี้เป็นกิจกรรมต่อเนื่องจากการ
ประชุม ISRS 2014
Page | 4
ประธำนรุ่น วศร.5
คุณดิสพล ผดุงกุล
ได้รับความไว้วางใจจากเพื่อนๆ วศร.รุ่นที่ 5 ให้ทาหน้าที่เป็น ประธำนรุ่น วศร.5
ปัจจุบันท่านดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการใหญ่ บริษัท นิวเรลโรดเทคโนโลยี จากัด
บริษัท เรืองณรงค์ จากัด บริษัท ทรานส์ ไทย เรลเวย์ จากัด
ประวัติการศึกษา :
มัธยมศึกษา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
ปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
สมำคมวิศวกรรมระบบขนส่งทำงรำงไทย (วศรท.)
ได้เปิดรับสมัครสมาชิกสามัญ ซึ่งมาจากบุคคลที่จบจากหลักสูตรการฝึกอบรม
โครงการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง (วศร.) ทั้ง 4 รุ่นที่
ผ่านมา ปัจจุบันมีผู้สมัครเป็นสมาชิกสามัญแล้วทั้งสิ้น 48 คน
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างเครือข่าย ส่งเสริม สนับสนุน และเป็นที่เผยแพร่
ความรู้ทางด้านวิชาการด้านระบบขนส่งทางราง
สัมมนำวิชำกำร กำรศึกษำกำรเดินเท้ำรอบสถำนีรถไฟฟ้ำ
11 มิ.ย. 58 เวลา 8.30 – 12.30 น. งานสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง
การศึกษาและจัดทาดัชนีความเหมาะสม ในการเดินเท้ารอบสถานี
รถไฟฟ้า โดย ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ณ ห้องบารุง
เมือง ชั้น 4 โรงแรม เดอะ ทวินทาวเวอร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ
รายงานผลการศึกษาดัชนีเดินเท้ารอบสถานีรถไฟฟ้า

More Related Content

Viewers also liked

Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)
ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)
ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Viewers also liked (7)

NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014
 
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
 
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
 
Embedded android development (e book)
Embedded android development (e book)Embedded android development (e book)
Embedded android development (e book)
 
ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)
ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)
ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
 

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 13

  • 1. เคยได้ยินนักวิชาการในระดับกาหนดนโยบายของประเทศให้ ทัศนคติต่อการพัฒนาระบบรางว่า "ประเทศไทยไม่ใหญ่โตอะไร ไม่ จาเป็นต้องพัฒนาระบบรางมากมายเหมือนประเทศอื่น" หรือ "จะพัฒนา อุตสาหกรรมทาไม มีคนอื่นผลิตขายเยอะแยะอยู่แล้ว อยากได้อะไรก็ซื้อเอา" หรือ "จะมาวิจัยทาไมในเมื่อเทคโนโลยีรถไฟ ทาการวิจัยอยู่ที่ใดในโลกก็ สามารถยกเอามาใช้ได้เลย ความต่างเรื่องพื้นที่ไม่ใช่ปัญหา" ทัศนคติดังนี้จึงอาจเป็นที่มาของกับดักรายได้ปานกลาง (Middle Income Trap) ซึ่งประเทศไทยติดอยู่ตรงนี้มาเป็นเวลานานกว่าสิบปี ทัศนคตินี้ทาให้ขาดความมุ่งมั่นที่จะสร้างงานที่มีรายได้ระดับสูง มองข้าม ความสาคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมซึ่งเป็นกลไกหนึ่งที่จะ เพิ่มการจ้างงานที่มีรายได้ระดับสูง หากประเทศอิสราเอลซึ่งมีพื้นที่เพียง 20,770 ตร.กม. และเกาหลี ซึ่งมีพื้นที่ 100,210 ตร.กม. ใช้หลักคิดดังกล่าวข้างต้นโดยเปรียบเทียบกับ ประเทศไทยซึ่งมีพื้นที่ 514,000 ตร.กม. แล้ว อิสราเอล ก็คงไม่ต้องมีรถไฟใน ประเทศ และเกาหลีก็คงไม่ต้องพัฒนารถไฟ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนา เทคโนโลยีรถไฟ นักเขียนชาวอังกฤษ Isabella Bird Bishop เขียนถึงเกาหลีที่เธอ เห็นว่า "ตอนที่ฉันอยู่ที่ประเทศเกาหลี ฉันนึกสงสัยว่า พวกเขาเป็นชนชาติที่ ด้อยพัฒนาที่สุดในโลกหรือเปล่า สถานการณ์ของพวกเขาถือว่าไร้ซึ่ง ความหวังแล้ว" นายพล ดั๊กลาส แมกอาเธอร์ กล่าวไว้เมื่อสงครามเกาหลียุติลงว่า "เป็นประเทศซึ่งไม่มีอนาคต ระยะเวลาร้อยปีคงไม่พอที่จะฟื้นฟูประเทศนี้ ขึ้นมาใหม่ได้" หัวหน้าคณะผู้แทนพิเศษขององค์การสหประชาชาติ Vengalil Menon กล่าวถึงประเทศเกลาหลีหลังสงครามว่า "ดอกกุหลาบจะผลิบาน ออกมาจากกองขยะได้อย่างไร" ตอนที่ได้รับอิสรภาพจากการถูกยึดครองโดยญี่ปุ่น ในปี 2488 รายได้เฉลี่ยต่อหัวของคนเกาหลีไม่ถึง 60 เหรียญ ในปีที่ ปาร์ค จุง ฮี ปฏิวัติ ยึดอานาจการปกครอง (พ.ศ. 2504) รายได้ต่อหัวคนเกาหลี 79 เหรียญ ขณะนั้นรายได้เฉลี่ยของคนไทย 260 เหรียญ คนฟิลิปปินส์ 170 เหรียญ ปี 2522 ซึ่ง ปาร์ค จุง ฮี เสียชีวิต รายได้เฉลี่ยคนเกาหลี 1,747 เหรียญ ปี 2530 การลุกขึ้นเรียกร้องประชาธิปไตยเป็นครั้งแรกหลังได้รับอิสรภาพ รายได้เฉลี่ย คนเกาหลี 3,367 เหรียญ พ.ศ. 2540 วิกฤตต้มยากุ้ง รายได้เฉลี่ยคนเกาหลี 11,235 เหรียญ ปี 2556 รายได้เฉลี่ย 23,893 เหรียญ สิ่งมหัศจรรย์เหล่านี้มิได้เกิดขึ้นได้เอง แต่เกิดจากการบริหาร จัดการที่ยึดหลักคิดที่ผลประโยชน์ของชาติ ความโปร่งใสและสุจริตเป็นที่ตั้ง EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 131313 ประจำเดือน มิถุนำยน 255ประจำเดือน มิถุนำยน 255ประจำเดือน มิถุนำยน 255888 โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency Page | 1The Miracle of the Han River: From Despair to Hope (and great success!) บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ ต่อคาถามถึงมุมมองเรื่องโอกาสและความท้าทายในการเป็น ศูนย์กลางระบบขนส่งทางรางแห่งภูมิภาคอาเซียนของประเทศไทย ดร.ชินยู ชอย จาก Korean Railroad Research Institute (KRRI) ได้ แสดงทัศนคติในสิ่งที่ประเทศไทยควรทาว่า "1. ควรรับกำรถ่ำยทอดเทคโนโลยีจำกผู้ผลิตในปริมำณ คนที่มำกพอเพื่อสำมำรถยืนได้ด้วยตัวเองในทุกๆ ด้ำน หลังจำกหมด ระยะเวลำกำรรับประกันซึ่งผู้ผลิตกลับประเทศเขำไปแล้ว 2. ควรสร้ำงบุคลำกรในประเทศที่มีควำมรู้เรื่องระบบรำง ชั้นสูง โดยสถำบันกำรศึกษำเพื่อเป็นรำกฐำนที่เข้มแข็งและเพิ่ม ศักยภำพในกำรพัฒนำระบบรำงต่อไป 3. ควรมีระบบกำรบริหำรจัดกำรองค์ควำมรู้และทักษะ โดยเก็บข้อมูลทั้งหมดไว้ที่เดียว อย่ำง เช่น ประเทศเกำหลีเก็บควำมรู้ เรื่องระบบรำงทั้งหมดไว้ที่สถำบันวิจัยเทคโนโลยีรถไฟเกำหลี (KRRI) เพื่อง่ำยในกำรสืบค้น ตัวอย่ำงควำมสำเร็จที่เกิดขึ้นก็คือ ในระยะที่ 1 เกำหลียังไม่มีอะไรเลย ใช้ระยะเวลำดำเนินกำรก่อสร้ำงระบบ รถไฟฟ้ำ 10 ปี เม็ดเงินลงทุน 1 แสนล้ำนวอน ระยะที่ 2 หลังจำก รับกำรถ่ำยเทคโนโลยีในช่วงกำรดำเนินกำรระยะที่ 1 รวมทั้งวิจัย และพัฒนำเทคโนโลยีด้วยตัวเอง สำมำรถก่อสร้ำงระบบรถไฟฟ้ำได้ เอง 4. ควรมียุทธศำสตร์ในกำรวิจัยและพัฒนำเพื่อส่งเสริม กำรผลิตชิ้นส่วนภำยในประเทศด้ำนระบบรำงโดยมองไปที่ประเทศ ในกลุ่มอำเซียนที่อยู่โดยรอบซึ่งหำกถึงที่สุดแล้วไม่สำมำรถเป็นไป ตำมแผนที่วำงไว้ เรำก็สำมำรถปรับเปลี่ยนรูปแบบได้ ดีกว่ำไม่เริ่ม วำงแผนในระยะยำวไว้เลย"
  • 2. การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนา “การเพิ่มมูลค่ายางธรรมชาติเพื่อใช้เป็ นชิ้นส่วนในระบบราง” วันที่ 3 มิถุนำยน 2558 ณ ห้องโถงกระทรวงวิทยำศำสตร์ ฯ กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง : 19 มิ.ย. 58 เวลา 9.00 - 15.00 น. ขอเชิญเข้าร่วม ประชุม ระดมความคิด (ร่าง) ยุทธศาสตร์การวิจัยรายประเด็นด้านการ ขนส่งระบบราง โดย สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ณ ห้อง ไมดาส 1 โรงแรม ไมด้า ซิตี้ รีสอร์ท แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ สอบถามได้ที่ 0-2561-2445 ต่อ 559 ทางรถไฟ 1 กิโลเมตร ต้องใช้หมอนรองรางประมาณ 1,500 ท่อน หมอนแต่ละท่อนมียางรองราง 2 ชิ้น จะต้องใช้ยางรองรางจานวนมากถึง 3,000 ชิ้น แต่ละชิ้นจะมีน้าหนักประมาณ 200 กรัม หากสามารถนา ยางพารามาผลิตเป็นยางรองรางได้จะสนับสนุนการใช้ยางธรรมชาติได้ถึง 600 กิโลกรัม สาหรับทางเดี่ยวและ 1,200 กิโลกรัม สาหรับทางคู่ต่อระยะทาง 1 กิโลเมตร ซึ่งดูเหมือนจะไม่มากนักแต่หากพิจารณาแผนการ ก่อสร้างเส้นทางรถไฟทั่วประเทศแล้วคาดว่าจะสามารถช่วยเพิ่มปริมาณการใช้ยางได้อีกนับหมื่นตัน จากต้น ความคิดตรงนี้โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ จึงได้เริ่มประสานความ ร่วมมือกับเครือข่าย คือนักวิจัยห้องปฏิบัติการยาง เอ็มเทคและผู้ผลิตชิ้นส่วนยาง เริ่มต้นศึกษาความเป็นไปได้ ในการพัฒนาสูตรน้ายางธรรมชาติให้มีคุณสมบัติเทียบเท่าและสามารถนามาใช้งานแทนยางสังเคราะห์ใน ปัจจุบันจนเป็นที่มาของ พิธีลงนามความร่วมมือการเพิ่มมูลค่ายางธรรมชาติโดยการผลิตเป็นชิ้นส่วนใช้ในระบบ ราง โดยเป็นความร่วมมือกันระหว่าง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) และ บริษัท ไอ อาร์ ซี (เอเชีย) รีเสิร์ช จากัด เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2558 ที่ผ่านมา กระบวนการผลิตยางรองรางจะเริ่มจากการ พัฒนาสูตรน้ายาง การผสมและขึ้นรูปยางตามแบบที่ ต้องการเพื่อให้ได้คุณสมบัติสาหรับยางรองราง ได้แก่ สมบัติทางกล สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางไฟฟ้า และ อื่นๆ โดยอ้างอิงมาตรฐานสากลของแผ่นยางรองราง และ จะต้องคานึงถึงสภาวะอากาศที่จะส่งผลต่ออายุการใช้งาน โดยเฉพาะโอโซนและความร้อนจากแสงแดดที่เป็น อุปสรรคสาคัญของการนายางธรรมชาติมาผลิตเป็นยาง รองรางที่ต้องใช้ภายใต้สภาวะที่ตากแดดตากฝนเป็น เวลานานนับสิบปี ปกิณกะ :ปกิณกะ :ปกิณกะ : 24 มิ.ย. 58 เวลา 13.00 – 16.30 น. ขอเชิญร่วมงานเสวนา Monorail and Heavy rail ความเหมาะสมระบบขนส่ง มวลชนในกรุงเทพมหานคร เสวนาโดย พล.อ.อ.ประจิน จั่น ตอง รมว.กระทรวงคมนาคม ผู้แทนสวทช. สนข. และ รฟม. จัดโดย คณะกรรมการนโยบายระบบราง วสท. ณ ห้องซาลอน เอ ชั้น 2 โรงแรม สวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด สอบถามได้ที่ โทร : 0-2184-4600-9 ต่อ 530 14 ก.ค. 58 เวลา 8.30 – 12.00 น. ขอเชิญร่วมงานสัมมนาโครงการ “การศึกษาและจัดทาดัชนีความเหมาะสมในการเดินเท้ารอบสถานีรถไฟฟ้า” ครั้งที่ 2 โดย ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าพระนครเหนือ ณ ห้องประชุมมิ่งเมือง โรงแรม เดอะ ทวินทาวเวอร์ ติดต่อ ลงทะเบียน ได้ที่ E-mail : walkability.index@gmail.com โทร : 0-2693-1661 24 มิ.ย. 58 เวลา 13.00 – 17.00 น. ขอเชิญร่วม โครงการบรรยายพิเศษ “Urban Transportation Problems, Systems and Solutions” จัดโดย คณะกรรมการนโยบายระบบราง วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ร่วมกับ Mitsubishi Heavy Industries,Ltd. ณ ห้อง 1 ชั้น 6 อาคาร วสท. สอบถามและสารองที่นั่งได้ ที่ E-mail : pt3972@gmail.com โทร : 0-2184-4600-9 ต่อ 508 Page | 2 ยางรองรางหรือยางรองหมอนรถไฟ (Rail pads) เป็นวัสดุที่ใช้วางคั่นระหว่างรางกับหมอนรูป สี่เหลี่ยมตามแบบของเครื่องยึดเหนี่ยวความหนาประมาณ 2-3 มม. ทาหน้าที่รองรับความสั่นสะเทือนและรับ น้าหนักราง ป้องกันการแตกร้าวของหมอนจากการกระแทกระหว่างหมอนคอนกรีตกับรางเหล็ก รวมไปถึงทา หน้าที่เป็นฉนวนไฟฟ้าระหว่างรางกับพื้นดินในกรณีที่เดินรถไฟฟ้าเพื่อป้องกันผลจากกระแสจรจัด (stray cur- rent) และกระแสรั่วไหล (leak current) ที่จะส่งผลให้โลหะที่อยู่บริเวณเส้นทางรถไฟเกิดการกัดกร่อนเสียหาย โครงการความร่วมมือการเพิ่มมูลค่ายาง ธรรมชาติโดยการผลิตเป็นชิ้นส่วนใช้ในระบบราง ในครั้ง นี้เป็นอีกก้าวแห่งความสาเร็จของ หลักสูตรการฝึกอบรม โครงการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทาง ราง (วศร.) ที่ได้นาเอาผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบรางใน ภาคส่วนต่างๆ มาเข้าเรียนรู้เรื่องระบบรางด้วยกันเพื่อให้ เกิดการพัฒนาความรู้และเครือข่าย นาไปใช้ประโยชน์ต่อ ยอด เพื่อให้ประเทศไทยสำมำรถพัฒนำระบบขนส่งทำง รำงได้อย่ำงมั่นคงและยั่งยืน
  • 3. กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency Railway Technical Research Institute (RTRI), Japan เยือน สมอ. 27 พ.ค. 58 เวลา 13.30 – 15.00 น. Dr. Yutaka SATO, Gen- eral Manager, Railway International Standards Center (RISC), Railway Technical Research Institute (RTRI), Japan Railway เดินทางเยือนประเทศไทย โดยเข้าร่วมหารือ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลทางด้านมาตรฐาน กับผู้แทนสานักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) Railway Technical Research Institute (RTRI), Japan เยี่ยมชม สวทช. 28 พ.ค. 58 Dr. Yutaka SATO, General Manager, Railway Inter- national Standards Center (RISC), Railway Technical Research Institute (RTRI), Japan Railway พร้อมคณะ เดินทางเยี่ยมชม ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) และ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) สานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (NSTDA) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี ในการนี้ Dr. Yutaka SATO ได้เข้าร่วมประชุมเพื่อแนะนา RISC และบรรยายในหัวข้อ “Recent Status of Inter- national Standardization in Railway Field” โดยมีเจ้าหน้าที่โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยี ระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ผู้แทนสมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย (วศรท.) ผู้แทนและนักวิจัย จาก MTEC NECTEC และ ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (PTEC) เข้าร่วม Page | 3 สัมมนำ“โครงกำรพัฒนำระบบซ่อมบำรุงและปฏิบัติกำร ขนส่งทำงรำงแบบรวม” 22 พ.ค. 58 การสัมมนา ทางวิชาการ “โครงการ พัฒนาระบบซ่อมบารุง และปฏิบัติการขนส่ง ท า ง ร า ง แ บ บ ร ว ม (Development of Integrated Maintenance and Operations Control System of Rail Transporta- tion)” ณ ห้องฟอร์จูน โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพฯ โดยสถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับอนุมัติโครงการวิจัย จากสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.) ซึ่งสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นผู้บริหารโครงการ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา แนวทางการพัฒนาระบบซ่อมบารุงรวมสาหรับระบบ รถไฟฟ้าสายต่างๆ ที่อาจสามารถใช้อุปกรณ์ หรือทรัพยากร ต่างๆ ร่วมกันได้ ภายในงานสัมมนาได้แบ่งออกเป็น 2 ภาค โดยภาคเช้าเป็นการบรรยายสรุปเพื่อทาความเข้าใจกับ แนวความคิด และภาคบ่ายเป็นการสัมมนาเฉพาะกลุ่ม โดยเน้นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องระดับเทคนิค ประชุมคณะทำงำนยุทธศำสตร์กำรวิจัยด้ำนระบบขนส่ง ทำงรำง 15 พ.ค. 58 เวลา 9.30 - 12.00 น. การประชุม คณะทางานจัดการ ยุทธศาสตร์การวิจัยราย ประเด็นด้านระบบขนส่ง ทางราง ครั้งที่ 2/2558 ณ ห้องประชุม ศ.สัญญา ธรรมศักดิ์ ชั้น 2 อาคาร วช.2 สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประชุมคณะทำงำน Teaching Platform 3 มิ.ย. 58 เวลา 10.00-12.00 น. การประชุมคณะทางานจัดตั้ง ศูนย์ปฏิบัติการงานวิจัยสาหรับระบบรถไฟ ณ ห้องประชุม YT-720 อาคารวิจัยโยธี สวทช. ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ เพื่อพิจารณา ข้อเสนอโครงการวิจัย การออกแบบและพัฒนาระบบจาลองเสมือนจริง สาหรับการศึกษาและการวิจัยระบบรถไฟฟ้าความเร็วสูง (Design and Development of Teaching Platform of Operation Organization and Control for High-Speed Railway) โดย สาขาวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คุณทหารลาดกระบัง และ ข้อเสนอโครงการ Driving Simulator หัวหน้าโครงการ รศ.ดร.สุเทพ บุตรดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ รับฟังควำมคิดเห็นระบบขนส่งมวลชน 23 พ.ค. 58 การนาเสนอ ผลการศึกษาและรับฟัง ความคิดเห็นของผู้มีส่วน ได้เสีย ต่อโ ครงก า ร ศึกษาวิจัยความเหมาะสม และออกแบบรายละเอียดระบบขนส่งมวลชน เชียงใหม่ ลาพูนและลาปาง ครั้งที่ 2 ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก สานักงานพัฒนาพิงคนคร (องค์การมหาชน) พิธีลงนำม MOU “กำรเพิ่มมูลค่ำยำงธรรมชำติเพื่อใช้เป็นชิ้นส่วนในระบบรำง” 3 มิ.ย. 58 เวลา 10.00 - 12.00 น. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนา “การเพิ่มมูลค่ายางธรรมชาติเพื่อใช้เป็น ชิ้นส่วนในระบบราง” ณ ห้องโถงกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นความร่วมมือระหว่าง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย หน่วยวิจัยเฉพาะทางด้านยาง ธรรมชาติ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ร่วมกับ บริษัท ไอ อาร์ ซี (เอเชีย) รีเสิร์ช จากัด ซึ่งเป็นบริษัทวิจัยในเครือ บริษัท อีโนเว รับเบอร์ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน)
  • 4. ที่ปรึกษำ : ดร.ชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล กองบรรณำธิกำร : คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทปกร เหมือนเตย คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง : ประชุมแนวทำงกำรติดตำมโครงกำรวิจัย 9 มิ.ย. 58 เวลา 9.00 – 12.00 น. การประชุมแนวทางการ ติดตามโครงการวิจัย ประจาปีงบประมาณ 2557 ณ ห้อง 720 ชั้น 7 อาคารโยธี โดยเป็นการประชุมร่วมกับหัวหน้า โครงการวิจัยเพื่อหารือข้อตกลง ในแนวทางติดตาม โครงการวิจัย ประชุมศึกษำกำรเชื่อมโยงระบบขนส่งทำงรำง 10 มิ.ย. 58 คุณนคร จันทศร ที่ปรึกษาผู้อานวยการ สวทช. ได้รับเชิญ เข้าร่วมประชุมกับคณะอนุกรรมาธิการปฏิรูปโครงสร้างพื้นฐานและ โลจิสติกส์ สภาปฏิรูปแห่งชาติ ในการประชุมเพื่อพิจารณาศึกษาการ เชื่อมโยงระบบคมนาคมขนส่งทางรางสู่ท่าเรือชายฝั่ง ท่าเรือน้าลึก เขตเศรษฐกิจพิเศษ และประเทศเพื่อนบ้าน ณ อาคารรัฐสภา 2 แถลงข่ำว Thailand Railway Academy Symposium (TRAS-2) 4 มิ.ย. 58 เวลา 13:30- 15:30 น. งานแถลงข่าว ใ ห้ กั บ สื่ อ ม ว ล ช น เ พื่ อ ประชาสัมพันธ์ งานประชุม วิชาการระบบขนส่งทางราง ครั้งที่ 2 ปี พ.ศ. 2558 (Thailand Railway Academy Symposium TRAS-2) ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่าง 26-28 ส.ค. 58 ที่ โรงแรมท็อปแลนด์ จ.พิษณุโลก โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) มหาวิทยาลัยนเรศวร Korean Railroad Research Institute (KRRI) แ ล ะ National Research Council of Science & Technology ประชุมคณะทำงำนโครงกำรศูนย์วิจัยร่วมไทย-จีน 4 มิ.ย. 58 เวลา 10.00 – 12.00 น. การประชุม คณะทางานโครงการ ศูนย์วิจัยร่วมไทย-จีนด้าน ระบบราง ภายใต้กรอบ Science and Technology Partnership Program ครั้งที่ 1/2558 ณ ห้องประชุมชั้น 3 อาคารพระจอมเกล้า กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี International Symposium on Railway System 9 - 10 มิ.ย. 58 เวลา 9.00 - 16.00 น. International Symposium on Railway System ISRS 2014/2016 - Workshop 1 Faculty of Engineering, Chulalongkorn University, Bangkok, Thai- land Sponsor: IEEE Thailand Section ผู้เชี่ยวชาญจาก ประเทศญี่ปุ่นและไทยมาบรรยายเกี่ยวกับการซ่อมบารุง รถไฟฟ้า โดยเชิญมาบรรยายครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน คือ Track work, Rolling stock, Electric Power Supply และ Signal- ing และมีช่วง Panel discussion ในตอนสุดท้ายของแต่ละวัน เพื่อพูดคุยถึงปัญหา แลกเปลี่ยนประสบการณ์ต่างๆใน 4 ด้านที่ กล่าวมา โดย Workshop นี้เป็นกิจกรรมต่อเนื่องจากการ ประชุม ISRS 2014 Page | 4 ประธำนรุ่น วศร.5 คุณดิสพล ผดุงกุล ได้รับความไว้วางใจจากเพื่อนๆ วศร.รุ่นที่ 5 ให้ทาหน้าที่เป็น ประธำนรุ่น วศร.5 ปัจจุบันท่านดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการใหญ่ บริษัท นิวเรลโรดเทคโนโลยี จากัด บริษัท เรืองณรงค์ จากัด บริษัท ทรานส์ ไทย เรลเวย์ จากัด ประวัติการศึกษา : มัธยมศึกษา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สมำคมวิศวกรรมระบบขนส่งทำงรำงไทย (วศรท.) ได้เปิดรับสมัครสมาชิกสามัญ ซึ่งมาจากบุคคลที่จบจากหลักสูตรการฝึกอบรม โครงการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง (วศร.) ทั้ง 4 รุ่นที่ ผ่านมา ปัจจุบันมีผู้สมัครเป็นสมาชิกสามัญแล้วทั้งสิ้น 48 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างเครือข่าย ส่งเสริม สนับสนุน และเป็นที่เผยแพร่ ความรู้ทางด้านวิชาการด้านระบบขนส่งทางราง สัมมนำวิชำกำร กำรศึกษำกำรเดินเท้ำรอบสถำนีรถไฟฟ้ำ 11 มิ.ย. 58 เวลา 8.30 – 12.30 น. งานสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การศึกษาและจัดทาดัชนีความเหมาะสม ในการเดินเท้ารอบสถานี รถไฟฟ้า โดย ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ณ ห้องบารุง เมือง ชั้น 4 โรงแรม เดอะ ทวินทาวเวอร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ รายงานผลการศึกษาดัชนีเดินเท้ารอบสถานีรถไฟฟ้า