SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
IHRA หรือในชื่อเต็มภาษาอังกฤษว่า
International High Speed Rail
Association เป็นสมาคมที่จัดตั้งขึ้น
เมื่อปี 2554 เนื่องในโอกาสครบรอบ
50 ปี แห่งความสาเร็จของรถไฟความเร็วสูง “ชินกังเซน” ซึ่งไม่มีผู้โดยสาร
บาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากอุบัติเหตุเลย สาหรับผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมก็
ประกอบด้วย บริษัทผู้ประกอบการเดินรถไฟความเร็วสูง 4 บริษัท และ
บริษัทที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมรถไฟอีก 25 บริษัท
วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งสมาคมก็เพื่อเผยแพร่แนวคิดในการ
ออกแบบรถไฟความเร็วสูงโดยยึดหลักความปลอดภัยซึ่งป้องกันอุบัติเหตุของ
ขบวนรถไฟ “Crash Avoidance” ซึ่งหากเปรียบเทียบกับรถยนต์ก็คง
เทียบเคียงได้กับ “รถยนต์อเมริกัน vs. รถยนต์ญี่ปุ่น”
รถยนต์อเมริกันสมัยก่อนต้องมีมาตรฐานเรื่องความแข็งแรง โดย
หวังว่าเมื่อเกิดอุบัติเหตุชนกันก็สามารถจะปกป้องคนโดยสารได้ระดับหนึ่ง
แต่เป็นรถสิ้นเปลืองน้ามันซึ่งเจ้าของต้องแบกภาระไปทุกวันเพื่อชดเชยกับ
ความปลอดภัย ในขณะที่รถยนต์ญี่ปุ่นคันเล็ก ตัวถังแข็งแรงน้อยกว่า มี
น้าหนักเบา สามารถปกป้องคนโดยสารได้น้อยกว่าแต่ประหยัดน้ามัน เรื่องที่
กลัวว่าชนกันแล้วจะไม่ปลอดภัยก็ชดเชยด้วยการวิจัยและพัฒนาระบบ
ป้องกันไม่ให้รถชนกัน แทนที่จะคิดว่าเมื่อชนกันแล้วคนในรถยังปลอดภัย
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 242424 ประจำเดือน พฤษภำคม 255ประจำเดือน พฤษภำคม 255ประจำเดือน พฤษภำคม 255999
โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ
สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
Page | 1
การประชุมสมาคม IHRA ครั้งที่ 6 วันที่ 10 - 12 พฤษภาคม 2559
บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :
บทบรรณาธิการ
2 มิ.ย. 59 เวลา 9.00 – 16.00 น.
ขอเชิญร่วมงาน Seminar on Welding in Rail System ณ ห้องหว้ากอ 1-2 ชั้น 14 อาคาร
จามจุรีสแควร์ สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
(สวทน.) ลงทะเบียนได้ที่ https://goo.gl/KefnEU รับลงทะเบียนถึงวันที่ 30 พ.ค. 59 ติดต่อ
สอบถามที่ E-mail : warin@sti.or.th
ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :
ขอเชิญเข้าร่วมการฝึกอบรม "โครงการพัฒนา
บุคลากรเพื่อรองรับการถ่าย ทอดเทคโนโลยี
และอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางราง 4
ภูมิภาค" โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร. ธัญบุรี)
ร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาอีก 3 แห่ง ภายใต้การสนับสนุนจาก
สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) โดยการจัดฝึกอบรมจะจัดขึ้นใน วันที่
16 - 17 พ.ค. 59 ณ มทร. ล้านนา วันที่ 18 - 19 พ.ค. 59 ณ มทร.
อีสาน และวันที่ 25 - 26 พ.ค. 59 ณ มทร. ศรีวิชัย สมัครเข้าร่วม
กา ร ฝึ กอ บ ร ม แ ล ะ ดูร า ย ละ เ อี ย ดเ พิ่ ม เติ ม ที่ http://
www.en.rmutt.ac.th/me/ หรือ ติดต่อสอบถามที่ 0-2549-3430
จากอุบัติเหตุรถไฟความเร็วสูงหลายครั้งแสดงให้เห็นว่า
“อุบัติเหตุรถไฟความเร็วสูงก็เหมือนอุบัติเหตุเครื่องบินตก” หากเกิดขึ้นแล้ว
ก็มีโอกาสที่ผู้โดยสารจะได้รับการปกป้องให้ปลอดภัยน้อยมาก แม้จะ
ออกแบบตัวรถให้มีมาตรฐานแข็งแรง ปรัชญา"Crash avoidance" มี
หลักการออกแบบที่สาคัญสองประการคือ
1) ออกแบบเส้นทางรถไฟเพื่อใช้งานรถไฟความเร็วสูงโดยเฉพาะ
(Dedicated high line) ไม่มีขบวนรถอื่นเดินแทรกแซงและไม่มีเส้นทาง
ขนส่งอย่างอื่นตัดผ่านเสมอระดับ (Grade-separated)
2) ใช้ระบบสัญญาณแบบ Automatic Train Control: ATC ซึ่งจะเป็น
หลักประกันไม่ให้ขบวนรถไฟวิ่งชนกัน
สิ่งที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนก็คือรถไฟความเร็วสูงของญี่ปุ่นมี
น้าหนักคันละ 44 - 48 ตัน (น้าหนักกดเพลา 11-12 ตัน) ในขณะที่รถไฟ
ความเร็วสูงในยุโรปหนักคันละ 68 ตัน (น้าหนักกดเพลา 17 ตัน) น้าหนักที่
แตกต่างกันคันละ ประมาณ 20 - 24 ตัน จะมีผลต่อการประหยัดพลังงาน
ในการเร่งความเร็วและการเบรกรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเกิดขึ้นตลอดอายุการ
ใช้งาน “Life-time Cycle Costs Saving”
ประเทศที่ใช้หลักการนี้แล้วคือ ไต้หวัน ส่วนประเทศที่แสดง
ความสนใจในเรื่องนี้คือ มลรัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา และประเทศอินเดีย ซึ่ง
ญี่ปุ่นสนับสนุนงบประมาณการศึกษาโครงการ
6 – 11 มิ.ย. 59 ขอเชิญนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยสมัครเข้าร่วมกิจกรรม
“ค่ายวิทยาศาสตร์ระบบราง” ณ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยาน
วิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี จัดโดย โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่ง
ทางรางแห่งชาติ สวทช. ดูรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนได้ที่ http://goo.gl/forms/
aGcWOfRgOJ หรือ www.thairailtech.or.th รับสมัครวันนี้ถึง 23 พ.ค. 59 ประกาศผล 25
พ.ค. 59 (รับจานวน 70 ที่นั่ง ไม่เสียค่าใช้จ่าย) ติดต่อสอบถามโทร 0-2644-8150 ต่อ 81879
E-mail : rail@nstda.or.th
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
การพัฒนาอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางของไต้หวัน
บทความโดย นายทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล นายชยากร ปิยะบัณฑิตกุล
เพื่อสนับสนุนการพัฒนาโครงการก่อสร้างระบบขนส่งทางราง และเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมภายในประเทศ
ไต้หวันจึงได้เกิดสมาคมขึ้นมาโดยใช้ชื่อว่า Chung-Hua Railway Industry Development Association (CRIDA)
เริ่มก่อตั้งเมื่อปี 1997 โดยประกอบไปด้วย 90 หน่วยงานที่เป็นสมาชิก ซึ่งประกอบไปด้วยบริษัทอุตสาหกรรมทางด้าน
เครื่องกล ไฟฟ้า สื่อสาร และ Track work และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง ปัจจุบันมีสมาชิกกว่า 140 หน่วยงาน โดย
CRIDA มีหน้าที่หลักคือ สนับสนุนรัฐบาลอย่างเต็มที่ทางด้านโครงการก่อสร้างระบบราง และการพัฒนาอุตสาหกรรม
ภายในประเทศ โดยมีภารกิจดังนี้
 ดาเนินงานร่วมกับ Bureau of Standards ภายใต้กระทรวงการคลังในเรื่องมาตรฐานต่างๆ ในการก่อสร้าง
 เป็นผู้สนับสนุนหลักใน Training Course สาหรับภาคอุตสาหกรรม และการซ่อมบารุงในด้านระบบขนส่งทางราง
 จัดสัมมนาและนิทรรศการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีทางด้านระบบราง
 จัดกิจกรรมการเยี่ยมชมหน่วยงานและบริษัทต่างๆทางด้านระบบขนส่งทางราง
 บริหารจัดการการทา R&D
 การแลกเปลี่ยนบุคลากรระบบรางระหว่างหน่วยงานในท้องถิ่นและต่างประเทศ
ปฏิทินราง : (ต่อ)ปฏิทินราง : (ต่อ)ปฏิทินราง : (ต่อ)
21 - 24 มิ.ย. 59 ขอเชิญสมัครเข้าอบรมหลักสูตร
การพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง
แบบเข้มข้น รุ่นที่ 5 ( Railway Engineering
Intensive Course 5 ) หลักสูตรระบบไฟฟ้าสาหรับขบวนรถไฟ : Railway Electrification
ณ โรงแรมแกรนด์เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพ ถ.รัชดาภิเษก จัดโดย โครงการจัดตั้งสถาบัน
พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สวทช. ลงทะเบียนและดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ที่ www.thairailtech.or.th (รับสมัครตั้งแต่วันนี้ – 3 มิ.ย. 59) ติดต่อสอบถามที่ E-mail :
rail@nstda.or.th โทร 0-2644-8150 ต่อ 81879 , 81880
15 - 16 มิ.ย. 59 เวลา 8.30 – 16.00 น.
ขอเชิญร่วมงานสัมมนา International
Composites Conference Bangkok
2016 เรื่อง Composites in Rail and Automotive: Trends,
Innovations and Opportunities ณ โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ
เพลินจิต สุขุมวิท จัดโดย JEC Group in partnership ร่วมกับ
สมาคมไทยคอมโพสิท ดูรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนได้ที่
http://www.jeccomposites.com/events/bangkok-2016
สอบถามโทร 0-2238-1991
Page | 2
สำหรับงำนวิจัยทำงด้ำนระบบรำงในไต้หวัน ณ ปัจจุบัน มีงำนวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหำที่หน้ำสนใจ เช่น
 เสียงที่ดังเกินไป - การลด Noise & Vibration โดยการใช้ Elastic Pad (ปริมาณ 4,000/Pad/Km/Line)
ด้วยการวิเคราะห์และการทดลอง ทดสอบ ออกแบบ การผลิต การขาย การซ่อมบารุง
 แรงสั่นสะเทือนที่มากเกินไป - การใช้ Energy absorb
 ความสิ้นเปลืองพลังงาน
อุตสำหกรรมภำยในประเทศสำหรับกำรผลิตรถไฟควำมเร็วสูงในไต้หวัน
ปี 1987 เริ่มเปิดเดินรถไฟที่ให้บริการโดย Taiwan Railways Administration (TRA) รอบเกาะไต้หวัน
โดยขณะนั้น ยังไม่เปิดให้บริการเดินรถระบบรถไฟขนส่งมวลชนภายในเมือง รถไฟความเร็วสูง รวมถึงยังไม่มี
อุตสาหกรรมทางด้านระบบรางเกิดขึ้น
ในปี 1995 เริ่มมีการใช้มาตรฐานจากต่างชาติในการจัดซื้อจัดจ้าง ทาให้ลดอานาจการแข่งขันของ
อุตสาหกรรมภายในประเทศ โดยขณะนั้น ยังไม่ปรากฏว่ามีวิสัยทัศน์ในการกาหนดทิศทางการ R&D ที่ชัดเจน ซึ่งเป็น
การขัดขวางการพัฒนาอุตสาหกรรม รวมถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ไม่เหมาะสมกับเงื่อนไขต่างๆของไต้หวัน
นอกจากนี้ยังมีปัญหาที่ประชาชนขาดความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ ไม่มีการรับประกันที่
แน่นอนแก่ผู้บริโภค ไม่มีข้อมูลเฉพาะเจาะจงและหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการตรวจสอบคุณภาพทาให้เป็นการยาก
ที่จะแก้ไขเมื่อเกิดปัญหาทางด้านวิศวกรรมหรือข้อบกพร่องทางผลิตภัณฑ์ และไม่มีกลไกทางการตลาดในการตอบโจทย์
ความต้องการที่มีคุณภาพเหมาะสมและสามารถทาได้จริง รวมถึงยังไม่สามารถชักจูงให้ผู้บริการต่างชาติเข้าร่วม
โปรแกรม พัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศ เช่น INDUSTRY COLLABORATION PROGRAM (ICP)
ทั้งนี้ได้ดาเนินแนวทางจากปัญหาข้างต้นที่ได้กล่าวมาแล้ว ดังนี้ การสร้างมาตรฐานระบบรางของประเทศ
การสร้างระบบการตรวจสอบ/การสร้างกลไกการรับประกันทางด้านวิศวกรรมและผลิตภัณฑ์ การสร้างทาให้เกิดความ
ยอมรับในตลาดภายในประเทศ และการสร้างกลไกการมีส่วนร่วมในตลาดต่างประเทศ
สาหรับกรณี Taiwan High Speed
Rail Consortium (THSRC) ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ
เดือน พฤศจิกายน 1996 โดยกลุ่มอุตสาหกรรม
ชั้นนาของประเทศ ดังนี้
 Continental Engineering Corporation
 Fubon Group
 Pacific Electric Company
 Evergreen Group
 TECO Electric & Machinery Corpora-
tion
 GEC ALSTHOM
 SIEMENS
นอกจากนี้ยังได้สร้างผลงาน
ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากอุตสาหกรรมภายในประเทศ
อันได้แก่
 Seat
 Wheel Thread Cleaner
 Pantograph
 Shock Absorber
 LED Headlight
 Cabin Door Switch
 Converter/Inverter Cooling Module
วิสัยทัศน์ของ THSRC คือ เพิ่มศักยภาพ
ระดับความสามารถในการซ่อมบารุง เพิ่มชิ้นส่วนที่
ใช้ภายในประเทศ สนับสนุนความร่วมมือระหว่าง
Suppliers ภายในประเทศกับผู้ผลิตในต่างประเทศ
สนับสนุนให้ Suppliers ภายในประเทศได้รับการ
ยอมรับจากผู้ผลิตในต่างประเทศ แลกเปลี่ยน
ประสบการณ์กับผู้ให้บริการเดินรถบริษัทต่างๆ และ
วางแผนกลยุทธ์ในเรื่องการใช้ Spare Part กับผู้รับ
ให้บริการการเดินรถต่อไป
ปกิณกะปกิณกะปกิณกะ :::
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
19 เม.ย. 59 เวลา 9.00 – 17.00 น. พิธีเปิดและปฐมนิเทศหลักสูตรการฝึกอบรม
“การพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง รุ่นที่ 6 (วศร.6)” ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว
ฟอร์จูน กรุงเทพฯ โดย โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ สานักงานคณะกรรมการนโยบาย
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) จัดขึ้นเพื่อปูพื้นฐานความรู้เรื่องระบบขนส่ง
ทางรางแก่กลุ่มบุคคลเป้าหมาย ซึ่งสามารถจะนาไปขยายผลให้เกิดการเรียนรู้เรื่องระบบขนส่งทางราง
ในวงกว้าง โดยในปีนี้มีผู้เข้าอบรมรวมทั้งสิ้น 34 ท่าน แบ่งเป็น บุคลากรจากภาครัฐ 8 ท่าน ภาคการ
เดินรถ 5 ท่าน ภาคอุตสาหกรรม 13 ท่าน สถาบันการศึกษา 7 ท่าน หน่วยงานวิจัย 1 ท่าน ดาเนินการ
การฝึกอบรมตั้งแต่วันที่ 19 เม.ย. 59 ถึง 21 ก.ย. 59
Page | 3
ประชุมเครือข่ำย วศร. ประจำเดือน เมษำยน 2559
19 เม.ย. 59 เวลา 13.00
– 15.00 น. การประชุม
เ ค รื อ ข่ า ย ว ศ ร .
ประจาเดือน เมษายน
2559 ณ โรงแรมแกรนด์
เมอร์เคียว ฟอร์จูน
กรุงเทพฯ
Rolling Stock Engineering 2
25 - 29 เม.ย. 59 และ 2
- 3 พ.ค. 59 การอบรม
แ บ บ เ ข้ ม ข้ น ด้ า น
วิศวกรรมล้อเลื่อน ครั้งที่
2 ( The Second Inten-
sive Course in Rolling
Stock Engineering )
จัดโดย สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย โดยมีผู้บรรยายเป็น อดีตวิศวกร การรถไฟ
สวิตเซอร์แลนด์ (SBB) และอดีตวิศวกร การรถไฟเยอรมัน (DB)
ประชุมรับฟังควำมคิดเห็นของประชำชน (ครั้งที่ 1) แผนงำนวิจัย TOD
28 เม.ย. 59 เวลา 9.00 – 13.30 น. การประชุมรับ
ฟังความคิดเห็นของประชาชน (ครั้งที่ 1) แผน
งานวิจัยแนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณรอบสถานี
ขนส่งมวลชนระบบรางที่เอื้อต่อการใช้ระบบขนส่ง
สาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน "สถานี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตเมือง TOD
ต้นแบบแห่งอนาคต" โดยมี รศ.ดร.ภาวิณี
เอี่ยมตระกูล (วศร.5) อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรมมศาสตร์ เป็น
หัวหน้าแผนงานวิจัย สนับสนุนโดยสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสานักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
1 เดือน 1 กิจกรรม ประจำเดือน เมษำยน 2559
28 เม.ย. 59 เวลา 8.00 – 14.00 น. 1 เดือน 1
กิจกรรม ประจาเดือน เมษายน 59 โครงการจัดตั้ง
สถาบันฯ สวทช. พาคณะผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด
15 ท่าน เยี่ยมชมโรงซ่อมบารุงรถดีเซลราง
สมุทรสาคร และระบบเครื่องกั้นทางรถไฟ "มหาชัย
โมเดล"
พิธีเปิดและปฐมนิเทศการฝึกอบรมหลักสูตร
“การพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง รุ่นที่ 6 (วศร.6)”
วันที่ 19 เมษายน 2559 ณ ห้องฟอร์จูน ชั้น 3 โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพฯ
ช่วงเช้าเป็นพิธีเปิดหลักสูตร และช่วงบ่ายเป็นกิจกรรมกลุ่ม
สัมพันธ์ โดย คุณสุพัฒน์ สังข์สายศิริกุล จากสถาบันบริหารพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นผู้ดาเนิน
รายการ รวมถึงการพบปะรุ่นพี่ที่ผ่านการอบรม วศร.รุ่นที่ 1 - 5 และ
การกล่าวแสดงความยินดีต่อผู้เข้าอบรม วศร. 6 โดย นายกสมาคม
วิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย (วศรท.) และตัวแทน วศร. แต่ละรุ่น
ที่ปรึกษำ : คุณชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล
กองบรรณำธิกำร : คุณทปกร เหมือนเตย คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล
ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)
ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech
กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์
เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :
พิธีรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ในโครงกำรจัดตั้งสถำบันฯ สวทช.
สมาชิกสมาคมวิศวกรรมระบบ
ขนส่งทางรางไทย (วศรท.)
และเครือข่ายผู้เข้าอบรม วศร.
จัดพิธีรดน้าดาหัวขอพร
คุณนคร จันทศร และคุณ
นัยรัตน์ อมาตยกุล ผู้ใหญ่ใน
โครงการจัดตั้งสถาบันฯ สวทช. เนื่องในเทศกาลสงกรานต์ เมื่อวันที่
19 เม.ย. 59 พร้อมกับพิธีเปิด วศร.
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)
วศร.2 นัดสังสรรค์
สมาชิก วศร.2 จัดงานเลี้ยงและพิธีรด
น้าดาหัวขอพรผู้ใหญ่ในรุ่น ที่ร้าน 66
station เลียบทางด่วนรามอินทรา
เมื่อค่าวันที่ 29 เม.ย. 59
โครงกำรพัฒนำบุคลำกรระบบรำง 4 ภูมิภำค
12 – 13 พ.ค. 59 โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางราง 4
ภูมิภาค โดยศูนย์นวัตกรรมระบบราง คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ภายใต้การสนับสนุน
จากสานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
และนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
โครงกำรพัฒนำศักยภำพผู้สอนรำยวิชำระบบขนส่งทำงรำง
10 – 14 พ.ค. 59 โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สอนรายวิชาระบบ
ขนส่งทางราง ในสถาบันอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบน ภายใต้โครงการสร้างกาลังคน ระดับช่างเทคนิค ด้าน
ระบบขนส่งทางรางเข้าสู่ตลาดแรงงาน ในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
ประชุมระดมควำมคิดเห็นเรื่อง ICP
28 เม.ย. 59 เวลา 17.00
น. การประชุมระดมความ
คิดเห็น เกี่ยวกับเรื่อง ICP
( Industrial Collabora-
tion Program ) ของระบบ
ราง ณ ห้อง 103 อาคาร
สวทช.(โยธี) ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ เพื่อเสนอให้รัฐบาล
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาปรับปรุงระเบียบการจัดซื้อจัด
จ้างเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมในประเทศ
วศร.6 ดูงำนสถำนีรถไฟฟ้ำใต้ดินสีลม
30 เม.ย. 59 เวลา 13.30 –
16.30 น. คณะผู้เข้าอบรม
หลักสูตร วศร.6 เดินทางดู
งานระบบสิ่งอานวยความ
ส ะ ด ว ก แ ล ะ Station
Operation Room (SOR)
ณ สถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน สีลม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการ
ฝึกอบรม วศร.6 โดยได้รับความอนุเคราะห์สถานที่และวิทยากร
จาก บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด (มหาชน) : BEM
ประชุมคณะกรรมกำรกำกับแผนงำนวิจัย
3 พ.ค. 59 เวลา 14.00 – 18.00 น. การประชุมคณะกรรมการ
กากับแผนงานวิจัยมุ่งเป้า (คณะที่ 2) หรือ บอร์ด 2 เพื่อ
พิจารณาอนุมัติแผนงานวิจัย และโครงการวิจัยที่คณะนักวิจัย
เสนอเข้ามาขอรับทุนวิจัย โดยเป็นทุนสนับสนุนงานวิจัย
จาก สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
Page | 4
IHRA Meeting 2016
คุณนคร จันทศร ที่ปรึกษา
ผู้อานวยการ สวทช. และนาย
ดิสพล ผดุงกุล นายกสมาคม
(วศรท.) พร้อมคณะผู้เข้าร่วม
การประชุม International High Speed Rail Association (IHRA) ที่ประเทศสาธารณรัฐจีน
(ไต้หวัน) ได้เข้าเยี่ยมคารวะ นายกรัฐมนตรี Dr. CHANG San-cheng เมื่อวันที่ 12 พ.ค. 2559
ประวัติโดยสังเขปนำยกรัฐมนตรีไต้หวัน
Dr. CHANG San-cheng จบปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา จาก National Tai-
wan University จบปริญญาโท วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม จาก Stanford
University, USA และจบปริญญาเอก วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม จาก
Cornell University, USA เคยเป็น Regional Director of Hardware Oper-
ations in Asia, Google Inc. เคยดารงตาแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ
รองนายกรัฐมนตรี จนกระทั่งขึ้นดารงตาแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ใน
เดือน กุมภาพันธ์ 2559

Contenu connexe

Plus de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

Plus de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
 
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 24

  • 1. IHRA หรือในชื่อเต็มภาษาอังกฤษว่า International High Speed Rail Association เป็นสมาคมที่จัดตั้งขึ้น เมื่อปี 2554 เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปี แห่งความสาเร็จของรถไฟความเร็วสูง “ชินกังเซน” ซึ่งไม่มีผู้โดยสาร บาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากอุบัติเหตุเลย สาหรับผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมก็ ประกอบด้วย บริษัทผู้ประกอบการเดินรถไฟความเร็วสูง 4 บริษัท และ บริษัทที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมรถไฟอีก 25 บริษัท วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งสมาคมก็เพื่อเผยแพร่แนวคิดในการ ออกแบบรถไฟความเร็วสูงโดยยึดหลักความปลอดภัยซึ่งป้องกันอุบัติเหตุของ ขบวนรถไฟ “Crash Avoidance” ซึ่งหากเปรียบเทียบกับรถยนต์ก็คง เทียบเคียงได้กับ “รถยนต์อเมริกัน vs. รถยนต์ญี่ปุ่น” รถยนต์อเมริกันสมัยก่อนต้องมีมาตรฐานเรื่องความแข็งแรง โดย หวังว่าเมื่อเกิดอุบัติเหตุชนกันก็สามารถจะปกป้องคนโดยสารได้ระดับหนึ่ง แต่เป็นรถสิ้นเปลืองน้ามันซึ่งเจ้าของต้องแบกภาระไปทุกวันเพื่อชดเชยกับ ความปลอดภัย ในขณะที่รถยนต์ญี่ปุ่นคันเล็ก ตัวถังแข็งแรงน้อยกว่า มี น้าหนักเบา สามารถปกป้องคนโดยสารได้น้อยกว่าแต่ประหยัดน้ามัน เรื่องที่ กลัวว่าชนกันแล้วจะไม่ปลอดภัยก็ชดเชยด้วยการวิจัยและพัฒนาระบบ ป้องกันไม่ให้รถชนกัน แทนที่จะคิดว่าเมื่อชนกันแล้วคนในรถยังปลอดภัย EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 242424 ประจำเดือน พฤษภำคม 255ประจำเดือน พฤษภำคม 255ประจำเดือน พฤษภำคม 255999 โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency Page | 1 การประชุมสมาคม IHRA ครั้งที่ 6 วันที่ 10 - 12 พฤษภาคม 2559 บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ : บทบรรณาธิการ 2 มิ.ย. 59 เวลา 9.00 – 16.00 น. ขอเชิญร่วมงาน Seminar on Welding in Rail System ณ ห้องหว้ากอ 1-2 ชั้น 14 อาคาร จามจุรีสแควร์ สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ลงทะเบียนได้ที่ https://goo.gl/KefnEU รับลงทะเบียนถึงวันที่ 30 พ.ค. 59 ติดต่อ สอบถามที่ E-mail : warin@sti.or.th ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง : ขอเชิญเข้าร่วมการฝึกอบรม "โครงการพัฒนา บุคลากรเพื่อรองรับการถ่าย ทอดเทคโนโลยี และอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางราง 4 ภูมิภาค" โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร. ธัญบุรี) ร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาอีก 3 แห่ง ภายใต้การสนับสนุนจาก สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) โดยการจัดฝึกอบรมจะจัดขึ้นใน วันที่ 16 - 17 พ.ค. 59 ณ มทร. ล้านนา วันที่ 18 - 19 พ.ค. 59 ณ มทร. อีสาน และวันที่ 25 - 26 พ.ค. 59 ณ มทร. ศรีวิชัย สมัครเข้าร่วม กา ร ฝึ กอ บ ร ม แ ล ะ ดูร า ย ละ เ อี ย ดเ พิ่ ม เติ ม ที่ http:// www.en.rmutt.ac.th/me/ หรือ ติดต่อสอบถามที่ 0-2549-3430 จากอุบัติเหตุรถไฟความเร็วสูงหลายครั้งแสดงให้เห็นว่า “อุบัติเหตุรถไฟความเร็วสูงก็เหมือนอุบัติเหตุเครื่องบินตก” หากเกิดขึ้นแล้ว ก็มีโอกาสที่ผู้โดยสารจะได้รับการปกป้องให้ปลอดภัยน้อยมาก แม้จะ ออกแบบตัวรถให้มีมาตรฐานแข็งแรง ปรัชญา"Crash avoidance" มี หลักการออกแบบที่สาคัญสองประการคือ 1) ออกแบบเส้นทางรถไฟเพื่อใช้งานรถไฟความเร็วสูงโดยเฉพาะ (Dedicated high line) ไม่มีขบวนรถอื่นเดินแทรกแซงและไม่มีเส้นทาง ขนส่งอย่างอื่นตัดผ่านเสมอระดับ (Grade-separated) 2) ใช้ระบบสัญญาณแบบ Automatic Train Control: ATC ซึ่งจะเป็น หลักประกันไม่ให้ขบวนรถไฟวิ่งชนกัน สิ่งที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนก็คือรถไฟความเร็วสูงของญี่ปุ่นมี น้าหนักคันละ 44 - 48 ตัน (น้าหนักกดเพลา 11-12 ตัน) ในขณะที่รถไฟ ความเร็วสูงในยุโรปหนักคันละ 68 ตัน (น้าหนักกดเพลา 17 ตัน) น้าหนักที่ แตกต่างกันคันละ ประมาณ 20 - 24 ตัน จะมีผลต่อการประหยัดพลังงาน ในการเร่งความเร็วและการเบรกรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเกิดขึ้นตลอดอายุการ ใช้งาน “Life-time Cycle Costs Saving” ประเทศที่ใช้หลักการนี้แล้วคือ ไต้หวัน ส่วนประเทศที่แสดง ความสนใจในเรื่องนี้คือ มลรัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา และประเทศอินเดีย ซึ่ง ญี่ปุ่นสนับสนุนงบประมาณการศึกษาโครงการ 6 – 11 มิ.ย. 59 ขอเชิญนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยสมัครเข้าร่วมกิจกรรม “ค่ายวิทยาศาสตร์ระบบราง” ณ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยาน วิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี จัดโดย โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่ง ทางรางแห่งชาติ สวทช. ดูรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนได้ที่ http://goo.gl/forms/ aGcWOfRgOJ หรือ www.thairailtech.or.th รับสมัครวันนี้ถึง 23 พ.ค. 59 ประกาศผล 25 พ.ค. 59 (รับจานวน 70 ที่นั่ง ไม่เสียค่าใช้จ่าย) ติดต่อสอบถามโทร 0-2644-8150 ต่อ 81879 E-mail : rail@nstda.or.th
  • 2. Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency การพัฒนาอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางของไต้หวัน บทความโดย นายทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล นายชยากร ปิยะบัณฑิตกุล เพื่อสนับสนุนการพัฒนาโครงการก่อสร้างระบบขนส่งทางราง และเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมภายในประเทศ ไต้หวันจึงได้เกิดสมาคมขึ้นมาโดยใช้ชื่อว่า Chung-Hua Railway Industry Development Association (CRIDA) เริ่มก่อตั้งเมื่อปี 1997 โดยประกอบไปด้วย 90 หน่วยงานที่เป็นสมาชิก ซึ่งประกอบไปด้วยบริษัทอุตสาหกรรมทางด้าน เครื่องกล ไฟฟ้า สื่อสาร และ Track work และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง ปัจจุบันมีสมาชิกกว่า 140 หน่วยงาน โดย CRIDA มีหน้าที่หลักคือ สนับสนุนรัฐบาลอย่างเต็มที่ทางด้านโครงการก่อสร้างระบบราง และการพัฒนาอุตสาหกรรม ภายในประเทศ โดยมีภารกิจดังนี้  ดาเนินงานร่วมกับ Bureau of Standards ภายใต้กระทรวงการคลังในเรื่องมาตรฐานต่างๆ ในการก่อสร้าง  เป็นผู้สนับสนุนหลักใน Training Course สาหรับภาคอุตสาหกรรม และการซ่อมบารุงในด้านระบบขนส่งทางราง  จัดสัมมนาและนิทรรศการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีทางด้านระบบราง  จัดกิจกรรมการเยี่ยมชมหน่วยงานและบริษัทต่างๆทางด้านระบบขนส่งทางราง  บริหารจัดการการทา R&D  การแลกเปลี่ยนบุคลากรระบบรางระหว่างหน่วยงานในท้องถิ่นและต่างประเทศ ปฏิทินราง : (ต่อ)ปฏิทินราง : (ต่อ)ปฏิทินราง : (ต่อ) 21 - 24 มิ.ย. 59 ขอเชิญสมัครเข้าอบรมหลักสูตร การพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง แบบเข้มข้น รุ่นที่ 5 ( Railway Engineering Intensive Course 5 ) หลักสูตรระบบไฟฟ้าสาหรับขบวนรถไฟ : Railway Electrification ณ โรงแรมแกรนด์เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพ ถ.รัชดาภิเษก จัดโดย โครงการจัดตั้งสถาบัน พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สวทช. ลงทะเบียนและดูรายละเอียดเพิ่มเติม ที่ www.thairailtech.or.th (รับสมัครตั้งแต่วันนี้ – 3 มิ.ย. 59) ติดต่อสอบถามที่ E-mail : rail@nstda.or.th โทร 0-2644-8150 ต่อ 81879 , 81880 15 - 16 มิ.ย. 59 เวลา 8.30 – 16.00 น. ขอเชิญร่วมงานสัมมนา International Composites Conference Bangkok 2016 เรื่อง Composites in Rail and Automotive: Trends, Innovations and Opportunities ณ โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ เพลินจิต สุขุมวิท จัดโดย JEC Group in partnership ร่วมกับ สมาคมไทยคอมโพสิท ดูรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนได้ที่ http://www.jeccomposites.com/events/bangkok-2016 สอบถามโทร 0-2238-1991 Page | 2 สำหรับงำนวิจัยทำงด้ำนระบบรำงในไต้หวัน ณ ปัจจุบัน มีงำนวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหำที่หน้ำสนใจ เช่น  เสียงที่ดังเกินไป - การลด Noise & Vibration โดยการใช้ Elastic Pad (ปริมาณ 4,000/Pad/Km/Line) ด้วยการวิเคราะห์และการทดลอง ทดสอบ ออกแบบ การผลิต การขาย การซ่อมบารุง  แรงสั่นสะเทือนที่มากเกินไป - การใช้ Energy absorb  ความสิ้นเปลืองพลังงาน อุตสำหกรรมภำยในประเทศสำหรับกำรผลิตรถไฟควำมเร็วสูงในไต้หวัน ปี 1987 เริ่มเปิดเดินรถไฟที่ให้บริการโดย Taiwan Railways Administration (TRA) รอบเกาะไต้หวัน โดยขณะนั้น ยังไม่เปิดให้บริการเดินรถระบบรถไฟขนส่งมวลชนภายในเมือง รถไฟความเร็วสูง รวมถึงยังไม่มี อุตสาหกรรมทางด้านระบบรางเกิดขึ้น ในปี 1995 เริ่มมีการใช้มาตรฐานจากต่างชาติในการจัดซื้อจัดจ้าง ทาให้ลดอานาจการแข่งขันของ อุตสาหกรรมภายในประเทศ โดยขณะนั้น ยังไม่ปรากฏว่ามีวิสัยทัศน์ในการกาหนดทิศทางการ R&D ที่ชัดเจน ซึ่งเป็น การขัดขวางการพัฒนาอุตสาหกรรม รวมถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ไม่เหมาะสมกับเงื่อนไขต่างๆของไต้หวัน นอกจากนี้ยังมีปัญหาที่ประชาชนขาดความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ ไม่มีการรับประกันที่ แน่นอนแก่ผู้บริโภค ไม่มีข้อมูลเฉพาะเจาะจงและหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการตรวจสอบคุณภาพทาให้เป็นการยาก ที่จะแก้ไขเมื่อเกิดปัญหาทางด้านวิศวกรรมหรือข้อบกพร่องทางผลิตภัณฑ์ และไม่มีกลไกทางการตลาดในการตอบโจทย์ ความต้องการที่มีคุณภาพเหมาะสมและสามารถทาได้จริง รวมถึงยังไม่สามารถชักจูงให้ผู้บริการต่างชาติเข้าร่วม โปรแกรม พัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศ เช่น INDUSTRY COLLABORATION PROGRAM (ICP) ทั้งนี้ได้ดาเนินแนวทางจากปัญหาข้างต้นที่ได้กล่าวมาแล้ว ดังนี้ การสร้างมาตรฐานระบบรางของประเทศ การสร้างระบบการตรวจสอบ/การสร้างกลไกการรับประกันทางด้านวิศวกรรมและผลิตภัณฑ์ การสร้างทาให้เกิดความ ยอมรับในตลาดภายในประเทศ และการสร้างกลไกการมีส่วนร่วมในตลาดต่างประเทศ สาหรับกรณี Taiwan High Speed Rail Consortium (THSRC) ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ เดือน พฤศจิกายน 1996 โดยกลุ่มอุตสาหกรรม ชั้นนาของประเทศ ดังนี้  Continental Engineering Corporation  Fubon Group  Pacific Electric Company  Evergreen Group  TECO Electric & Machinery Corpora- tion  GEC ALSTHOM  SIEMENS นอกจากนี้ยังได้สร้างผลงาน ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากอุตสาหกรรมภายในประเทศ อันได้แก่  Seat  Wheel Thread Cleaner  Pantograph  Shock Absorber  LED Headlight  Cabin Door Switch  Converter/Inverter Cooling Module วิสัยทัศน์ของ THSRC คือ เพิ่มศักยภาพ ระดับความสามารถในการซ่อมบารุง เพิ่มชิ้นส่วนที่ ใช้ภายในประเทศ สนับสนุนความร่วมมือระหว่าง Suppliers ภายในประเทศกับผู้ผลิตในต่างประเทศ สนับสนุนให้ Suppliers ภายในประเทศได้รับการ ยอมรับจากผู้ผลิตในต่างประเทศ แลกเปลี่ยน ประสบการณ์กับผู้ให้บริการเดินรถบริษัทต่างๆ และ วางแผนกลยุทธ์ในเรื่องการใช้ Spare Part กับผู้รับ ให้บริการการเดินรถต่อไป ปกิณกะปกิณกะปกิณกะ :::
  • 3. กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency 19 เม.ย. 59 เวลา 9.00 – 17.00 น. พิธีเปิดและปฐมนิเทศหลักสูตรการฝึกอบรม “การพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง รุ่นที่ 6 (วศร.6)” ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพฯ โดย โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ สานักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) จัดขึ้นเพื่อปูพื้นฐานความรู้เรื่องระบบขนส่ง ทางรางแก่กลุ่มบุคคลเป้าหมาย ซึ่งสามารถจะนาไปขยายผลให้เกิดการเรียนรู้เรื่องระบบขนส่งทางราง ในวงกว้าง โดยในปีนี้มีผู้เข้าอบรมรวมทั้งสิ้น 34 ท่าน แบ่งเป็น บุคลากรจากภาครัฐ 8 ท่าน ภาคการ เดินรถ 5 ท่าน ภาคอุตสาหกรรม 13 ท่าน สถาบันการศึกษา 7 ท่าน หน่วยงานวิจัย 1 ท่าน ดาเนินการ การฝึกอบรมตั้งแต่วันที่ 19 เม.ย. 59 ถึง 21 ก.ย. 59 Page | 3 ประชุมเครือข่ำย วศร. ประจำเดือน เมษำยน 2559 19 เม.ย. 59 เวลา 13.00 – 15.00 น. การประชุม เ ค รื อ ข่ า ย ว ศ ร . ประจาเดือน เมษายน 2559 ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพฯ Rolling Stock Engineering 2 25 - 29 เม.ย. 59 และ 2 - 3 พ.ค. 59 การอบรม แ บ บ เ ข้ ม ข้ น ด้ า น วิศวกรรมล้อเลื่อน ครั้งที่ 2 ( The Second Inten- sive Course in Rolling Stock Engineering ) จัดโดย สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยมีผู้บรรยายเป็น อดีตวิศวกร การรถไฟ สวิตเซอร์แลนด์ (SBB) และอดีตวิศวกร การรถไฟเยอรมัน (DB) ประชุมรับฟังควำมคิดเห็นของประชำชน (ครั้งที่ 1) แผนงำนวิจัย TOD 28 เม.ย. 59 เวลา 9.00 – 13.30 น. การประชุมรับ ฟังความคิดเห็นของประชาชน (ครั้งที่ 1) แผน งานวิจัยแนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณรอบสถานี ขนส่งมวลชนระบบรางที่เอื้อต่อการใช้ระบบขนส่ง สาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน "สถานี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตเมือง TOD ต้นแบบแห่งอนาคต" โดยมี รศ.ดร.ภาวิณี เอี่ยมตระกูล (วศร.5) อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรมมศาสตร์ เป็น หัวหน้าแผนงานวิจัย สนับสนุนโดยสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 1 เดือน 1 กิจกรรม ประจำเดือน เมษำยน 2559 28 เม.ย. 59 เวลา 8.00 – 14.00 น. 1 เดือน 1 กิจกรรม ประจาเดือน เมษายน 59 โครงการจัดตั้ง สถาบันฯ สวทช. พาคณะผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 15 ท่าน เยี่ยมชมโรงซ่อมบารุงรถดีเซลราง สมุทรสาคร และระบบเครื่องกั้นทางรถไฟ "มหาชัย โมเดล" พิธีเปิดและปฐมนิเทศการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง รุ่นที่ 6 (วศร.6)” วันที่ 19 เมษายน 2559 ณ ห้องฟอร์จูน ชั้น 3 โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพฯ ช่วงเช้าเป็นพิธีเปิดหลักสูตร และช่วงบ่ายเป็นกิจกรรมกลุ่ม สัมพันธ์ โดย คุณสุพัฒน์ สังข์สายศิริกุล จากสถาบันบริหารพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นผู้ดาเนิน รายการ รวมถึงการพบปะรุ่นพี่ที่ผ่านการอบรม วศร.รุ่นที่ 1 - 5 และ การกล่าวแสดงความยินดีต่อผู้เข้าอบรม วศร. 6 โดย นายกสมาคม วิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย (วศรท.) และตัวแทน วศร. แต่ละรุ่น
  • 4. ที่ปรึกษำ : คุณชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล กองบรรณำธิกำร : คุณทปกร เหมือนเตย คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง : พิธีรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ในโครงกำรจัดตั้งสถำบันฯ สวทช. สมาชิกสมาคมวิศวกรรมระบบ ขนส่งทางรางไทย (วศรท.) และเครือข่ายผู้เข้าอบรม วศร. จัดพิธีรดน้าดาหัวขอพร คุณนคร จันทศร และคุณ นัยรัตน์ อมาตยกุล ผู้ใหญ่ใน โครงการจัดตั้งสถาบันฯ สวทช. เนื่องในเทศกาลสงกรานต์ เมื่อวันที่ 19 เม.ย. 59 พร้อมกับพิธีเปิด วศร. กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ) วศร.2 นัดสังสรรค์ สมาชิก วศร.2 จัดงานเลี้ยงและพิธีรด น้าดาหัวขอพรผู้ใหญ่ในรุ่น ที่ร้าน 66 station เลียบทางด่วนรามอินทรา เมื่อค่าวันที่ 29 เม.ย. 59 โครงกำรพัฒนำบุคลำกรระบบรำง 4 ภูมิภำค 12 – 13 พ.ค. 59 โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางราง 4 ภูมิภาค โดยศูนย์นวัตกรรมระบบราง คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ภายใต้การสนับสนุน จากสานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) โครงกำรพัฒนำศักยภำพผู้สอนรำยวิชำระบบขนส่งทำงรำง 10 – 14 พ.ค. 59 โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สอนรายวิชาระบบ ขนส่งทางราง ในสถาบันอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน ภายใต้โครงการสร้างกาลังคน ระดับช่างเทคนิค ด้าน ระบบขนส่งทางรางเข้าสู่ตลาดแรงงาน ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น ประชุมระดมควำมคิดเห็นเรื่อง ICP 28 เม.ย. 59 เวลา 17.00 น. การประชุมระดมความ คิดเห็น เกี่ยวกับเรื่อง ICP ( Industrial Collabora- tion Program ) ของระบบ ราง ณ ห้อง 103 อาคาร สวทช.(โยธี) ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ เพื่อเสนอให้รัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาปรับปรุงระเบียบการจัดซื้อจัด จ้างเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมในประเทศ วศร.6 ดูงำนสถำนีรถไฟฟ้ำใต้ดินสีลม 30 เม.ย. 59 เวลา 13.30 – 16.30 น. คณะผู้เข้าอบรม หลักสูตร วศร.6 เดินทางดู งานระบบสิ่งอานวยความ ส ะ ด ว ก แ ล ะ Station Operation Room (SOR) ณ สถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน สีลม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการ ฝึกอบรม วศร.6 โดยได้รับความอนุเคราะห์สถานที่และวิทยากร จาก บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด (มหาชน) : BEM ประชุมคณะกรรมกำรกำกับแผนงำนวิจัย 3 พ.ค. 59 เวลา 14.00 – 18.00 น. การประชุมคณะกรรมการ กากับแผนงานวิจัยมุ่งเป้า (คณะที่ 2) หรือ บอร์ด 2 เพื่อ พิจารณาอนุมัติแผนงานวิจัย และโครงการวิจัยที่คณะนักวิจัย เสนอเข้ามาขอรับทุนวิจัย โดยเป็นทุนสนับสนุนงานวิจัย จาก สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) Page | 4 IHRA Meeting 2016 คุณนคร จันทศร ที่ปรึกษา ผู้อานวยการ สวทช. และนาย ดิสพล ผดุงกุล นายกสมาคม (วศรท.) พร้อมคณะผู้เข้าร่วม การประชุม International High Speed Rail Association (IHRA) ที่ประเทศสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เข้าเยี่ยมคารวะ นายกรัฐมนตรี Dr. CHANG San-cheng เมื่อวันที่ 12 พ.ค. 2559 ประวัติโดยสังเขปนำยกรัฐมนตรีไต้หวัน Dr. CHANG San-cheng จบปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา จาก National Tai- wan University จบปริญญาโท วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม จาก Stanford University, USA และจบปริญญาเอก วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม จาก Cornell University, USA เคยเป็น Regional Director of Hardware Oper- ations in Asia, Google Inc. เคยดารงตาแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ รองนายกรัฐมนตรี จนกระทั่งขึ้นดารงตาแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ใน เดือน กุมภาพันธ์ 2559