SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
เป็นเวลาหลายปีมาแล้วที่เราอาจจะได้ข่าวเกี่ยวกับแนว
ทางการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางของประเทศมาเลเซีย
ซึ่งมีรากฐานจากยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบเศรษฐกิจ เพื่อนาพา
ประเทศมาเลเซียไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วภายในปี ค.ศ.2020
ยุทธศาสตร์ที่ว่านี้คือต้นกาเนิดของโครงการ MiGHT ในปี ค.ศ.1993
โดยท่านมหาเธร์ บิน โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น มีเป้าหมาย
เพื่อการตอบสนองต่อกระแสโลกาภิวัตน์ และการค้าเสรี ซึ่งจะมีผลต่อ
การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศโดยอาศัยการเร่งพัฒนาขีด
ความสามารถของประเทศในด้านเทคโนโลยีชั้นสูง พูดง่ายๆ คือ
มาเลเซียไม่ต้องการเพียงจัดซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศมาใช้งาน แต่
ต้องการต่อยอดด้วยการพัฒนาความสามารถให้อุตสาหกรรมของ
มาเลเซียผลิตเทคโนโลยีเหล่านั้นภายในประเทศได้ เรื่องราวที่ว่านี้ด้าน
หนึ่งอาจเป็นเพียงแค่การประชาสัมพันธ์หลอกๆ ของมาเลเซียเพื่อข่ม
มิตรสหายร่วมภูมิภาคให้ตระหนกตกใจว่ามาเลเซียกาลังจะเดินหน้า
แซงหน้าประเทศอื่นๆไป
จนกระทั่งเมื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย โดยโครงการอาศรมความคิด อรุณ สรเทศน์ ณ ลานเกียร์
(เปิดโลกลานเกียร์) ร่วมมือกับสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และกระทรวงคมนาคม จัดสัมมนาพิเศษ
ว่าด้วยแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางราง ในช่วง
เดือนมกราคม-เมษายน 2559 ที่ผ่านมา โดยเชิญผู้แทนจากประเทศ
ต่างๆ จานวน 4 ประเทศ คือ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น มาเลเซีย และไต้หวัน มา
อธิบายให้ฟังว่าประเทศเหล่านั้นมีแนวทางอย่างไร และนั่นคือการเปิด
โอกาสให้เราได้รู้จักกับ“คุณไซลานิ ซาฟารี” ซึ่งดารงตาแหน่งประธาน
เจ้าหน้าที่บริหารของ TDA (Technology Depository Agency Ber-
had) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้กระทรวงการคลังของประเทศมาเลเซีย
ทาหน้าที่ในการบริหารโครงการจัดซื้อสินค้าในกลุ่มอุตสาหกรรม
เป้าหมายของรัฐตามโปรแกรม ICP (Industrial Collaboration Pro-
gram) ซึ่งในที่สุดกลายเป็นกลไกที่ทาให้ปัจจุบันมาเลเซียมีโรงงาน
ประกอบรถไฟฟ้าภายในประเทศ 2 โรงงาน คือ CRRC ของประเทศจีน
และ SMH-Siemens ของเยอรมัน และทาท่าว่าเมื่อโครงการรถไฟฟ้า
ความเร็วสูงระหว่างสิงคโปร์และมาเลเซียเกิดขึ้น ก็อาจจะเกิดโรงงาน
แห่งที่ 3 ตามมา
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 272727 ประจำเดือน สิงหำคม 255ประจำเดือน สิงหำคม 255ประจำเดือน สิงหำคม 255999
โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ
สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
Malaysia Future Rail 2030 กับไทยแลนด์นักช้อป
บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :
และนี่ก็คือต้นตอของ
การจัดทริปพิเศษมุ่งหน้าสู่
ประเทศมาเลเซียเพื่อดูให้เห็นกับ
ตา นาทีมโดยสมาคมวิศวกรรม
ระบบขนส่งทางรางไทย (วศรท)
และเครือข่ายกว่า 40 ชีวิต
ระหว่าง 7-10 สิงหาคมที่ผ่านมา
เราเดินทางไปที่หาดใหญ่ ข้าม
พรมแดนที่ด่านปาดังเบซาร์เพื่อ
โดยสารรถไฟฟ้า ETS (Electric
Train System) ของKTMB (Keretapi
Tanah Melayu Berhad) หรือการ
รถไฟแห่งประเทศมาเลเซีย เพื่อมุ่งหน้าสู่เมืองอีโป และกัวลาลัมเปอร์
เพื่อสารวจอุตสาหกรรมการผลิตรถไฟในประเทศมาเลเซีย การ
เดินทางไปมาเลเซียครั้งนี้สร้างความทึ่ง ตื่นตะลึง ปนๆ เศร้าใจให้กับ
คณะทั้งหมดไม่น้อย เมื่อเราได้ประจักษ์ว่าระบบรถไฟฟ้า ETS ซึ่ง
พัฒนาจากระบบหัวรถจักรดีเซลบนทางเดี่ยว กลายเป็นระบบรถไฟฟ้า
บนทางคู่ ขนาดความกว้างทาง 1 เมตร สามารถทาความเร็วได้สูงสุด
ถึง 160 กม./ชม. อีกไม่นานระบบรถไฟระหว่างเมืองของมาเลเซียก็จะ
กลายเป็นลักษณะนี้ทั่วประเทศ ใครที่ยังเชียร์ว่าประเทศไทยควร
เปลี่ยนระบบรางเป็นขนาดทางมาตรฐาน 1.435 เมตรเพื่อให้เชื่อมต่อ
กับ AEC ได้ ควรแวะมาหาความรู้กันที่มาเลเซียก่อนเลยนะครับ
อย่างไรก็ตามนอกเหนือไปจากตัวระบบรถไฟของมาเลเซียที่
พัฒนาแซงหน้าประเทศไทยไปหลายก้าวแล้ว สิ่งที่สาคัญมากกว่ากลับ
กลายเป็นเรื่องยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมระบบราง จน
กลายเป็นโรงงานต่างๆ ที่กล่าวข้างต้น ตลอดจนการพัฒนาบุคลากร
ด้านระบบราง มาเลเซียตั้งเป้าจะเป็น “ASEAN Rail Center of Ex-
cellence” ภายในปี 2018 โดยไม่เน้นการสร้างตึก สร้างอาคาร แต่
ให้ความสาคัญกับการเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ปฏิบัติงาน
ระดับช่างเทคนิคและวิศวกร ในขณะที่ไทยยังคงเร่งแต่ประมูลๆ
บทบรรณาธิการ
โดย ผศ.ดร.ประมวล สุธีจารุวัฒน (วศร.5)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Page | 1
รถไฟฟ้ำ ETS ของมำเลเซีย
โรงงำนผลิตรถไฟใน
ประเทศมำเลเซีย
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
ศูนย์อบรมวิชาชีพการรถไฟความเร็วสูงประจานครอู่ฮัน
บทความโดย ดร.วรนิติ ช่อวิเชียร (วศร.2) บริษัท Asian Engineering Consultants Corp., Ltd.
คุณวัฒนา สมานจิตร (วศร.1) โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สวทช.
ระหว่างวันที่ 15-27 มิถุนายน 2559 กลุ่มคนไทย
จานวน 34 ท่าน จาก 9 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบรางได้
เดินทางไปเข้าร่วมหลักสูตร 2016 Seminar on the Exec-
utives Management of Thailand โดยการสนับสนุนของ
กระทรวงพาณิชย์แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน และ
สานักงานนโยบายและแผนการจราจรและขนส่ง ส่วนหนึ่ง
ของหลักสูตรฝึกอบรมได้มีโอกาสเยี่ยมชมโรงงานประกอบตัว
รถ ทดลองใช้บริการรถไฟความเร็วสูง และได้เดินทางไปเข้า
หลักสูตรอบรมระบบรถไฟความเร็วสูงระยะสั้นเป็นเวลา 1
วัน ที่ศูนย์อบรมวิชาชีพการรถไฟความเร็วสูงประจานครอู่ฮัน
(Wuhan High Speed Railway Vocational Skills Train-
ing Duan) ซึ่งเป็นศูนย์ผลิตบุคลากรชั้นเลิศที่ครบถ้วน
ครอบคลุมในทุกสาขาที่เกี่ยวข้องกับระบบรถไฟความเร็วสูง
ประกอบด้วย หลักสูตรสาหรับพนักงานควบคุมขบวนรถ ช่าง
ซ่อมบารุงส่วนประกอบของตัวรถ งานทางและงานโยธา งาน
ระบบจ่ายไฟฟ้า งานระบบอาณัติสัญญาณและการสื่อสาร
และงานควบคุมบริหารจัดการเดินรถไฟความเร็วสูง รวมถึง
ได้มีการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างคณะผู้อบรม
และคณะผู้บริหารศูนย์ฝึกอบรม ถึงขอบเขตการดาเนินงาน
และแนวทางความร่วมมือการฝึกอบรมในอนาคต
28 ส.ค. – 1 ก.ย. 59 เวลา 8.30 – 17.00 น. ขอเชิญเข้าร่วมรับฟังการ
บรรยายพิเศษ เรื่อง System Safety Engineering (RAM) โดย Prof. Dr.-
Ing. Uwe Klingauf (TU Darmstadt) ณ ห้อง 101 อาคารประชาสังคม
อุดมพัฒน์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ในโครงการส่งเสริมการพัฒนาเครือข่ายเชี่ยวชาญเฉพาะ
ทางด้าน Rail System Engineering Management จัดโดย มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สานักงาน
คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ติดต่อสอบถามได้ที่
E-mail: egmuandthaist@gmail.com ผศ.ดร. วเรศรา วีระวัฒน์ หรือ คุณพจณี เซ็นเสถียร ผู้
ประสานงานโครงการ โทร 081-256-6548 รับจานวน 40 ท่าน ผู้สนใจกรุณากรอกรายละเอียดการ
เข้าร่วมอบรมที่ https://goo.gl/forms/F7evBJbX6RxccFBy1 ภายใน 19 ส.ค. 59
5 – 9 ก.ย. 59 ขอเชิญเข้าร่วมรับฟังการ
บรรยายพิเศษในหัวข้อ "Intensive Course in
Overhead Contact Line System - II: OCL
design, operation, maintenance, and testing (OCL-
II)" โดย Mr. Rainer Puschmann (ผู้แต่งหนังสือ Contact
Lines for Electric Railways) ณ ห้องประชุม Orchid 4 ชั้น
11 โรงแรมจัสมิน ซิติ้ จัดโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
จอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ร่วมกับ สวทน. ติดต่อสอบถามที่ E-mail:
kmutt.rail@gmail.com โทร 087-251-4951 รับจานวน 30 ท่าน
ผู้สนใจกรุณากรอกรายละเอียดการเข้าร่วมอบรมที่ https://goo.gl/
k9HH51 ภายใน 24 ส.ค. 59
ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :
Page | 2
ปกิณกะปกิณกะปกิณกะ :::
ศูนย์อบรมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2557 ด้วยเงินลงทุนที่สูงถึง 1,229 ล้าน
หยวน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานในส่วนต่างๆของระบบรถไฟความเร็วสูงของการรถไฟ
แห่งประเทศจีน รองรับการอบรมบุคลากรได้ปีละ 14,000 คน สามารถจัดอบรมได้ครั้งละ 1,400 คน
ระยะเวลาอบรมประมาณ 15 - 30 วัน ขึ้นอยู่กับเนื้อหาของแต่ละหลักสูตรซึ่งในการอบรมแต่ละหลักสูตร
จะรวมทั้งทฤษฎีปฏิบัติเพื่อให้ผู้ผ่านการอบรมสามารถออกไปปฏิบัติงานได้ทันที
รูปที่ 1 ศูนย์ปฏิบัติกำรสำหรับพนักงำนควบคุมขบวนรถ
จากการที่ศูนย์แห่งนี้เป็นส่วนหนึ่งของการรถไฟฯ เพื่อให้การอบรมมีประสิทธิภาพสูงสุด
หลักสูตรต่างๆจะถูกออกแบบและพัฒนาจากความต้องการของการปฏิบัติงานจริง ปัจจุบันผู้เข้ารับการ
ฝึกอบรมทั้งหมดเป็นพนักงานที่ทางานกับระบบรถไฟความเร็วสูงของของการรถไฟฯ แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ
พนักงานที่รับใหม่และพนักงานเก่าที่เคยฝึกอบรมไปแล้วซึ่งจะกาหนดให้ต้องกลับมาอบรมซ้าในทุกๆ 4 ปี
ทั้งนี้เพื่อให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลาและทดสอบความสามารถในการปฏิบัติงานใน
หน้าที่ โดยจะมีการทดสอบประเมินหลังจากอบรมหากผู้อบรมไม่สามารถผ่านการทดสอบได้ในสองครั้งก็
ไม่จะสามารถกลับเข้าไปปฏิบัติหน้าที่เดิมได้อีก ในส่วนของผู้สอนจะยืมตัวผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขามา
จากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในประเทศให้มาทาหน้าที่เป็นผู้สอนเมื่อครบ 1 ปี จะกลับไปทางานที่
ต้นสังกัดเดิม เพื่อให้ผู้สอนมีความรู้และประสบการณ์ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและจะถูกเชิญ
กลับมาเป็นอาจารย์อีกครั้งในโอกาสต่อไป ความท้าทายของศูนย์อบรมฯนี้คือ “ผู้อบรมต้องสามารถนา
ความรู้ที่ได้รับไปใช้กับการปฏิบัติงานจริงได้ทันที” เพื่อให้การลงทุนการฝึกอบรมสัมฤทธิ์ผลทั้งทางด้าน
งบประมาณและเวลาของพนักงานที่มาเข้ารับการอบรม และสิ่งสาคัญที่สุดคือเพื่อพัฒนาบุคลากรให้
สามารถปฏิบัติหน้าที่ควบคุมบริหารการเดินรถไฟความเร็วสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
รูปที่ 2 (ซ้ำยไปขวำ) ศูนย์ปฏิบัติกำรทดสอบ (ระบบจ่ำยไฟฟ้ำ ระบบอำณัติสัญญำณและกำรสื่อสำร
ระบบขับเคลื่อน งำนทำงและงำนโยธำ)
กิจกรรมโครงการและเครือข่ายกิจกรรมโครงการและเครือข่ายกิจกรรมโครงการและเครือข่าย :::
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
1 เดือน 1 กิจกรรม เดือน กรกฎำคม 59
27 ก.ค. 59 เวลา 08.00 -
16.00 น. กิจกรรม 1 เดือน
1 กิจกรรม ประจาเดือน
กรกฎาคม 2559 โดย
โครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัด
ให้ผู้สนใจเข้าร่วมดูงาน
สถานีรถไฟกรุงเทพ และ
โรงงานมักกะสัน ในกระบวนการทางานของฝ่ายการช่างกลในการนารถ
โดยสารเก่ามาดัดแปลงเป็นขบวนรถประเภทต่างๆ และเยี่ยมชมรถ
โดยสาร "SRT Prestige" มีผู้เข้าร่วมกว่า 15 คน
วศร. 6 ดูงำนศูนย์ซ่อมบำรุงรถไฟฟ้ำแอร์พอร์ตเรลลิงก์
23 ก.ค. 59 เวลา 13.30 น. คณะผู้เข้าอบรม
หลักสูตรการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรม
ระบบขนส่งทางราง รุ่นที่ 6 (วศร.6) เยี่ยมชมดู
งานในส่วนของ Workshop และ ห้อง Opera-
tional Control Center (OCC) ณ ศูนย์ซ่อม
บารุงรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ คลองตัน ซึ่ง
เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมของการอบรม
Intensive Course 5 : High-Speed Train
26 – 29 ก.ค. 59 การอบรม
หลักสูตรการพัฒนาบุคลากร
ด้านวิศวกรรมระบบขนส่ง
ทางรางแบบเข้มข้น รุ่นที่ 5
หัวข้อ รถไฟความเร็วสูง
(Railway Engineering
Intensive Course 5 :
High-Speed Train) โดยโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบ
ขนส่งทางรางแห่งชาติ สวทช. ได้เชิญวิทยากรจาก Japan Transport
Engineering Company (J-TREC) คือ Mr. Hideharu IGARASHI มา
เป็นวิทยากร ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรม จานวน 27 ท่าน
กำรประชุมคณะทำงำน Test Track ครั้งที่ 1/2559
2 ส.ค. 59 เวลา 13.30 – 17.00 น. การประชุมคณะทางานโครงการพัฒนาต้นแบบระบบ
รถไฟฟ้าและโครงสร้างพื้นฐาน (Test Track) ครั้ง
ที่ 1/2559 ณ อาคาร สวทช.-โยธี ถ.พระรามที่ 6
เพื่อหารือแนวทางและกรอบการวิจัยของการ
ดาเนินโครงการ โดยที่ประชุมได้มีมติให้คณะ
นักวิจัยปรับปรุงข้อเสนอโครงการ และรายงาน
ความคืบหน้าในการประชุมครั้งถัดไปวันที่ 3 ก.ย.
59
Intensive Course 5 : Railway Bogie
8 – 11 ส.ค. 59 การอบรมหลักสูตรการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางแบบ
เข้มข้น รุ่นที่ 5 หัวข้อ โบกี้รถไฟ (Railway Engi-
neering Intensive Course 5 : Railway Bogie)
โดยโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบ
ขนส่งทางรางแห่งชาติ สวทช. ได้เชิญวิทยากรจาก
Railway Technical Research Institute (RTRI)
ประเทศญี่ปุ่น คือ Dr. Akihito Kazato มาเป็น
วิทยากร ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรม จานวน 13 ท่าน
วศรท และ สวทช. ดูงำนโรงงำนประกอบรถไฟประเทศมำเลเซีย
7 – 10 ส.ค. 59 สมาคม
วิศวกรรมระบบขนส่งทางราง
ไทย (วศรท) และ สานักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
โดยโครงการจัดตั้งสถาบัน
พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่ง
ทางรางแห่งชาติ จัดกิจกรรม
ศึกษาดูงานโรงงานประกอบ
รถไฟ ณ สหพันธรัฐมาเลเซีย เพื่อสารวจอุตสาหกรรมการผลิตรถไฟในประเทศมาเลเซีย โดยมี
ผู้เข้าร่วมดูงานกว่า 40 คน จาก วศรท สวทช. และเครือข่ายผู้ประกอบการอุตสาหกรรมระบบ
ขนส่งทางราง
กำรประชุม วศร. ประจำเดือน กรกฎำคม 59
26 ก.ค. 59 เวลา 18.00 น. การประชุมเครือข่าย วศร. ประจาเดือน
กรกฎาคม 2559 ณ ห้อง
ปร ะชุ ม ชั้น 2 ส ถา นี
รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์
มักกะสัน โดยมี ดร.มนต์ชัย
พินิจจิตรสมุทร วศร. 4 เป็น
ประธานในที่ประชุม
กำรบรรยำย เรื่อง กำรสื่อสำรไร้สำยสำหรับระบบขนส่งทำงรำง
1 ส.ค. 59 เวลา 10.00-12.00 น.
การบรรยาย เรื่อง "การสื่อสารไร้
สายสาหรับระบบขนส่งทาง
ราง (Wireless Technolo-
gy for Rail System)" ณ
ห้อง MP303-311 อาคาร MTEC
Pilot Plant อุทยานวิทยาศาสตร์
ประเทศไทย จ.ปทุมธานี โดยผู้เชี่ยวชาญจาก METEOR COMMUNICATIONS
LLC, RENTON, WA, U.S.A. ในการเดินทางมาเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการ สวทช.
Page | 3
ที่ปรึกษำ : คุณชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล
กองบรรณำธิกำร : คุณทปกร เหมือนเตย คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล
ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)
ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech
กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์
เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :
วิทยำกรจำกญี่ปุ่นทดลองนั่งรถไฟฟ้ำสำยสีม่วง
Dr. Akihito Kazato จาก Railway Technical Research
Institute (RTRI) ประเทศญี่ปุ่น วิทยากรผู้มาบรรยายในการ
อบรม Railway Engineering Intensive Course 5 : Rail-
way Bogie ได้ทดลองนั่งรถไฟฟ้าสายฉลองรัชธรรม (สายสี
ม่วง) หลังจากเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 6 ส.ค. 59
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)
Khon Kaen Think tank (KKTT)
KKTT หรือ ขอนแก่นพัฒนาเมือง เปิดตัวครั้งแรกต่อนักลงทุน
ในงาน Investment Fest 2016 ในบูธที่ชื่อว่า รถรางเปลี่ยน
เมือง ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เมื่อวันที่ 5 – 7 ส.ค.
59
ประชุมร่วมกับ รมว.กระทรวงกำรคลัง
11 ส.ค. 59 เวลา 15.00 น. การ
ประชุมร่วมระหว่าง สวทช.
วศรท และเครือข่ายอุตสาหกรรม
ด้ า น ร ะ บ บ ร า ง ร่ ว ม กั บ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
(นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์) เพื่อ
ขอคาแนะนาและหารือประเด็นการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางด้วยวิธี
Offset/ICP Program ณ กระทรวงการคลัง ถ.พระรามที่ 6
รำยงำนข่ำว ช่อง 3 ดูโรงงำนรถไฟมำเลเซีย
รายงานข่าวเกี่ยวกับสมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง
ไทย (วศรท) และ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดดูงานการ
ประกอบรถไฟ ณ ประเทศมาเลเซีย เมื่อ 7 – 10 ส.ค. 59
โ ด ย ส า ม า ร ถ ดู ค ลิ ป ข่ า ว ไ ด้ ที่ https://
www.facebook.com/t3traffic3/videos/515033642041125/
ประชุมติดตำมควำมก้ำวหน้ำแผนงำนวิจัย TOD
15 ส.ค. 59 เวลา 10.00 น. การประชุม
ความก้าวหน้าแผนงานแนวทางการพัฒนาพื้นที่
บริเวณรอบสถานีขนส่งมวลชนระบบรางที่เอื้อ
ต่อการใช้ระบบขนส่งสาธารณะเพื่อการ
พัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมี รศ.ดร.
ภาวิณี เอี่ยมตระกูล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็น
หัวหน้าแผนงาน ณ ห้อง 103 อาคาร สวทช.-โยธี ถ.พระรามที่ 6 เขตราชเทวี โดยแผนงาน
วิจัยนี้ทาการศึกษาการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
Page | 4
รถไฟฟ้ำสำยสีม่วงเปิดให้บริกำรแล้ว
การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เปิดให้บริการ
รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (สายสีม่วง) แก่ประชาชน
อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 6 สิงหาคม 2559 โดยได้รับพระมหา
กรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิดการเดินรถไฟฟ้า โดยรถไฟฟ้าสายนี้
ให้บริการในเส้นทางช่วง บางใหญ่ - บางซื่อ มีระยะทาง 23
กิโลเมตร จานวน 16 สถานี และอาคารจอดรถ 4 แห่ง
บอกเล่ำประสบกำรณ์ดูงำนโรงงำนประกอบรถไฟมำเลเซีย ของประธำนรุ่น ค่ำยวิทยำศำสตร์ระบบรำง ครั้งที่ 1
นายคิโยชิ มณีแสง นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในฐานะประธานรุ่น ค่ายวิทยาศาสตร์
ระบบราง ครั้งที่ 1 ได้เดินทางเข้าร่วมกิจกรรมศึกษาดูงานโรงงานประกอบรถไฟ ณ สหพันธรัฐมาเลเซีย ได้ให้สัมภาษณ์กับกองบรรณาธิการถึงการไปดู
งานครั้งนี้ว่า “ผมมองว่าจุดเด่นของการพัฒนาระบบรางของมาเลเซียก็คือ การพัฒนาที่พึ่งพาตนเอง โดยการนาเข้าเทคโนโลยีมีข้อกาหนดว่าต้องมีการ
ถ่ายทอดความรู้แก่อุตสาหกรรมภายในประเทศด้วย โดยการบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน ซึ่งเป็นที่น่าสนใจและประเทศไทยควรส่งเสริม
ในเรื่องนี้ให้มากๆ เพื่อว่าเราเองจะสามารถพึ่งพาตนเองได้เช่นกัน”

Contenu connexe

Plus de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

Plus de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
 
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 27

  • 1. เป็นเวลาหลายปีมาแล้วที่เราอาจจะได้ข่าวเกี่ยวกับแนว ทางการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางของประเทศมาเลเซีย ซึ่งมีรากฐานจากยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบเศรษฐกิจ เพื่อนาพา ประเทศมาเลเซียไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วภายในปี ค.ศ.2020 ยุทธศาสตร์ที่ว่านี้คือต้นกาเนิดของโครงการ MiGHT ในปี ค.ศ.1993 โดยท่านมหาเธร์ บิน โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น มีเป้าหมาย เพื่อการตอบสนองต่อกระแสโลกาภิวัตน์ และการค้าเสรี ซึ่งจะมีผลต่อ การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศโดยอาศัยการเร่งพัฒนาขีด ความสามารถของประเทศในด้านเทคโนโลยีชั้นสูง พูดง่ายๆ คือ มาเลเซียไม่ต้องการเพียงจัดซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศมาใช้งาน แต่ ต้องการต่อยอดด้วยการพัฒนาความสามารถให้อุตสาหกรรมของ มาเลเซียผลิตเทคโนโลยีเหล่านั้นภายในประเทศได้ เรื่องราวที่ว่านี้ด้าน หนึ่งอาจเป็นเพียงแค่การประชาสัมพันธ์หลอกๆ ของมาเลเซียเพื่อข่ม มิตรสหายร่วมภูมิภาคให้ตระหนกตกใจว่ามาเลเซียกาลังจะเดินหน้า แซงหน้าประเทศอื่นๆไป จนกระทั่งเมื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยโครงการอาศรมความคิด อรุณ สรเทศน์ ณ ลานเกียร์ (เปิดโลกลานเกียร์) ร่วมมือกับสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และกระทรวงคมนาคม จัดสัมมนาพิเศษ ว่าด้วยแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางราง ในช่วง เดือนมกราคม-เมษายน 2559 ที่ผ่านมา โดยเชิญผู้แทนจากประเทศ ต่างๆ จานวน 4 ประเทศ คือ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น มาเลเซีย และไต้หวัน มา อธิบายให้ฟังว่าประเทศเหล่านั้นมีแนวทางอย่างไร และนั่นคือการเปิด โอกาสให้เราได้รู้จักกับ“คุณไซลานิ ซาฟารี” ซึ่งดารงตาแหน่งประธาน เจ้าหน้าที่บริหารของ TDA (Technology Depository Agency Ber- had) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้กระทรวงการคลังของประเทศมาเลเซีย ทาหน้าที่ในการบริหารโครงการจัดซื้อสินค้าในกลุ่มอุตสาหกรรม เป้าหมายของรัฐตามโปรแกรม ICP (Industrial Collaboration Pro- gram) ซึ่งในที่สุดกลายเป็นกลไกที่ทาให้ปัจจุบันมาเลเซียมีโรงงาน ประกอบรถไฟฟ้าภายในประเทศ 2 โรงงาน คือ CRRC ของประเทศจีน และ SMH-Siemens ของเยอรมัน และทาท่าว่าเมื่อโครงการรถไฟฟ้า ความเร็วสูงระหว่างสิงคโปร์และมาเลเซียเกิดขึ้น ก็อาจจะเกิดโรงงาน แห่งที่ 3 ตามมา EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 272727 ประจำเดือน สิงหำคม 255ประจำเดือน สิงหำคม 255ประจำเดือน สิงหำคม 255999 โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency Malaysia Future Rail 2030 กับไทยแลนด์นักช้อป บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ : และนี่ก็คือต้นตอของ การจัดทริปพิเศษมุ่งหน้าสู่ ประเทศมาเลเซียเพื่อดูให้เห็นกับ ตา นาทีมโดยสมาคมวิศวกรรม ระบบขนส่งทางรางไทย (วศรท) และเครือข่ายกว่า 40 ชีวิต ระหว่าง 7-10 สิงหาคมที่ผ่านมา เราเดินทางไปที่หาดใหญ่ ข้าม พรมแดนที่ด่านปาดังเบซาร์เพื่อ โดยสารรถไฟฟ้า ETS (Electric Train System) ของKTMB (Keretapi Tanah Melayu Berhad) หรือการ รถไฟแห่งประเทศมาเลเซีย เพื่อมุ่งหน้าสู่เมืองอีโป และกัวลาลัมเปอร์ เพื่อสารวจอุตสาหกรรมการผลิตรถไฟในประเทศมาเลเซีย การ เดินทางไปมาเลเซียครั้งนี้สร้างความทึ่ง ตื่นตะลึง ปนๆ เศร้าใจให้กับ คณะทั้งหมดไม่น้อย เมื่อเราได้ประจักษ์ว่าระบบรถไฟฟ้า ETS ซึ่ง พัฒนาจากระบบหัวรถจักรดีเซลบนทางเดี่ยว กลายเป็นระบบรถไฟฟ้า บนทางคู่ ขนาดความกว้างทาง 1 เมตร สามารถทาความเร็วได้สูงสุด ถึง 160 กม./ชม. อีกไม่นานระบบรถไฟระหว่างเมืองของมาเลเซียก็จะ กลายเป็นลักษณะนี้ทั่วประเทศ ใครที่ยังเชียร์ว่าประเทศไทยควร เปลี่ยนระบบรางเป็นขนาดทางมาตรฐาน 1.435 เมตรเพื่อให้เชื่อมต่อ กับ AEC ได้ ควรแวะมาหาความรู้กันที่มาเลเซียก่อนเลยนะครับ อย่างไรก็ตามนอกเหนือไปจากตัวระบบรถไฟของมาเลเซียที่ พัฒนาแซงหน้าประเทศไทยไปหลายก้าวแล้ว สิ่งที่สาคัญมากกว่ากลับ กลายเป็นเรื่องยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมระบบราง จน กลายเป็นโรงงานต่างๆ ที่กล่าวข้างต้น ตลอดจนการพัฒนาบุคลากร ด้านระบบราง มาเลเซียตั้งเป้าจะเป็น “ASEAN Rail Center of Ex- cellence” ภายในปี 2018 โดยไม่เน้นการสร้างตึก สร้างอาคาร แต่ ให้ความสาคัญกับการเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ปฏิบัติงาน ระดับช่างเทคนิคและวิศวกร ในขณะที่ไทยยังคงเร่งแต่ประมูลๆ บทบรรณาธิการ โดย ผศ.ดร.ประมวล สุธีจารุวัฒน (วศร.5) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Page | 1 รถไฟฟ้ำ ETS ของมำเลเซีย โรงงำนผลิตรถไฟใน ประเทศมำเลเซีย
  • 2. Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency ศูนย์อบรมวิชาชีพการรถไฟความเร็วสูงประจานครอู่ฮัน บทความโดย ดร.วรนิติ ช่อวิเชียร (วศร.2) บริษัท Asian Engineering Consultants Corp., Ltd. คุณวัฒนา สมานจิตร (วศร.1) โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สวทช. ระหว่างวันที่ 15-27 มิถุนายน 2559 กลุ่มคนไทย จานวน 34 ท่าน จาก 9 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบรางได้ เดินทางไปเข้าร่วมหลักสูตร 2016 Seminar on the Exec- utives Management of Thailand โดยการสนับสนุนของ กระทรวงพาณิชย์แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน และ สานักงานนโยบายและแผนการจราจรและขนส่ง ส่วนหนึ่ง ของหลักสูตรฝึกอบรมได้มีโอกาสเยี่ยมชมโรงงานประกอบตัว รถ ทดลองใช้บริการรถไฟความเร็วสูง และได้เดินทางไปเข้า หลักสูตรอบรมระบบรถไฟความเร็วสูงระยะสั้นเป็นเวลา 1 วัน ที่ศูนย์อบรมวิชาชีพการรถไฟความเร็วสูงประจานครอู่ฮัน (Wuhan High Speed Railway Vocational Skills Train- ing Duan) ซึ่งเป็นศูนย์ผลิตบุคลากรชั้นเลิศที่ครบถ้วน ครอบคลุมในทุกสาขาที่เกี่ยวข้องกับระบบรถไฟความเร็วสูง ประกอบด้วย หลักสูตรสาหรับพนักงานควบคุมขบวนรถ ช่าง ซ่อมบารุงส่วนประกอบของตัวรถ งานทางและงานโยธา งาน ระบบจ่ายไฟฟ้า งานระบบอาณัติสัญญาณและการสื่อสาร และงานควบคุมบริหารจัดการเดินรถไฟความเร็วสูง รวมถึง ได้มีการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างคณะผู้อบรม และคณะผู้บริหารศูนย์ฝึกอบรม ถึงขอบเขตการดาเนินงาน และแนวทางความร่วมมือการฝึกอบรมในอนาคต 28 ส.ค. – 1 ก.ย. 59 เวลา 8.30 – 17.00 น. ขอเชิญเข้าร่วมรับฟังการ บรรยายพิเศษ เรื่อง System Safety Engineering (RAM) โดย Prof. Dr.- Ing. Uwe Klingauf (TU Darmstadt) ณ ห้อง 101 อาคารประชาสังคม อุดมพัฒน์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ในโครงการส่งเสริมการพัฒนาเครือข่ายเชี่ยวชาญเฉพาะ ทางด้าน Rail System Engineering Management จัดโดย มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สานักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ติดต่อสอบถามได้ที่ E-mail: egmuandthaist@gmail.com ผศ.ดร. วเรศรา วีระวัฒน์ หรือ คุณพจณี เซ็นเสถียร ผู้ ประสานงานโครงการ โทร 081-256-6548 รับจานวน 40 ท่าน ผู้สนใจกรุณากรอกรายละเอียดการ เข้าร่วมอบรมที่ https://goo.gl/forms/F7evBJbX6RxccFBy1 ภายใน 19 ส.ค. 59 5 – 9 ก.ย. 59 ขอเชิญเข้าร่วมรับฟังการ บรรยายพิเศษในหัวข้อ "Intensive Course in Overhead Contact Line System - II: OCL design, operation, maintenance, and testing (OCL- II)" โดย Mr. Rainer Puschmann (ผู้แต่งหนังสือ Contact Lines for Electric Railways) ณ ห้องประชุม Orchid 4 ชั้น 11 โรงแรมจัสมิน ซิติ้ จัดโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ร่วมกับ สวทน. ติดต่อสอบถามที่ E-mail: kmutt.rail@gmail.com โทร 087-251-4951 รับจานวน 30 ท่าน ผู้สนใจกรุณากรอกรายละเอียดการเข้าร่วมอบรมที่ https://goo.gl/ k9HH51 ภายใน 24 ส.ค. 59 ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง : Page | 2 ปกิณกะปกิณกะปกิณกะ ::: ศูนย์อบรมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2557 ด้วยเงินลงทุนที่สูงถึง 1,229 ล้าน หยวน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานในส่วนต่างๆของระบบรถไฟความเร็วสูงของการรถไฟ แห่งประเทศจีน รองรับการอบรมบุคลากรได้ปีละ 14,000 คน สามารถจัดอบรมได้ครั้งละ 1,400 คน ระยะเวลาอบรมประมาณ 15 - 30 วัน ขึ้นอยู่กับเนื้อหาของแต่ละหลักสูตรซึ่งในการอบรมแต่ละหลักสูตร จะรวมทั้งทฤษฎีปฏิบัติเพื่อให้ผู้ผ่านการอบรมสามารถออกไปปฏิบัติงานได้ทันที รูปที่ 1 ศูนย์ปฏิบัติกำรสำหรับพนักงำนควบคุมขบวนรถ จากการที่ศูนย์แห่งนี้เป็นส่วนหนึ่งของการรถไฟฯ เพื่อให้การอบรมมีประสิทธิภาพสูงสุด หลักสูตรต่างๆจะถูกออกแบบและพัฒนาจากความต้องการของการปฏิบัติงานจริง ปัจจุบันผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมทั้งหมดเป็นพนักงานที่ทางานกับระบบรถไฟความเร็วสูงของของการรถไฟฯ แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ พนักงานที่รับใหม่และพนักงานเก่าที่เคยฝึกอบรมไปแล้วซึ่งจะกาหนดให้ต้องกลับมาอบรมซ้าในทุกๆ 4 ปี ทั้งนี้เพื่อให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลาและทดสอบความสามารถในการปฏิบัติงานใน หน้าที่ โดยจะมีการทดสอบประเมินหลังจากอบรมหากผู้อบรมไม่สามารถผ่านการทดสอบได้ในสองครั้งก็ ไม่จะสามารถกลับเข้าไปปฏิบัติหน้าที่เดิมได้อีก ในส่วนของผู้สอนจะยืมตัวผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขามา จากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในประเทศให้มาทาหน้าที่เป็นผู้สอนเมื่อครบ 1 ปี จะกลับไปทางานที่ ต้นสังกัดเดิม เพื่อให้ผู้สอนมีความรู้และประสบการณ์ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและจะถูกเชิญ กลับมาเป็นอาจารย์อีกครั้งในโอกาสต่อไป ความท้าทายของศูนย์อบรมฯนี้คือ “ผู้อบรมต้องสามารถนา ความรู้ที่ได้รับไปใช้กับการปฏิบัติงานจริงได้ทันที” เพื่อให้การลงทุนการฝึกอบรมสัมฤทธิ์ผลทั้งทางด้าน งบประมาณและเวลาของพนักงานที่มาเข้ารับการอบรม และสิ่งสาคัญที่สุดคือเพื่อพัฒนาบุคลากรให้ สามารถปฏิบัติหน้าที่ควบคุมบริหารการเดินรถไฟความเร็วสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย รูปที่ 2 (ซ้ำยไปขวำ) ศูนย์ปฏิบัติกำรทดสอบ (ระบบจ่ำยไฟฟ้ำ ระบบอำณัติสัญญำณและกำรสื่อสำร ระบบขับเคลื่อน งำนทำงและงำนโยธำ)
  • 3. กิจกรรมโครงการและเครือข่ายกิจกรรมโครงการและเครือข่ายกิจกรรมโครงการและเครือข่าย ::: Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency 1 เดือน 1 กิจกรรม เดือน กรกฎำคม 59 27 ก.ค. 59 เวลา 08.00 - 16.00 น. กิจกรรม 1 เดือน 1 กิจกรรม ประจาเดือน กรกฎาคม 2559 โดย โครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัด ให้ผู้สนใจเข้าร่วมดูงาน สถานีรถไฟกรุงเทพ และ โรงงานมักกะสัน ในกระบวนการทางานของฝ่ายการช่างกลในการนารถ โดยสารเก่ามาดัดแปลงเป็นขบวนรถประเภทต่างๆ และเยี่ยมชมรถ โดยสาร "SRT Prestige" มีผู้เข้าร่วมกว่า 15 คน วศร. 6 ดูงำนศูนย์ซ่อมบำรุงรถไฟฟ้ำแอร์พอร์ตเรลลิงก์ 23 ก.ค. 59 เวลา 13.30 น. คณะผู้เข้าอบรม หลักสูตรการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรม ระบบขนส่งทางราง รุ่นที่ 6 (วศร.6) เยี่ยมชมดู งานในส่วนของ Workshop และ ห้อง Opera- tional Control Center (OCC) ณ ศูนย์ซ่อม บารุงรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ คลองตัน ซึ่ง เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมของการอบรม Intensive Course 5 : High-Speed Train 26 – 29 ก.ค. 59 การอบรม หลักสูตรการพัฒนาบุคลากร ด้านวิศวกรรมระบบขนส่ง ทางรางแบบเข้มข้น รุ่นที่ 5 หัวข้อ รถไฟความเร็วสูง (Railway Engineering Intensive Course 5 : High-Speed Train) โดยโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบ ขนส่งทางรางแห่งชาติ สวทช. ได้เชิญวิทยากรจาก Japan Transport Engineering Company (J-TREC) คือ Mr. Hideharu IGARASHI มา เป็นวิทยากร ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรม จานวน 27 ท่าน กำรประชุมคณะทำงำน Test Track ครั้งที่ 1/2559 2 ส.ค. 59 เวลา 13.30 – 17.00 น. การประชุมคณะทางานโครงการพัฒนาต้นแบบระบบ รถไฟฟ้าและโครงสร้างพื้นฐาน (Test Track) ครั้ง ที่ 1/2559 ณ อาคาร สวทช.-โยธี ถ.พระรามที่ 6 เพื่อหารือแนวทางและกรอบการวิจัยของการ ดาเนินโครงการ โดยที่ประชุมได้มีมติให้คณะ นักวิจัยปรับปรุงข้อเสนอโครงการ และรายงาน ความคืบหน้าในการประชุมครั้งถัดไปวันที่ 3 ก.ย. 59 Intensive Course 5 : Railway Bogie 8 – 11 ส.ค. 59 การอบรมหลักสูตรการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางแบบ เข้มข้น รุ่นที่ 5 หัวข้อ โบกี้รถไฟ (Railway Engi- neering Intensive Course 5 : Railway Bogie) โดยโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบ ขนส่งทางรางแห่งชาติ สวทช. ได้เชิญวิทยากรจาก Railway Technical Research Institute (RTRI) ประเทศญี่ปุ่น คือ Dr. Akihito Kazato มาเป็น วิทยากร ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรม จานวน 13 ท่าน วศรท และ สวทช. ดูงำนโรงงำนประกอบรถไฟประเทศมำเลเซีย 7 – 10 ส.ค. 59 สมาคม วิศวกรรมระบบขนส่งทางราง ไทย (วศรท) และ สานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยโครงการจัดตั้งสถาบัน พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่ง ทางรางแห่งชาติ จัดกิจกรรม ศึกษาดูงานโรงงานประกอบ รถไฟ ณ สหพันธรัฐมาเลเซีย เพื่อสารวจอุตสาหกรรมการผลิตรถไฟในประเทศมาเลเซีย โดยมี ผู้เข้าร่วมดูงานกว่า 40 คน จาก วศรท สวทช. และเครือข่ายผู้ประกอบการอุตสาหกรรมระบบ ขนส่งทางราง กำรประชุม วศร. ประจำเดือน กรกฎำคม 59 26 ก.ค. 59 เวลา 18.00 น. การประชุมเครือข่าย วศร. ประจาเดือน กรกฎาคม 2559 ณ ห้อง ปร ะชุ ม ชั้น 2 ส ถา นี รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ มักกะสัน โดยมี ดร.มนต์ชัย พินิจจิตรสมุทร วศร. 4 เป็น ประธานในที่ประชุม กำรบรรยำย เรื่อง กำรสื่อสำรไร้สำยสำหรับระบบขนส่งทำงรำง 1 ส.ค. 59 เวลา 10.00-12.00 น. การบรรยาย เรื่อง "การสื่อสารไร้ สายสาหรับระบบขนส่งทาง ราง (Wireless Technolo- gy for Rail System)" ณ ห้อง MP303-311 อาคาร MTEC Pilot Plant อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย จ.ปทุมธานี โดยผู้เชี่ยวชาญจาก METEOR COMMUNICATIONS LLC, RENTON, WA, U.S.A. ในการเดินทางมาเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการ สวทช. Page | 3
  • 4. ที่ปรึกษำ : คุณชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล กองบรรณำธิกำร : คุณทปกร เหมือนเตย คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง : วิทยำกรจำกญี่ปุ่นทดลองนั่งรถไฟฟ้ำสำยสีม่วง Dr. Akihito Kazato จาก Railway Technical Research Institute (RTRI) ประเทศญี่ปุ่น วิทยากรผู้มาบรรยายในการ อบรม Railway Engineering Intensive Course 5 : Rail- way Bogie ได้ทดลองนั่งรถไฟฟ้าสายฉลองรัชธรรม (สายสี ม่วง) หลังจากเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 6 ส.ค. 59 กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ) Khon Kaen Think tank (KKTT) KKTT หรือ ขอนแก่นพัฒนาเมือง เปิดตัวครั้งแรกต่อนักลงทุน ในงาน Investment Fest 2016 ในบูธที่ชื่อว่า รถรางเปลี่ยน เมือง ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เมื่อวันที่ 5 – 7 ส.ค. 59 ประชุมร่วมกับ รมว.กระทรวงกำรคลัง 11 ส.ค. 59 เวลา 15.00 น. การ ประชุมร่วมระหว่าง สวทช. วศรท และเครือข่ายอุตสาหกรรม ด้ า น ร ะ บ บ ร า ง ร่ ว ม กั บ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์) เพื่อ ขอคาแนะนาและหารือประเด็นการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางด้วยวิธี Offset/ICP Program ณ กระทรวงการคลัง ถ.พระรามที่ 6 รำยงำนข่ำว ช่อง 3 ดูโรงงำนรถไฟมำเลเซีย รายงานข่าวเกี่ยวกับสมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง ไทย (วศรท) และ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดดูงานการ ประกอบรถไฟ ณ ประเทศมาเลเซีย เมื่อ 7 – 10 ส.ค. 59 โ ด ย ส า ม า ร ถ ดู ค ลิ ป ข่ า ว ไ ด้ ที่ https:// www.facebook.com/t3traffic3/videos/515033642041125/ ประชุมติดตำมควำมก้ำวหน้ำแผนงำนวิจัย TOD 15 ส.ค. 59 เวลา 10.00 น. การประชุม ความก้าวหน้าแผนงานแนวทางการพัฒนาพื้นที่ บริเวณรอบสถานีขนส่งมวลชนระบบรางที่เอื้อ ต่อการใช้ระบบขนส่งสาธารณะเพื่อการ พัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมี รศ.ดร. ภาวิณี เอี่ยมตระกูล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็น หัวหน้าแผนงาน ณ ห้อง 103 อาคาร สวทช.-โยธี ถ.พระรามที่ 6 เขตราชเทวี โดยแผนงาน วิจัยนี้ทาการศึกษาการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต Page | 4 รถไฟฟ้ำสำยสีม่วงเปิดให้บริกำรแล้ว การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เปิดให้บริการ รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (สายสีม่วง) แก่ประชาชน อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 6 สิงหาคม 2559 โดยได้รับพระมหา กรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิดการเดินรถไฟฟ้า โดยรถไฟฟ้าสายนี้ ให้บริการในเส้นทางช่วง บางใหญ่ - บางซื่อ มีระยะทาง 23 กิโลเมตร จานวน 16 สถานี และอาคารจอดรถ 4 แห่ง บอกเล่ำประสบกำรณ์ดูงำนโรงงำนประกอบรถไฟมำเลเซีย ของประธำนรุ่น ค่ำยวิทยำศำสตร์ระบบรำง ครั้งที่ 1 นายคิโยชิ มณีแสง นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในฐานะประธานรุ่น ค่ายวิทยาศาสตร์ ระบบราง ครั้งที่ 1 ได้เดินทางเข้าร่วมกิจกรรมศึกษาดูงานโรงงานประกอบรถไฟ ณ สหพันธรัฐมาเลเซีย ได้ให้สัมภาษณ์กับกองบรรณาธิการถึงการไปดู งานครั้งนี้ว่า “ผมมองว่าจุดเด่นของการพัฒนาระบบรางของมาเลเซียก็คือ การพัฒนาที่พึ่งพาตนเอง โดยการนาเข้าเทคโนโลยีมีข้อกาหนดว่าต้องมีการ ถ่ายทอดความรู้แก่อุตสาหกรรมภายในประเทศด้วย โดยการบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน ซึ่งเป็นที่น่าสนใจและประเทศไทยควรส่งเสริม ในเรื่องนี้ให้มากๆ เพื่อว่าเราเองจะสามารถพึ่งพาตนเองได้เช่นกัน”