SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
กองบรรณาธิการ
หลังจากเขียนเรื่องการใช้บันไดเลื่อนโดยตบท้ายว่า “ใน
โตเกียวให้ยืนชิดขวา ส่วนในโอซาก้า ให้ยืนชิดซ้าย” ในฉบับที่ 2 พอ
ส่งออกไปก็มีคนค้านเข้ามาว่า ไม่ถูก ต้องกลับกัน คือ “ในโตเกียวให้
ยืนชิดซ้าย ส่วนโอซาก้าให้ยืนชิดขวา” ก็เลยค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม
เพราะเขียนจากความทรงจา ประกอบกับคิดว่า โตเกียว เป็นเมือง
หลวง น่าจะเรียนแบบตะวันตกคือ “Stand on the right” ส่วน
โอซาก้า ก็ไม่ทราบเหตุผลที่มา เมื่อมีผู้ท้วงติงและค้นข้อมูลจึงพบ
คาอธิบายดังนี้
“ในสมัยเอโดะนั้น เขตคันโต(โตเกียว) มีซามูไรอาศัยอยู่
เป็นจานวนมาก และซามูไรก็มักจะเดินชิดซ้ายเพื่อที่จะได้ชักดาบได้
สะดวก ในขณะที่เขตคันไซ(โอซาก้า) เป็นเมืองท่าและการค้าขาย จึง
มีพ่อค้าแม่ค้าเป็นจานวนมาก ซึ่งมักจะเดินชิดขวาเพื่อที่จะรักษา
ทรัพย์สินมีค่าไว้ ไม่ให้ขโมยที่เดินสวนมาหยิบไปได้ง่าย ต่อมาธรรม-
เนียมการยืนชิดขวาของโอซากาก็ได้รับความนิยมกันมากขึ้น เมื่อ
ทางการรถไฟ ฮังกิว ได้ประกาศให้คนยืนชิดขวา ซึ่งถือเป็นธรรม-
เนียมสากล เนื่องในโอกาสที่โอซาก้าได้เป็นเจ้าภาพงาน World
Expo ในปี 1970 จนกลายเป็นธรรมเนียมมาจนถึงปัจจุบัน ดังนั้นเรา
จึงเห็นคนใช้บันไดเลื่อนที่โตเกียวยืนชิดซ้าย ที่โอซาก้า ยืนชิดขวา”
ก็ชัดเจนด้วยเหตุผลครบถ้วน และขอขอบคุณที่ท้วงติงมา
แต่ยังเขียนไม่จบครับ คือจะเขียนต่อไปว่าคนที่ท้วงติงมาครั้งนี้เป็น
วศร.1 ที่ “ข่าวคราวเงียบหายไปสองสามปี” เมื่อส่งข่าวมาก็ดีใจ
เพราะต้องกันกับวัตถุประสงค์ของ Newsletter คือเป็นสื่อให้ชุมชน
ระบบรางมีความแน่นแฟ้นมากขึ้นเพราะผ่านมาถึงรุ่นที่ 4 แล้ว
เรากาลังมองหากลยุทธ์ที่จะนา เหล่าผู้ผ่านการฝึกอบรม
“หลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง” หรือ
วศร. ซึ่งเงียบหายไปหลายปี กลับมา
วัฒนธรรมการใช้บันไดเลื่อนของประเทศญี่ปุ่น
E-Newsletter ฉบับที่ 3 ประจาเดือนสิงหาคม 2557
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
Thailand Railway
Technology
Development
Institute Project
Page | 1
บทบรรณาธิการ :
วศร. Where are you?
ปฏิทินราง :
19 - 24 ส.ค. 57 วศร.4 กาหนดเดินทางทัศนศึกษาที่ประเทศญี่ปุ่น เพื่อ
ดูงานระบบขนส่งทางรางของประเทศญี่ปุ่น ที่สถาบันการวิจัยหน่วยงาน
การเดินรถ ศูนย์ซ่อมบารุง และทดลองนั่งรถไฟความเร็วสูง (Shinkansen)
จากโตเกียวไปนาโกยา
28 - 29 ส.ค. 57 สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) และเครือข่าย 19 องค์กร
พัฒนาคนและเทคโนโลยีขนส่งระบบราง จัดงานประชุมวิชาการด้านระบบ
ขนส่งทางรางของประเทศไทย ประจาปี 2557 และนิทรรศการด้าน
เทคโนโลยีระบบขนส่งทางราง Job Fair ระบบราง ณ ห้องบอลลูม ชั้น 2
โรงแรมสวิสโฮเต็ล เลอ คองคอร์ด กรุงเทพฯ ในงานที่มีชื่อว่า “การพัฒนา
ระบบขนส่งทางรางกับการปฏิรูปประเทศ (Rail Development for
National Reform)
26 ส.ค. 57 โครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัดดูงานการก่อสร้างอุโมงค์
รถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้าเงินช่วงสถานีสนามชัย-ท่าพระ เพื่อเป็นการ
ส่งเสริมความรู้ ขอเชิญชวนเครือข่ายระบบรางและผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม
นี้ได้โดยแจ้งความจานงที่ rail@nstda.or.th
1 ก.ย. 57 ประชุมคณะกรรมการโครงการความร่วมมือ TAIST-Tokyo
Tech ในปีนี้มีความคิดริเริ่มที่จะให้มีความร่วมมือ สนับสนุนการศึกษา
ระดับปริญญาโทด้านระบบราง โดยมีมหาวิทยาลัย 3 แห่งให้ความสนใจ
ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัย
นเรศวร โดยขณะนี้อยู่ระหว่างร่วมร่างรายละเอียดของหลักการ
ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมก่อสร้างระบบรางของไทย ได้มี
การขยายตลาดไปยังประเทศอินเดีย โดยเฉพาะงานก่อสร้างรถไฟฟ้าในเมือง
ต่างๆ ทั่วอินเดีย เช่น นิวเดลี บังคาลอร์ ไจปูร์ กัลกัตตา ซึ่ง บริษัท อิตาเลียน
ไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จากัด (มหาชน) หรือ ITD ได้ซื้อหุ้นบริษัทอินเดียชื่อ
Skanska Cementation India Limited จากบริษัท Skanska AB จากัด
(สวีเดน) เมื่อปี 2547 และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น ITD Cementation
India Limited (ITD Cem) ในปี 2548 โดย ITD เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ 70%
และได้ดาเนินงานก่อสร้างในประเทศอินเดียสาเร็จด้วยดีมาจนถึงปัจจุบัน
ทั้งนี้การก่อสร้างระบบรางในประเทศอินเดีย จะดาเนินการในนาม
ITD-ITD Cem Joint Venture (ITD-ITD Cem JV) ในสัดส่วน 51:49
ตามลาดับ โดยมี ITD และวิศวกรไทยเป็นผู้นา (Leader) ในการดาเนินงาน
และบริหารโครงการ รวมถึงการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีในการก่อสร้าง
ให้กับบุคลากรของ ITD Cem ซึ่งมีบทบาทสาคัญในการบริหารบุคลากร
ท้องถิ่นที่มีลักษณะเฉพาะ และประสานงานกับหน่วยราชการต่างๆ ให้
ดาเนินงานได้อย่างราบรื่น ปัจจุบัน ITD-ITD Cem JV ได้ก่อสร้างโครงการ
รถไฟฟ้าในประเทศอินเดียมาแล้ว 7 โครงการ ดังรายละเอียดในตาราง
จะเห็นได้ว่าผู้ประกอบการอุตสาหกรรมก่อสร้างและวิศวกรไทย มีศักยภาพที่จะไปแข่งขันกับผู้ประกอบการและวิศวกรจากประเทศอื่นๆ ได้ใน
ระดับสากล จึงควรมีการส่งเสริมและสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการพัฒนาบุคลากรโดยเฉพาะด้านวิศวกรรมระบบรางให้เกิดการพัฒนา สามารถ
แข่งขันกับนานาประเทศได้อย่างยั่งยืน
ทีมงานคนไทยในอินเดีย
Thailand Railway
Technology
Development
Institute Project
Page | 2
อุตสาหกรรมก่อสร้างระบบรางของไทยในอินเดีย
โดย ศรายุทธ ทองยศ วศร.1
ปกิณกะระบบราง :
ลาดับ โครงการ
มูลค่า
(ล้านบาท)
ลักษณะงาน สถานะ
1 Delhi Metro สัญญา BC-21 1,300 ออกแบบและก่อสร้างรถไฟฟ้ายกระดับ ระยะทาง
7.1 กม. พร้อมสถานี 5 สถานี
แล้วเสร็จเมื่อปี 2552
2 Delhi Metro สัญญา BC-24 6,900 ออกแบบและก่อสร้างรถไฟฟ้าใต้ดิน ระยะทาง 5.4
กม. พร้อมสถานี 3 สถานี
แล้วเสร็จเมื่อปี 2553
3 Bangalore Metro - Trackworks 1,900 ก่อสร้างงานวางราง (Trackworks) ระยะทาง 110
Track-Km
คาดว่าแล้วเสร็จปี 2557
4 Kolkata Metro สัญญา UG2 7,200 ออกแบบและก่อสร้างรถไฟฟ้าใต้ดิน ระยะทาง 4 กม.
พร้อมสถานี 3 สถานี
คาดว่าแล้วเสร็จปี 2559
5 Jaipur Metro สัญญา C-2 2,100 ก่อสร้างทางรถยนต์และรถไฟฟ้ายกระดับ ระยะทาง
5.3 กม.
คาดว่าแล้วเสร็จปี 2557
6 Delhi Metro สัญญา CC-26R 2,850 ออกแบบและก่อสร้างรถไฟฟ้ายกระดับ ระยะทาง 9
กม. พร้อมสถานี 8 สถานี
คาดว่าแล้วเสร็จปี 2558
7 Delhi Metro สัญญา CC-32 (UG-3) 3,900 ออกแบบและก่อสร้างรถไฟฟ้าใต้ดิน คาดว่าแล้วเสร็จปี 2559
รวม 26,150
E-Newsletter ฉบับที่ 3 ประจาเดือนสิงหาคม 2557
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ณ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร สวทช. โครงการจัดตั้ง
สถาบันฯ ร่วมกับ ตัวแทนเครือข่าย วศร. จัดพิธีส่งมอบเครื่อง
ฝึกหัดขับรถไฟจาลอง ให้กับ 3 หน่วยงาน คือ โรงเรียน
จิตรลดา(สายวิชาชีพ) องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
(อพวช.) และบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร สวทช. โดยมี
จุดประสงค์เพื่อให้เยาวชน ได้สัมผัสและสร้างความคุ้นเคยกับ
รถไฟ เป็นการจุดประกายความคิดเกี่ยวกับระบบรางตั้งแต่เด็ก
เครื่องฝึกหัดขับรถไฟจาลองนี้ เป็นผลงานการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่องของ ดร.ชุมพล ครุฑแก้ว วศร.1 ดร.เทอดเกียรติ
ลิมปิทีปราการ วศร.1 และ ดร.มานนท์ สุขละมัย วศร.3
26 ก.ค. 57 วศร.4 เข้าเยี่ยมชมรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงค์ และดูงานด้านการจัดการภายใน
สถานีมักกะสัน และ สถานีสุวรรณภูมิ
เสาร์ที่ 19 ก.ค. 57 มีการนัดประชุมเครือข่าย วศร. ประจาเดือนกรกฎาคม 2557
ณ อาคาร สวทช.(โยธี) ถ.พระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ เพื่อร่วมกันปรึกษาหารือ
วางแผน เสนอข้อคิดเห็น กับเครือข่าย วศร. และโครงการจัดตั้งสถาบันฯ โดยมีจุดประสงค์
เพื่อให้เกิดความร่วมมือกัน ในการพัฒนาทางด้านระบบขนส่งทางรางของประเทศ และ
ผลักดันการจัดตั้งสมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย
Thailand Railway
Technology
Development
Institute Project
Page | 3
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
17 ก.ค. 57 โครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัดพิธีส่งมอบเครื่องฝึกหัดขับรถไฟจาลอง (Train Driving Simulator)
19 ก.ค. 57 ประชุมเครือข่าย วศร. ประจาเดือน กรกฎาคม 2557
ผู้เข้าอบรม “หลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้าน
วิศวกรรมระบบขนส่งทางราง รุ่นที่ 4 หรือ วศร.4 เข้าเยี่ยม
ชมรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงค์ ทดลองนั่งรถไฟขบวน Express
Line และดูงานด้านการจัดการภายในสถานีมักกะสัน และ
สถานีสุวรรณภูมิ โดยมีวิทยากรคือ คุณสุเทพ พันเพ็ง วศร.3
เป็นผู้บรรยายและพาเยี่ยมชม
E-Newsletter ฉบับที่ 3 ประจาเดือนสิงหาคม 2557
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
31 ก.ค. 57 โครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัดดูงานการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีม่วง
เพื่อเป็นการส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้
โครงการจัดตั้งสถาบันฯ ร่วมกับ บริษัท อิตาเลียน-ไทย
ดีเวล๊อปเมนต์ จากัด (มหาชน) หรือ ITD ได้ให้ผู้สนใจที่
ร่วมลงทะเบียน เข้าเยี่ยมชมดูงานการก่อสร้างรถไฟฟ้า
สายสีม่วง ในช่วงสถานีแยกนนทบุรี 1 ถึง ศูนย์ซ่อม
บารุงสถานีคลองบางไผ่
การอบรมหลักสูตรวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางแบบเข้มข้น (Railway
Engineering Intensive Course) เรื่องการออกแบบโบกี้รถไฟและประเด็นอื่นที่
เกี่ยวข้องสาหรับปี 2557 ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน เขตดินแดง กรุงเทพฯ
โดยวิทยากรคือ Mr. Akihito Kazato , Running Gear Laboratory Vehicle
Structure Technology Division , Railway Technical Research Institute (RTRI)
ประเทศญี่ปุ่น ได้ดาเนินการเสร็จสิ้นไปเมื่อ 1 ส.ค. 57 สาหรับรุ่นที่ 3 มีผู้ผ่านการอบรม
ทั้งสิ้น 19 คน
วศร.1 จะผลักดันเรื่องการสร้างระบบขนส่งมวลชนสายรองในส่วนของภูมิภาค
เมื่ออังคารที่ 29 ก.ค. 57 แกนนาของ วศร.1 นาโดยคุณสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย ได้
นัดพบกันที่ร้านอิ๊คคิว ทองหล่อ เพื่อหารือเรื่องการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนสายรองในส่วน
ภูมิภาค มีผู้ร่วมหารือ 9 คน ประกอบด้วย ดร.ศิรดล
ศิริธร ดร.วิโรจน์ ศรีสุรภานนท์ ดร.วเรศรา วีระวัฒน์
ดร.เทอดเกียรติ ลิมปิทีปราการ ดร.เทอดศักดิ์
รองวิริยะพานิช อ.ชัยยศ ปีติเจตน์ คุณศุภฤทษ์
สุดยอดประเสริฐ คุณไพบูลย์ โชคไพรสิน ผลการ
หารือสรุปว่า จะผลักดันการพัฒนาระบบขนส่งมวลชน
สายรอง เป็นโครงการนาร่อง ในจังหวัดเป้าหมาย เห็น
รุ่น 1 แข็งขันขนาดนี้ วศร.รุ่นอื่นๆ จะว่าอย่างไร
เสวนา “พัฒนาระบบขนส่งทางรางของประเทศ
ไทย”
Thailand Railway
Technology
Development
Institute Project
Page | 4
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
8 ส.ค. 57 วศร.4 เป็นคณะกรรมการจัดงานเสวนา เรื่อง “พัฒนาระบบขนส่งทางรางของประเทศไทย ทาอย่างไร ?”
สังคมระบบราง :
ที่ปรึกษา : ดร.ชาตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมาตยกุล คุณสุนันท์ ตั้งมโนโสภา คุณวัฒนา สมานจิตร คุณชยากร ปิยะบัณฑิตกุล
กองบรรณาธิการ : คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนาชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทปกร เหมือนเตย คุณทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล
ผู้ดาเนินการ : โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ rail@nstda.or.th
1 ส.ค. 57 อบรม Intensive Course - Railway Bogie
เพื่อระดมความคิดเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ต่อทิศทางการพัฒนาระบบขนส่งทางรางของประเทศ
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมจราจรและ
ขนส่ง สมาคมวิชาการเทคนิคไทย-ฝรั่งเศส (TFTA) และ สวทช. ร่วมกับภาคีเครือข่ายองค์กรวิชาชีพวิศวกรรม ได้จัดงาน
เสวนาเรื่อง “พัฒนาระบบขนส่งรางของประเทศไทย ทาอย่างไร?” ที่สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร
(สนข.) โดยได้รับความสนใจจากบุคลากรหลายภาคส่วน รวมถึงสื่อมวลชนหลายสานัก และมีผู้มาร่วมงานเสวนามากกว่า
200 คน ทั้งยังได้รับเกียรติจากบุคคลสาคัญ อาทิเช่น ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อานวยการ สวทช. ศ.ดร.สุชัชวีร์
สุวรรณสวัสดิ์ นายก วสท. คุณปิยะ เศรษฐรัตนพงษ์ ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมจราจรและขนส่ง วสท.
ดร.เทอดเกียรติ ลิมปิทีปราการ เลขานุการสมาคม TFTA เข้าร่วมรับฟังการเสวนา โดยมีคุณนคร จันทศร คุณสาวิตรี
รัตนจันทร์ คุณพิพัฒน์ โลราช คุณสุวิทย์ รัตนจินดา คุณรักพล สาระนาค มาเป็นผู้เสวนาหลัก คณะกรรมการดาเนินการ
จัดงานครั้งนี้ดาเนินการโดย วศร.4 โดย ดร.มนต์ชัย พินิจจิตรสมุทร ประธาน วศร.4 เป็นประธานคณะกรรมการฯ
ผู้ผ่านการอบรม Intensive Course รุ่นที่ 3
ขอแสดงความยินดีกับ ดร.มาโนช โลหเตปานนท์ วศร.4
สืบเนื่องจากคาสั่ง คสช.ฉบับที่ 110/2557
ได้แต่งตั้งให้ ดร.มาโนช โลหเตปานนท์ วศร.4 เป็น
คณะกรรมการที่ปรึกษาของ
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ด้านโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคม
จึงขอแสดงความยินดีและฝาก
อนาคตของการพัฒนาระบบรางไว้ที่
ท่านด้วย
E-Newsletter ฉบับที่ 3 ประจาเดือนสิงหาคม 2557
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
กาหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทความ หรือ ข่าวสาร
เพื่อการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบขนส่งทางราง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (7)

NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014
 
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
 
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
 
Embedded android development (e book)
Embedded android development (e book)Embedded android development (e book)
Embedded android development (e book)
 
ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)
ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)
ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
 

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 3

  • 1. กองบรรณาธิการ หลังจากเขียนเรื่องการใช้บันไดเลื่อนโดยตบท้ายว่า “ใน โตเกียวให้ยืนชิดขวา ส่วนในโอซาก้า ให้ยืนชิดซ้าย” ในฉบับที่ 2 พอ ส่งออกไปก็มีคนค้านเข้ามาว่า ไม่ถูก ต้องกลับกัน คือ “ในโตเกียวให้ ยืนชิดซ้าย ส่วนโอซาก้าให้ยืนชิดขวา” ก็เลยค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม เพราะเขียนจากความทรงจา ประกอบกับคิดว่า โตเกียว เป็นเมือง หลวง น่าจะเรียนแบบตะวันตกคือ “Stand on the right” ส่วน โอซาก้า ก็ไม่ทราบเหตุผลที่มา เมื่อมีผู้ท้วงติงและค้นข้อมูลจึงพบ คาอธิบายดังนี้ “ในสมัยเอโดะนั้น เขตคันโต(โตเกียว) มีซามูไรอาศัยอยู่ เป็นจานวนมาก และซามูไรก็มักจะเดินชิดซ้ายเพื่อที่จะได้ชักดาบได้ สะดวก ในขณะที่เขตคันไซ(โอซาก้า) เป็นเมืองท่าและการค้าขาย จึง มีพ่อค้าแม่ค้าเป็นจานวนมาก ซึ่งมักจะเดินชิดขวาเพื่อที่จะรักษา ทรัพย์สินมีค่าไว้ ไม่ให้ขโมยที่เดินสวนมาหยิบไปได้ง่าย ต่อมาธรรม- เนียมการยืนชิดขวาของโอซากาก็ได้รับความนิยมกันมากขึ้น เมื่อ ทางการรถไฟ ฮังกิว ได้ประกาศให้คนยืนชิดขวา ซึ่งถือเป็นธรรม- เนียมสากล เนื่องในโอกาสที่โอซาก้าได้เป็นเจ้าภาพงาน World Expo ในปี 1970 จนกลายเป็นธรรมเนียมมาจนถึงปัจจุบัน ดังนั้นเรา จึงเห็นคนใช้บันไดเลื่อนที่โตเกียวยืนชิดซ้าย ที่โอซาก้า ยืนชิดขวา” ก็ชัดเจนด้วยเหตุผลครบถ้วน และขอขอบคุณที่ท้วงติงมา แต่ยังเขียนไม่จบครับ คือจะเขียนต่อไปว่าคนที่ท้วงติงมาครั้งนี้เป็น วศร.1 ที่ “ข่าวคราวเงียบหายไปสองสามปี” เมื่อส่งข่าวมาก็ดีใจ เพราะต้องกันกับวัตถุประสงค์ของ Newsletter คือเป็นสื่อให้ชุมชน ระบบรางมีความแน่นแฟ้นมากขึ้นเพราะผ่านมาถึงรุ่นที่ 4 แล้ว เรากาลังมองหากลยุทธ์ที่จะนา เหล่าผู้ผ่านการฝึกอบรม “หลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง” หรือ วศร. ซึ่งเงียบหายไปหลายปี กลับมา วัฒนธรรมการใช้บันไดเลื่อนของประเทศญี่ปุ่น E-Newsletter ฉบับที่ 3 ประจาเดือนสิงหาคม 2557 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute Project Page | 1 บทบรรณาธิการ : วศร. Where are you? ปฏิทินราง : 19 - 24 ส.ค. 57 วศร.4 กาหนดเดินทางทัศนศึกษาที่ประเทศญี่ปุ่น เพื่อ ดูงานระบบขนส่งทางรางของประเทศญี่ปุ่น ที่สถาบันการวิจัยหน่วยงาน การเดินรถ ศูนย์ซ่อมบารุง และทดลองนั่งรถไฟความเร็วสูง (Shinkansen) จากโตเกียวไปนาโกยา 28 - 29 ส.ค. 57 สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) และเครือข่าย 19 องค์กร พัฒนาคนและเทคโนโลยีขนส่งระบบราง จัดงานประชุมวิชาการด้านระบบ ขนส่งทางรางของประเทศไทย ประจาปี 2557 และนิทรรศการด้าน เทคโนโลยีระบบขนส่งทางราง Job Fair ระบบราง ณ ห้องบอลลูม ชั้น 2 โรงแรมสวิสโฮเต็ล เลอ คองคอร์ด กรุงเทพฯ ในงานที่มีชื่อว่า “การพัฒนา ระบบขนส่งทางรางกับการปฏิรูปประเทศ (Rail Development for National Reform) 26 ส.ค. 57 โครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัดดูงานการก่อสร้างอุโมงค์ รถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้าเงินช่วงสถานีสนามชัย-ท่าพระ เพื่อเป็นการ ส่งเสริมความรู้ ขอเชิญชวนเครือข่ายระบบรางและผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม นี้ได้โดยแจ้งความจานงที่ rail@nstda.or.th 1 ก.ย. 57 ประชุมคณะกรรมการโครงการความร่วมมือ TAIST-Tokyo Tech ในปีนี้มีความคิดริเริ่มที่จะให้มีความร่วมมือ สนับสนุนการศึกษา ระดับปริญญาโทด้านระบบราง โดยมีมหาวิทยาลัย 3 แห่งให้ความสนใจ ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัย นเรศวร โดยขณะนี้อยู่ระหว่างร่วมร่างรายละเอียดของหลักการ
  • 2. ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมก่อสร้างระบบรางของไทย ได้มี การขยายตลาดไปยังประเทศอินเดีย โดยเฉพาะงานก่อสร้างรถไฟฟ้าในเมือง ต่างๆ ทั่วอินเดีย เช่น นิวเดลี บังคาลอร์ ไจปูร์ กัลกัตตา ซึ่ง บริษัท อิตาเลียน ไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จากัด (มหาชน) หรือ ITD ได้ซื้อหุ้นบริษัทอินเดียชื่อ Skanska Cementation India Limited จากบริษัท Skanska AB จากัด (สวีเดน) เมื่อปี 2547 และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น ITD Cementation India Limited (ITD Cem) ในปี 2548 โดย ITD เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ 70% และได้ดาเนินงานก่อสร้างในประเทศอินเดียสาเร็จด้วยดีมาจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้การก่อสร้างระบบรางในประเทศอินเดีย จะดาเนินการในนาม ITD-ITD Cem Joint Venture (ITD-ITD Cem JV) ในสัดส่วน 51:49 ตามลาดับ โดยมี ITD และวิศวกรไทยเป็นผู้นา (Leader) ในการดาเนินงาน และบริหารโครงการ รวมถึงการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีในการก่อสร้าง ให้กับบุคลากรของ ITD Cem ซึ่งมีบทบาทสาคัญในการบริหารบุคลากร ท้องถิ่นที่มีลักษณะเฉพาะ และประสานงานกับหน่วยราชการต่างๆ ให้ ดาเนินงานได้อย่างราบรื่น ปัจจุบัน ITD-ITD Cem JV ได้ก่อสร้างโครงการ รถไฟฟ้าในประเทศอินเดียมาแล้ว 7 โครงการ ดังรายละเอียดในตาราง จะเห็นได้ว่าผู้ประกอบการอุตสาหกรรมก่อสร้างและวิศวกรไทย มีศักยภาพที่จะไปแข่งขันกับผู้ประกอบการและวิศวกรจากประเทศอื่นๆ ได้ใน ระดับสากล จึงควรมีการส่งเสริมและสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการพัฒนาบุคลากรโดยเฉพาะด้านวิศวกรรมระบบรางให้เกิดการพัฒนา สามารถ แข่งขันกับนานาประเทศได้อย่างยั่งยืน ทีมงานคนไทยในอินเดีย Thailand Railway Technology Development Institute Project Page | 2 อุตสาหกรรมก่อสร้างระบบรางของไทยในอินเดีย โดย ศรายุทธ ทองยศ วศร.1 ปกิณกะระบบราง : ลาดับ โครงการ มูลค่า (ล้านบาท) ลักษณะงาน สถานะ 1 Delhi Metro สัญญา BC-21 1,300 ออกแบบและก่อสร้างรถไฟฟ้ายกระดับ ระยะทาง 7.1 กม. พร้อมสถานี 5 สถานี แล้วเสร็จเมื่อปี 2552 2 Delhi Metro สัญญา BC-24 6,900 ออกแบบและก่อสร้างรถไฟฟ้าใต้ดิน ระยะทาง 5.4 กม. พร้อมสถานี 3 สถานี แล้วเสร็จเมื่อปี 2553 3 Bangalore Metro - Trackworks 1,900 ก่อสร้างงานวางราง (Trackworks) ระยะทาง 110 Track-Km คาดว่าแล้วเสร็จปี 2557 4 Kolkata Metro สัญญา UG2 7,200 ออกแบบและก่อสร้างรถไฟฟ้าใต้ดิน ระยะทาง 4 กม. พร้อมสถานี 3 สถานี คาดว่าแล้วเสร็จปี 2559 5 Jaipur Metro สัญญา C-2 2,100 ก่อสร้างทางรถยนต์และรถไฟฟ้ายกระดับ ระยะทาง 5.3 กม. คาดว่าแล้วเสร็จปี 2557 6 Delhi Metro สัญญา CC-26R 2,850 ออกแบบและก่อสร้างรถไฟฟ้ายกระดับ ระยะทาง 9 กม. พร้อมสถานี 8 สถานี คาดว่าแล้วเสร็จปี 2558 7 Delhi Metro สัญญา CC-32 (UG-3) 3,900 ออกแบบและก่อสร้างรถไฟฟ้าใต้ดิน คาดว่าแล้วเสร็จปี 2559 รวม 26,150 E-Newsletter ฉบับที่ 3 ประจาเดือนสิงหาคม 2557 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
  • 3. ณ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร สวทช. โครงการจัดตั้ง สถาบันฯ ร่วมกับ ตัวแทนเครือข่าย วศร. จัดพิธีส่งมอบเครื่อง ฝึกหัดขับรถไฟจาลอง ให้กับ 3 หน่วยงาน คือ โรงเรียน จิตรลดา(สายวิชาชีพ) องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) และบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร สวทช. โดยมี จุดประสงค์เพื่อให้เยาวชน ได้สัมผัสและสร้างความคุ้นเคยกับ รถไฟ เป็นการจุดประกายความคิดเกี่ยวกับระบบรางตั้งแต่เด็ก เครื่องฝึกหัดขับรถไฟจาลองนี้ เป็นผลงานการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องของ ดร.ชุมพล ครุฑแก้ว วศร.1 ดร.เทอดเกียรติ ลิมปิทีปราการ วศร.1 และ ดร.มานนท์ สุขละมัย วศร.3 26 ก.ค. 57 วศร.4 เข้าเยี่ยมชมรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงค์ และดูงานด้านการจัดการภายใน สถานีมักกะสัน และ สถานีสุวรรณภูมิ เสาร์ที่ 19 ก.ค. 57 มีการนัดประชุมเครือข่าย วศร. ประจาเดือนกรกฎาคม 2557 ณ อาคาร สวทช.(โยธี) ถ.พระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ เพื่อร่วมกันปรึกษาหารือ วางแผน เสนอข้อคิดเห็น กับเครือข่าย วศร. และโครงการจัดตั้งสถาบันฯ โดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้เกิดความร่วมมือกัน ในการพัฒนาทางด้านระบบขนส่งทางรางของประเทศ และ ผลักดันการจัดตั้งสมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย Thailand Railway Technology Development Institute Project Page | 3 กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : 17 ก.ค. 57 โครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัดพิธีส่งมอบเครื่องฝึกหัดขับรถไฟจาลอง (Train Driving Simulator) 19 ก.ค. 57 ประชุมเครือข่าย วศร. ประจาเดือน กรกฎาคม 2557 ผู้เข้าอบรม “หลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวกรรมระบบขนส่งทางราง รุ่นที่ 4 หรือ วศร.4 เข้าเยี่ยม ชมรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงค์ ทดลองนั่งรถไฟขบวน Express Line และดูงานด้านการจัดการภายในสถานีมักกะสัน และ สถานีสุวรรณภูมิ โดยมีวิทยากรคือ คุณสุเทพ พันเพ็ง วศร.3 เป็นผู้บรรยายและพาเยี่ยมชม E-Newsletter ฉบับที่ 3 ประจาเดือนสิงหาคม 2557 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 31 ก.ค. 57 โครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัดดูงานการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีม่วง เพื่อเป็นการส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ โครงการจัดตั้งสถาบันฯ ร่วมกับ บริษัท อิตาเลียน-ไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จากัด (มหาชน) หรือ ITD ได้ให้ผู้สนใจที่ ร่วมลงทะเบียน เข้าเยี่ยมชมดูงานการก่อสร้างรถไฟฟ้า สายสีม่วง ในช่วงสถานีแยกนนทบุรี 1 ถึง ศูนย์ซ่อม บารุงสถานีคลองบางไผ่
  • 4. การอบรมหลักสูตรวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางแบบเข้มข้น (Railway Engineering Intensive Course) เรื่องการออกแบบโบกี้รถไฟและประเด็นอื่นที่ เกี่ยวข้องสาหรับปี 2557 ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน เขตดินแดง กรุงเทพฯ โดยวิทยากรคือ Mr. Akihito Kazato , Running Gear Laboratory Vehicle Structure Technology Division , Railway Technical Research Institute (RTRI) ประเทศญี่ปุ่น ได้ดาเนินการเสร็จสิ้นไปเมื่อ 1 ส.ค. 57 สาหรับรุ่นที่ 3 มีผู้ผ่านการอบรม ทั้งสิ้น 19 คน วศร.1 จะผลักดันเรื่องการสร้างระบบขนส่งมวลชนสายรองในส่วนของภูมิภาค เมื่ออังคารที่ 29 ก.ค. 57 แกนนาของ วศร.1 นาโดยคุณสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย ได้ นัดพบกันที่ร้านอิ๊คคิว ทองหล่อ เพื่อหารือเรื่องการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนสายรองในส่วน ภูมิภาค มีผู้ร่วมหารือ 9 คน ประกอบด้วย ดร.ศิรดล ศิริธร ดร.วิโรจน์ ศรีสุรภานนท์ ดร.วเรศรา วีระวัฒน์ ดร.เทอดเกียรติ ลิมปิทีปราการ ดร.เทอดศักดิ์ รองวิริยะพานิช อ.ชัยยศ ปีติเจตน์ คุณศุภฤทษ์ สุดยอดประเสริฐ คุณไพบูลย์ โชคไพรสิน ผลการ หารือสรุปว่า จะผลักดันการพัฒนาระบบขนส่งมวลชน สายรอง เป็นโครงการนาร่อง ในจังหวัดเป้าหมาย เห็น รุ่น 1 แข็งขันขนาดนี้ วศร.รุ่นอื่นๆ จะว่าอย่างไร เสวนา “พัฒนาระบบขนส่งทางรางของประเทศ ไทย” Thailand Railway Technology Development Institute Project Page | 4 กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : 8 ส.ค. 57 วศร.4 เป็นคณะกรรมการจัดงานเสวนา เรื่อง “พัฒนาระบบขนส่งทางรางของประเทศไทย ทาอย่างไร ?” สังคมระบบราง : ที่ปรึกษา : ดร.ชาตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมาตยกุล คุณสุนันท์ ตั้งมโนโสภา คุณวัฒนา สมานจิตร คุณชยากร ปิยะบัณฑิตกุล กองบรรณาธิการ : คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนาชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทปกร เหมือนเตย คุณทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล ผู้ดาเนินการ : โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ rail@nstda.or.th 1 ส.ค. 57 อบรม Intensive Course - Railway Bogie เพื่อระดมความคิดเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ต่อทิศทางการพัฒนาระบบขนส่งทางรางของประเทศ สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) โดยคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมจราจรและ ขนส่ง สมาคมวิชาการเทคนิคไทย-ฝรั่งเศส (TFTA) และ สวทช. ร่วมกับภาคีเครือข่ายองค์กรวิชาชีพวิศวกรรม ได้จัดงาน เสวนาเรื่อง “พัฒนาระบบขนส่งรางของประเทศไทย ทาอย่างไร?” ที่สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) โดยได้รับความสนใจจากบุคลากรหลายภาคส่วน รวมถึงสื่อมวลชนหลายสานัก และมีผู้มาร่วมงานเสวนามากกว่า 200 คน ทั้งยังได้รับเกียรติจากบุคคลสาคัญ อาทิเช่น ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อานวยการ สวทช. ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายก วสท. คุณปิยะ เศรษฐรัตนพงษ์ ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมจราจรและขนส่ง วสท. ดร.เทอดเกียรติ ลิมปิทีปราการ เลขานุการสมาคม TFTA เข้าร่วมรับฟังการเสวนา โดยมีคุณนคร จันทศร คุณสาวิตรี รัตนจันทร์ คุณพิพัฒน์ โลราช คุณสุวิทย์ รัตนจินดา คุณรักพล สาระนาค มาเป็นผู้เสวนาหลัก คณะกรรมการดาเนินการ จัดงานครั้งนี้ดาเนินการโดย วศร.4 โดย ดร.มนต์ชัย พินิจจิตรสมุทร ประธาน วศร.4 เป็นประธานคณะกรรมการฯ ผู้ผ่านการอบรม Intensive Course รุ่นที่ 3 ขอแสดงความยินดีกับ ดร.มาโนช โลหเตปานนท์ วศร.4 สืบเนื่องจากคาสั่ง คสช.ฉบับที่ 110/2557 ได้แต่งตั้งให้ ดร.มาโนช โลหเตปานนท์ วศร.4 เป็น คณะกรรมการที่ปรึกษาของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ด้านโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคม จึงขอแสดงความยินดีและฝาก อนาคตของการพัฒนาระบบรางไว้ที่ ท่านด้วย E-Newsletter ฉบับที่ 3 ประจาเดือนสิงหาคม 2557 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กาหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทความ หรือ ข่าวสาร เพื่อการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบขนส่งทางราง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th