SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
สถานการณพลังงานและโรงไฟฟาในปจจุบัน
http://www.egat.co.th/index.php?option=com_egatstatis
tics&Itemid=881&view=hellos&key=1
http://www.egat.co.th/index.php?option=com_egatstatis
tics&Itemid=881&view=hellos&key=2
ขอมูลป 2549
• กฟผ. ภูมิใจ เปนรายแรกของโลก สงโรงไฟฟาหนองจอก ชวยญี่ปุนกูวิกฤติไฟฟาขาดแคลน
(http://maemoh.egat.com/index/index.php , มีนาคม 2554)
• กฟผ. สงมอบโรงไฟฟา 2 เครื่อง ไปชวยผลิตกระแสไฟฟาที่ญี่ปุนชั่วคราว โดยไมคิดคาเชา
  ตามคํารองขอของบริษัทผลิตไฟฟาโตเกียว หรือ TEPCO ผูวาการ เผย กฟผ. เปน
  หนวยงานแรกที่ชวยเหลือญี่ปุนในเรื่องนี้ ดานทูตญี่ปุนซึ้งใจ การชวยเหลือของ กฟผ. ครั้งนี้
  ทําใหญี่ปุนมีไฟใชไดถึง 24,000 ครัวเรือน
• สําหรับโรงไฟฟากังหันกาซทั้ง 2 เครื่องที่จะสงไปชวยเหลือปจจุบันนี้ กฟผ.ไมไดใชเดินเครื่อง
  ผลิตไฟฟา เนื่องจากเปนโรงไฟฟาที่ใชน้ํามันดีเซลเปนเชื้อเพลิง จึงมีตนทุนการผลิตสูง และ
  จะนํามาใชงานเฉพาะกรณีกําลังผลิตไฟฟาไมเพียงพอเทานั้น แตอยูในสภาพพรอมใชงาน
  เพราะไดรับการดูแลเปนอยางดี ทั้งนี้ เมื่อนําไปใชที่ประเทศญี่ปุน จะถูกปรับระบบไปใชกาซ
  ธรรมชาติแทน เนื่องจากราคาถูกกวาและเปนเชื้อเพลิงมาตรฐานของญี่ปุนอยูแลว จึงมีทอสง
  กาซไวรองรับพรอมใชงานไดทันทีที่ติดตั้งแลวเสร็จ โดยญี่ปุนจะขอยืมใชโรงไฟฟาหนองจอก
  เปนเวลาประมาณ 3-5 ป ในระหวางที่ทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศ (IAEA)
  ดําเนินกระบวนการตรวจสอบความพรอมใชงานโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร ในประเทศญี่ปุน
  หลังไดรับผลกระทบจากเหตุแผนดินไหวและสึนามิ
• คา FT เปน ลบ (จากหนังสือพิมพฐานเศรษฐกิจฉบับที่ 2,658 4 - 6 สิงหาคม พ.ศ. 2554)
• กระทรวงพลังงานประเมินความเสียหายทอกาซรั่วเบื้องตนประมาณ 2,500 ลานบาท ลดลง
  จากเดิมที่ทําไวเกือบเทาตัว หลังไดอานิสงสน้ําจากเขื่อนในสปป.ลาว และในประเทศชวยผลิต
  ไฟฟาเพิ่มแทนการใชน้ํามันเตา คาดความเสียหายที่เกิดขึ้น คาดปตท.และฮุนได รับภาระ
  แทนประชาชน เพราะสงกาซใหกฟผ.ไมได ยันหลังวันที่ 4 ส.ค.ซอมทอเสร็จ พรอมเปด
  ดําเนินตามปกติ
• ดังนั้น จากแผนเดิมที่จะตองใชน้ํามันเตา และกาซแอลเอ็นจีนําเขาในปริมาณมาก เมื่อมีไฟฟา
  จากพลังน้ําเขามาชวยเสริมจึงชวยลดตนทุนคาเชื้อเพลิงผลิตไฟฟาไดมากตามดวย โดยมีการ
  ประเมินวา ความเสียหายที่เกิดจากสวนตางของคาเชื้อเพลิงและคาดําเนินการตางๆ จะลดลง
  มาระดับประมาณ 2,500 ลานบาท ซึ่งในสวนนี้หากพิจารณาเบื้องตน ผูที่จะรับภาระในสวนนี้
  ไป คงจะเปนบมจ.ปตท.เนื่องจากไมสามารถสงกาซธรรมชาติใหกฟผ.ไดตามสัญญา รวมถึง
  บริษัท ฮุนได เฮฟวี่ อินดัสตรี จํากัด ในฐานะผูรับเหมากอสรางทอกาซ ซึ่งเปนตนเหตุทําให
  เกิดการรั่วไหลของกาซ
• และคาไฟฟาที่ซื้อมีราคาถูกเพียง 1.06-1.45 บาทตอหนวยเทานั้น และมีการใชน้ํามันเตาผลิต
  ไฟฟาเพียง 114 ลานลิตร ดังนั้น ความเสียหายที่เกิดจากสวนตางของราคาคาเชื้อเพลิงจึงต่ํา
  กวาที่ประมาณการไวมาก
Georgswerder Energy Hill




http://www.iba-hamburg.de/en/themes-
projects/energieberg-georgswerder/projekt/energy-hill-
georgswerder.html
Georgswerder Energy Hill
• In common with the Wilhelmsburg Flak Bunker, the around 40 metre high green hill
  in Georgswerder, visible for miles around, has a chequered history. Following WWII
  building rubble and household waste were piled up on the flat meadows to the north-
  east of Wilhelmsburg; this was later joined by hazardous industrial waste such as
  paint and coatings. The landfill site was officially closed in 1979, however in 1983 it
  was discovered that highly poisonous dioxin was escaping from the foot of the
  artificial hill and penetrating into the groundwater. As a result of this, the landfill hill
  and the subsoil had to be secured in an expensive procedure – in close contact with
  the Georgswerder Working Group and residents living in the immediate vicinity.
  Following this, the landfill landscape was covered with a plastic sealing sheet and
  topsoil and a first wind turbine was erected on the site. A comprehensive range of
  technical measures is still in use today to protect the groundwater.
ความสําคัญของแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟา
      (Power Development Plan : PDP)
PDP
• เพื่อรองรับนโยบายเสริมสรางความมั่นคงทางดานพลังงานไฟฟาของ
  กระทรวงพลังงานจึงตองมีการจัดทําแผน PDP เพื่อเปนแผนจัดหา
  ไฟฟาในระยะยาวใหเพียงพอตอการพัฒนาประเทศทั้งทางดาน
  เศรษฐกิจและสังคม เนื่องจาก การกอสรางโรงไฟฟาตองใชระยะ
  เวลานานประมาณ 3-5 ป ขึ้นอยูกับประเภทโรงไฟฟา
• แผน PDP เปนแผนการขยายกําลังการผลิตไฟฟาและระบบสง
  ไฟฟาของประเทศในอนาคต 15-20 ป ซึ่งจะมีการทบทวนแผน
  ดังกลาวเมื่อมีการปรับปรุงคาพยากรณความตองการไฟฟาให
  สอดคลองกับสภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป
• ในแผนดังกลาวจะระบุคาพยากรณความตองการพลังไฟฟา ซึ่ง
  มีความสําคัญตอการวางแผน PDP หากการพยากรณความ
  ตองการไฟฟามีความถูกตองและแมนยํา จะทําใหการลงทุนใน
  การขยายกําลังการผลิตไฟฟาเพื่อรองรับความตองการไฟฟาที่
  เพิ่มขึ้นอยูในระดับที่เหมาะสม
• ระบุถึงโครงการโรงไฟฟาขนาดใหญที่ใชเชื้อเพลิงกาซธรรมชาติ ถานหิน
  และนิวเคลียร โครงการขนาดเล็กและเล็กมาก ทั้งที่เปนระบบ
  Cogeneration และพลังงานหมุนเวียน เชื้อเพลิงที่ใชในการผลิต การ
  ขยายระบบสงไฟฟา ประมาณการเงินลงทุนการขยายกําลังการผลิต
  ไฟฟาและระบบสงไฟฟา ผลกระทบคาไฟฟา และปริมาณการปลอยกาซ
  เรือนกระจกจากภาคการผลิตไฟฟา เปนตน
สรุปสาระสําคัญแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย
               พ.ศ. 2553-2573 (PDP 2010)

1. เหตุผลความจําเปนการจัดทําแผน PDP 2010
2. การจัดทําแผน PDP
3. สมมติฐานแผน PDP 2010
4. แผน PDP 2010 (2553-2573) ซึ่งเปนแผนจัดหาไฟฟาในระยะยาว 20 ป
เหตุผลความจําเปนการจัดทําแผน PDP 2010
- เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในการลงทุนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศ
• โดยระบุโครงการ EGAT, IPP, SPP และ VSPP ที่มีกําหนดการจาย
   ไฟฟาชัดเจนแลวเขาไวในแผน
   –   EGAT : กฟผ
   –   IPP : Independence Power Producer
   –   SPP : Small Power Producer
   –   VSPP : Very Small Power Producer
- เพื่อดําเนินการตามมติ กพช. (คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ) อยาง
    เปนรูปธรรมโดยเร็ว
• นโยบายสงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนตามแผนพัฒนาพลังงาน
    ทดแทน 15 ป
• นโยบายสงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนตามมาตรการ ADDER
    (สวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟาสําหรับผูผลิตไฟฟาพลังงานหมุนเวียน)
• นโยบายการสงเสริมการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพโดยผลิตไฟฟาดวย
    ระบบ Cogeneration
- เพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากภาคการผลิตไฟฟา ตามนโยบายการลด
    ภาวะโลกรอน
- เพื่อปรับแผน PDP ใหสอดคลองกับสภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศ
      พ.ศ. 2555-2573 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3)
• แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ. 2553 – 2573 (PDP2010)
  ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) และ
  คณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2553 และวันที่ 23 มีนาคม 2553
  ตามลําดับ โดยไดเนนในเรื่องความมั่นคงและความเพียงพอของกําลังการผลิต
  ไฟฟา ควบคูไปกับนโยบายของกระทรวงพลังงานในเรื่องการดูแลรักษา
  สิ่งแวดลอม การเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน สงเสริมใหมีการผลิตไฟฟา
  จากพลังงานหมุนเวียนที่สอดคลองกับ แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป และ
  การสงเสริมการผลิตไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพดวยระบบการผลิต พลังงาน
  ความรอนและไฟฟารวมกัน (Cogeneration)

http://www.eppo.go.th/power/PDP2010-r3/PDP2010-Rev3-Cab19Jun2012-T.pdf
• ในป 2553 ความตองการพลังไฟฟาสูงสุด (Peak) ที่เกิดขึ้นจริงสูงกวา
  ที่ไดพยากรณไว และมีแนวโนมวาความตองการใชไฟฟาจะเพิ่มสูงขึ้น
  อยางตอเนื่อง ประกอบกับการเกิดปญหาความลาชาในการกอสราง
  โรงไฟฟาเอกชนรายใหญ (IPP) ทําใหเกิดความเสี่ยงในเรื่องของกําลัง
  ผลิตไฟฟาสํารองที่จะมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ภาครัฐจึงได
  กําหนดแนวทางในการแกไขปญหาในระยะเรงดวนป 2554 - 2562
  โดยการปรับปรุงแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา (PDP2010 ฉบับ
  ปรับปรุงครั้งที่ 1) ซึ่ง กพช. ไดมีมติเห็นชอบแนวทางการแกไขปญหา
  ในระยะเรงดวนป 2555 - 2562 เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 และ
  ครม. มีมติเห็นชอบตามมติ กพช. เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2553
• ตอมาเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ไดเกิดเหตุการณแผนดินไหวและเกิดคลื่นสึนามิทาง
  ชายฝงทะเลตะวันออกของประเทศญี่ปุน ทําใหเกิดปญหาอยางรุนแรงตอเตาปฏิกรณ
  ของโรงไฟฟานิวเคลียรฟูกุชิมะไดอิจิ (Fukushima Daiichi) และเกิดการรั่วไหลของ
  สารกัมมันตรังสี จากเหตุการณดังกลาว สงผลกระทบตอความเชื่อมั่นและการยอมรับ
  การพัฒนาโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรในประเทศไทย ทําใหกระทรวงพลังงานเสนอ
  ใหมีการปรับเลื่อนกําหนดการจายไฟฟาเขาระบบในเชิงพาณิชยของโครงการ
  โรงไฟฟานิวเคลียรตาม PDP2010 ออกไปกอน โดยเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554
  ครม. มีมติเห็นชอบการปรับปรุงแผน PDP2010 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 ตามมติ กพช.
  เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2554 โดยเห็นชอบใหปรับเลื่อนกําหนดการเขาระบบของ
  โครงการโรงไฟฟานิวเคลียรออกไป 3 ป (จากแผนเดิม โครงการโรงไฟฟานิวเคลียร
  โรงแรกซึ่งจะเขาระบบในป 2563 เลื่อนออกไปเปนป 2566) เพื่อใหมีการทบทวน
  มาตรการความปลอดภัยทางนิวเคลียร (Nuclear Safety) และการเตรียมความพรอม
  ในดานตางๆ เชน ดานกฎหมาย (Legislative Framework) ดานการกํากับดูแล
  (Regulatory Framework)และดานการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย
  (Stakeholder Involvement) เปนตน รวมถึงการเตรียมแผนรองรับเพิ่มเติม
• ปจจุบัน ครม. มีมติเห็นชอบในการประชุมวันที่ 27 ธันวาคม 2554 ตามมติ กพช.เมื่อ
  วันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 เห็นชอบแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน
  ทางเลือก(รอยละ 25 ใน 10 ป) พ.ศ. 2555–2564 (Alternative Energy Development
  Plan : AEDP 2012–2021) และแผนอนุรักษพลังงาน 20 ป พ.ศ. 2554 - 2573
  (Energy Efficiency: EE)
• จากนโยบายดานพลังงานของประเทศ และสถานการณทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง
  ไดสงผลตอความตองการใชไฟฟา และภาคการผลิตไฟฟา ดังนั้น เพื่อใหเกิดความ
  ชัดเจนในการจัดหาพลังงาน จึงไดมีการปรับปรุงแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของ
  ประเทศไทย พ.ศ. 2555-2573 (PDP2010ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3) โดยมีประเด็นสําคัญ
  ดังนี้
• 1) คาพยากรณความตองการไฟฟา ใชขอมูลตามที่คณะอนุกรรมการการพยากรณความ
  ตองการไฟฟาไดมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 โดยมีสมมุติฐาน ดังนี้
• - ใชขอมูลประมาณการแนวโนมเศรษฐกิจไทย หรือผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ
  (GDP) และผลิตภัณฑมวลรวมรายภาค (GRP) ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
  เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2554 ซึ่งไดรวมนโยบายกระตุน
  เศรษฐกิจของรัฐบาล และผลกระทบจากอุทกภัยที่เกิดขึ้นในชวงปลายป 2554 แลว
• - ใชขอมูลการเพิ่มประสิทธิภาพและลดการใชพลังงานไฟฟาสอดคลองกับ แผนอนุรักษ
  พลังงาน 20 ป (พ.ศ. 2554 – 2573) ของกระทรวงพลังงาน
• 2) การใชพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกเพื่อทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล ตามกรอบ
  แผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (รอยละ 25 ใน 10 ป) พ.ศ.
  2555-2564 (Alternative Energy Development Plan : AEDP 2012-2021)
• 3) ความมั่นคงดานพลังงาน ไดคํานึงถึงการกระจายการใชเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา
  และใหมีกําลังผลิตไฟฟาสํารองของระบบในระดับที่เหมาะสม
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
nuchida suwapaet
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
peter dontoom
 
Informativo de janeiro
Informativo de janeiroInformativo de janeiro
Informativo de janeiro
Lua Barros
 
การประกอบ GEARBOX-MOTOR
การประกอบ GEARBOX-MOTORการประกอบ GEARBOX-MOTOR
การประกอบ GEARBOX-MOTOR
kroowissanu
 
компьютерное тестирование аттестующихся работников образования рт
компьютерное тестирование аттестующихся работников образования рткомпьютерное тестирование аттестующихся работников образования рт
компьютерное тестирование аттестующихся работников образования рт
Airat Yusupov
 
Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52
PAulo Borikua
 
Verden lige nu
Verden lige nuVerden lige nu
Verden lige nu
persloth
 
งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3
Pannathat Champakul
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
Reseña generalizada
Reseña generalizadaReseña generalizada
Reseña generalizada
 
5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans
 
Informativo de janeiro
Informativo de janeiroInformativo de janeiro
Informativo de janeiro
 
Neuroversum - Produktinformation
Neuroversum - ProduktinformationNeuroversum - Produktinformation
Neuroversum - Produktinformation
 
Transactions introduction
Transactions introductionTransactions introduction
Transactions introduction
 
การประกอบ GEARBOX-MOTOR
การประกอบ GEARBOX-MOTORการประกอบ GEARBOX-MOTOR
การประกอบ GEARBOX-MOTOR
 
компьютерное тестирование аттестующихся работников образования рт
компьютерное тестирование аттестующихся работников образования рткомпьютерное тестирование аттестующихся работников образования рт
компьютерное тестирование аттестующихся работников образования рт
 
Crm 002
Crm 002Crm 002
Crm 002
 
Sinónimos
SinónimosSinónimos
Sinónimos
 
Las 48 leyes del poder
Las 48 leyes del poderLas 48 leyes del poder
Las 48 leyes del poder
 
ipsum.pdf
ipsum.pdfipsum.pdf
ipsum.pdf
 
Final report Traditional customs of four seasons_TeodorBalanSchool
Final report Traditional customs of four seasons_TeodorBalanSchoolFinal report Traditional customs of four seasons_TeodorBalanSchool
Final report Traditional customs of four seasons_TeodorBalanSchool
 
Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52
 
Verden lige nu
Verden lige nuVerden lige nu
Verden lige nu
 
งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3
 
AMI - Bringing Your Own Device to ITAM
AMI - Bringing Your Own Device to ITAMAMI - Bringing Your Own Device to ITAM
AMI - Bringing Your Own Device to ITAM
 
11.ลม
11.ลม11.ลม
11.ลม
 
18 al 24 de enero
18 al 24 de enero18 al 24 de enero
18 al 24 de enero
 

More from nuchida suwapaet

บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
nuchida suwapaet
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
nuchida suwapaet
 
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
nuchida suwapaet
 
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
nuchida suwapaet
 
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
nuchida suwapaet
 
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
nuchida suwapaet
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
nuchida suwapaet
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
nuchida suwapaet
 
การใช้ Power Point เบื้องต้น
การใช้  Power  Point เบื้องต้นการใช้  Power  Point เบื้องต้น
การใช้ Power Point เบื้องต้น
nuchida suwapaet
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
nuchida suwapaet
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
nuchida suwapaet
 

More from nuchida suwapaet (18)

craft beer
craft beercraft beer
craft beer
 
craft beer Near & Far
craft beer Near & Far craft beer Near & Far
craft beer Near & Far
 
near&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptxnear&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptx
 
craft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptxcraft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptx
 
craft beer list.pptx
craft beer list.pptxcraft beer list.pptx
craft beer list.pptx
 
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
 
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
 
การใช้ Power Point เบื้องต้น
การใช้  Power  Point เบื้องต้นการใช้  Power  Point เบื้องต้น
การใช้ Power Point เบื้องต้น
 
E G A T
E G A TE G A T
E G A T
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
 

สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55

  • 3.
  • 6.
  • 7. • กฟผ. ภูมิใจ เปนรายแรกของโลก สงโรงไฟฟาหนองจอก ชวยญี่ปุนกูวิกฤติไฟฟาขาดแคลน (http://maemoh.egat.com/index/index.php , มีนาคม 2554) • กฟผ. สงมอบโรงไฟฟา 2 เครื่อง ไปชวยผลิตกระแสไฟฟาที่ญี่ปุนชั่วคราว โดยไมคิดคาเชา ตามคํารองขอของบริษัทผลิตไฟฟาโตเกียว หรือ TEPCO ผูวาการ เผย กฟผ. เปน หนวยงานแรกที่ชวยเหลือญี่ปุนในเรื่องนี้ ดานทูตญี่ปุนซึ้งใจ การชวยเหลือของ กฟผ. ครั้งนี้ ทําใหญี่ปุนมีไฟใชไดถึง 24,000 ครัวเรือน • สําหรับโรงไฟฟากังหันกาซทั้ง 2 เครื่องที่จะสงไปชวยเหลือปจจุบันนี้ กฟผ.ไมไดใชเดินเครื่อง ผลิตไฟฟา เนื่องจากเปนโรงไฟฟาที่ใชน้ํามันดีเซลเปนเชื้อเพลิง จึงมีตนทุนการผลิตสูง และ จะนํามาใชงานเฉพาะกรณีกําลังผลิตไฟฟาไมเพียงพอเทานั้น แตอยูในสภาพพรอมใชงาน เพราะไดรับการดูแลเปนอยางดี ทั้งนี้ เมื่อนําไปใชที่ประเทศญี่ปุน จะถูกปรับระบบไปใชกาซ ธรรมชาติแทน เนื่องจากราคาถูกกวาและเปนเชื้อเพลิงมาตรฐานของญี่ปุนอยูแลว จึงมีทอสง กาซไวรองรับพรอมใชงานไดทันทีที่ติดตั้งแลวเสร็จ โดยญี่ปุนจะขอยืมใชโรงไฟฟาหนองจอก เปนเวลาประมาณ 3-5 ป ในระหวางที่ทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศ (IAEA) ดําเนินกระบวนการตรวจสอบความพรอมใชงานโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร ในประเทศญี่ปุน หลังไดรับผลกระทบจากเหตุแผนดินไหวและสึนามิ
  • 8. • คา FT เปน ลบ (จากหนังสือพิมพฐานเศรษฐกิจฉบับที่ 2,658 4 - 6 สิงหาคม พ.ศ. 2554) • กระทรวงพลังงานประเมินความเสียหายทอกาซรั่วเบื้องตนประมาณ 2,500 ลานบาท ลดลง จากเดิมที่ทําไวเกือบเทาตัว หลังไดอานิสงสน้ําจากเขื่อนในสปป.ลาว และในประเทศชวยผลิต ไฟฟาเพิ่มแทนการใชน้ํามันเตา คาดความเสียหายที่เกิดขึ้น คาดปตท.และฮุนได รับภาระ แทนประชาชน เพราะสงกาซใหกฟผ.ไมได ยันหลังวันที่ 4 ส.ค.ซอมทอเสร็จ พรอมเปด ดําเนินตามปกติ • ดังนั้น จากแผนเดิมที่จะตองใชน้ํามันเตา และกาซแอลเอ็นจีนําเขาในปริมาณมาก เมื่อมีไฟฟา จากพลังน้ําเขามาชวยเสริมจึงชวยลดตนทุนคาเชื้อเพลิงผลิตไฟฟาไดมากตามดวย โดยมีการ ประเมินวา ความเสียหายที่เกิดจากสวนตางของคาเชื้อเพลิงและคาดําเนินการตางๆ จะลดลง มาระดับประมาณ 2,500 ลานบาท ซึ่งในสวนนี้หากพิจารณาเบื้องตน ผูที่จะรับภาระในสวนนี้ ไป คงจะเปนบมจ.ปตท.เนื่องจากไมสามารถสงกาซธรรมชาติใหกฟผ.ไดตามสัญญา รวมถึง บริษัท ฮุนได เฮฟวี่ อินดัสตรี จํากัด ในฐานะผูรับเหมากอสรางทอกาซ ซึ่งเปนตนเหตุทําให เกิดการรั่วไหลของกาซ • และคาไฟฟาที่ซื้อมีราคาถูกเพียง 1.06-1.45 บาทตอหนวยเทานั้น และมีการใชน้ํามันเตาผลิต ไฟฟาเพียง 114 ลานลิตร ดังนั้น ความเสียหายที่เกิดจากสวนตางของราคาคาเชื้อเพลิงจึงต่ํา กวาที่ประมาณการไวมาก
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 20. Georgswerder Energy Hill • In common with the Wilhelmsburg Flak Bunker, the around 40 metre high green hill in Georgswerder, visible for miles around, has a chequered history. Following WWII building rubble and household waste were piled up on the flat meadows to the north- east of Wilhelmsburg; this was later joined by hazardous industrial waste such as paint and coatings. The landfill site was officially closed in 1979, however in 1983 it was discovered that highly poisonous dioxin was escaping from the foot of the artificial hill and penetrating into the groundwater. As a result of this, the landfill hill and the subsoil had to be secured in an expensive procedure – in close contact with the Georgswerder Working Group and residents living in the immediate vicinity. Following this, the landfill landscape was covered with a plastic sealing sheet and topsoil and a first wind turbine was erected on the site. A comprehensive range of technical measures is still in use today to protect the groundwater.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 25. PDP • เพื่อรองรับนโยบายเสริมสรางความมั่นคงทางดานพลังงานไฟฟาของ กระทรวงพลังงานจึงตองมีการจัดทําแผน PDP เพื่อเปนแผนจัดหา ไฟฟาในระยะยาวใหเพียงพอตอการพัฒนาประเทศทั้งทางดาน เศรษฐกิจและสังคม เนื่องจาก การกอสรางโรงไฟฟาตองใชระยะ เวลานานประมาณ 3-5 ป ขึ้นอยูกับประเภทโรงไฟฟา
  • 26. • แผน PDP เปนแผนการขยายกําลังการผลิตไฟฟาและระบบสง ไฟฟาของประเทศในอนาคต 15-20 ป ซึ่งจะมีการทบทวนแผน ดังกลาวเมื่อมีการปรับปรุงคาพยากรณความตองการไฟฟาให สอดคลองกับสภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป • ในแผนดังกลาวจะระบุคาพยากรณความตองการพลังไฟฟา ซึ่ง มีความสําคัญตอการวางแผน PDP หากการพยากรณความ ตองการไฟฟามีความถูกตองและแมนยํา จะทําใหการลงทุนใน การขยายกําลังการผลิตไฟฟาเพื่อรองรับความตองการไฟฟาที่ เพิ่มขึ้นอยูในระดับที่เหมาะสม
  • 27. • ระบุถึงโครงการโรงไฟฟาขนาดใหญที่ใชเชื้อเพลิงกาซธรรมชาติ ถานหิน และนิวเคลียร โครงการขนาดเล็กและเล็กมาก ทั้งที่เปนระบบ Cogeneration และพลังงานหมุนเวียน เชื้อเพลิงที่ใชในการผลิต การ ขยายระบบสงไฟฟา ประมาณการเงินลงทุนการขยายกําลังการผลิต ไฟฟาและระบบสงไฟฟา ผลกระทบคาไฟฟา และปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกจากภาคการผลิตไฟฟา เปนตน
  • 28. สรุปสาระสําคัญแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2573 (PDP 2010) 1. เหตุผลความจําเปนการจัดทําแผน PDP 2010 2. การจัดทําแผน PDP 3. สมมติฐานแผน PDP 2010 4. แผน PDP 2010 (2553-2573) ซึ่งเปนแผนจัดหาไฟฟาในระยะยาว 20 ป
  • 29. เหตุผลความจําเปนการจัดทําแผน PDP 2010 - เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในการลงทุนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศ • โดยระบุโครงการ EGAT, IPP, SPP และ VSPP ที่มีกําหนดการจาย ไฟฟาชัดเจนแลวเขาไวในแผน – EGAT : กฟผ – IPP : Independence Power Producer – SPP : Small Power Producer – VSPP : Very Small Power Producer
  • 30. - เพื่อดําเนินการตามมติ กพช. (คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ) อยาง เปนรูปธรรมโดยเร็ว • นโยบายสงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนตามแผนพัฒนาพลังงาน ทดแทน 15 ป • นโยบายสงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนตามมาตรการ ADDER (สวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟาสําหรับผูผลิตไฟฟาพลังงานหมุนเวียน) • นโยบายการสงเสริมการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพโดยผลิตไฟฟาดวย ระบบ Cogeneration - เพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากภาคการผลิตไฟฟา ตามนโยบายการลด ภาวะโลกรอน - เพื่อปรับแผน PDP ใหสอดคลองกับสภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป
  • 31.
  • 32.
  • 33. แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศ พ.ศ. 2555-2573 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3) • แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ. 2553 – 2573 (PDP2010) ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) และ คณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2553 และวันที่ 23 มีนาคม 2553 ตามลําดับ โดยไดเนนในเรื่องความมั่นคงและความเพียงพอของกําลังการผลิต ไฟฟา ควบคูไปกับนโยบายของกระทรวงพลังงานในเรื่องการดูแลรักษา สิ่งแวดลอม การเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน สงเสริมใหมีการผลิตไฟฟา จากพลังงานหมุนเวียนที่สอดคลองกับ แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป และ การสงเสริมการผลิตไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพดวยระบบการผลิต พลังงาน ความรอนและไฟฟารวมกัน (Cogeneration) http://www.eppo.go.th/power/PDP2010-r3/PDP2010-Rev3-Cab19Jun2012-T.pdf
  • 34. • ในป 2553 ความตองการพลังไฟฟาสูงสุด (Peak) ที่เกิดขึ้นจริงสูงกวา ที่ไดพยากรณไว และมีแนวโนมวาความตองการใชไฟฟาจะเพิ่มสูงขึ้น อยางตอเนื่อง ประกอบกับการเกิดปญหาความลาชาในการกอสราง โรงไฟฟาเอกชนรายใหญ (IPP) ทําใหเกิดความเสี่ยงในเรื่องของกําลัง ผลิตไฟฟาสํารองที่จะมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ภาครัฐจึงได กําหนดแนวทางในการแกไขปญหาในระยะเรงดวนป 2554 - 2562 โดยการปรับปรุงแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา (PDP2010 ฉบับ ปรับปรุงครั้งที่ 1) ซึ่ง กพช. ไดมีมติเห็นชอบแนวทางการแกไขปญหา ในระยะเรงดวนป 2555 - 2562 เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 และ ครม. มีมติเห็นชอบตามมติ กพช. เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2553
  • 35. • ตอมาเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ไดเกิดเหตุการณแผนดินไหวและเกิดคลื่นสึนามิทาง ชายฝงทะเลตะวันออกของประเทศญี่ปุน ทําใหเกิดปญหาอยางรุนแรงตอเตาปฏิกรณ ของโรงไฟฟานิวเคลียรฟูกุชิมะไดอิจิ (Fukushima Daiichi) และเกิดการรั่วไหลของ สารกัมมันตรังสี จากเหตุการณดังกลาว สงผลกระทบตอความเชื่อมั่นและการยอมรับ การพัฒนาโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรในประเทศไทย ทําใหกระทรวงพลังงานเสนอ ใหมีการปรับเลื่อนกําหนดการจายไฟฟาเขาระบบในเชิงพาณิชยของโครงการ โรงไฟฟานิวเคลียรตาม PDP2010 ออกไปกอน โดยเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 ครม. มีมติเห็นชอบการปรับปรุงแผน PDP2010 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 ตามมติ กพช. เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2554 โดยเห็นชอบใหปรับเลื่อนกําหนดการเขาระบบของ โครงการโรงไฟฟานิวเคลียรออกไป 3 ป (จากแผนเดิม โครงการโรงไฟฟานิวเคลียร โรงแรกซึ่งจะเขาระบบในป 2563 เลื่อนออกไปเปนป 2566) เพื่อใหมีการทบทวน มาตรการความปลอดภัยทางนิวเคลียร (Nuclear Safety) และการเตรียมความพรอม ในดานตางๆ เชน ดานกฎหมาย (Legislative Framework) ดานการกํากับดูแล (Regulatory Framework)และดานการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Involvement) เปนตน รวมถึงการเตรียมแผนรองรับเพิ่มเติม
  • 36. • ปจจุบัน ครม. มีมติเห็นชอบในการประชุมวันที่ 27 ธันวาคม 2554 ตามมติ กพช.เมื่อ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 เห็นชอบแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือก(รอยละ 25 ใน 10 ป) พ.ศ. 2555–2564 (Alternative Energy Development Plan : AEDP 2012–2021) และแผนอนุรักษพลังงาน 20 ป พ.ศ. 2554 - 2573 (Energy Efficiency: EE) • จากนโยบายดานพลังงานของประเทศ และสถานการณทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง ไดสงผลตอความตองการใชไฟฟา และภาคการผลิตไฟฟา ดังนั้น เพื่อใหเกิดความ ชัดเจนในการจัดหาพลังงาน จึงไดมีการปรับปรุงแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของ ประเทศไทย พ.ศ. 2555-2573 (PDP2010ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3) โดยมีประเด็นสําคัญ ดังนี้
  • 37. • 1) คาพยากรณความตองการไฟฟา ใชขอมูลตามที่คณะอนุกรรมการการพยากรณความ ตองการไฟฟาไดมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 โดยมีสมมุติฐาน ดังนี้ • - ใชขอมูลประมาณการแนวโนมเศรษฐกิจไทย หรือผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) และผลิตภัณฑมวลรวมรายภาค (GRP) ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2554 ซึ่งไดรวมนโยบายกระตุน เศรษฐกิจของรัฐบาล และผลกระทบจากอุทกภัยที่เกิดขึ้นในชวงปลายป 2554 แลว • - ใชขอมูลการเพิ่มประสิทธิภาพและลดการใชพลังงานไฟฟาสอดคลองกับ แผนอนุรักษ พลังงาน 20 ป (พ.ศ. 2554 – 2573) ของกระทรวงพลังงาน • 2) การใชพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกเพื่อทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล ตามกรอบ แผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (รอยละ 25 ใน 10 ป) พ.ศ. 2555-2564 (Alternative Energy Development Plan : AEDP 2012-2021) • 3) ความมั่นคงดานพลังงาน ไดคํานึงถึงการกระจายการใชเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา และใหมีกําลังผลิตไฟฟาสํารองของระบบในระดับที่เหมาะสม