SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  52
การบาน
• โรงไฟฟาวัฏจักรแรงคิน โดยมีไอน้ําออกจากกังหันที่ความ
  ดัน 15 kPa จงคํานวณหาประสิทธิภาพเชิงความรอน โดยที่
  ไอน้ําเขาสูกังหันที่ P = 1.4 MPa และ T = 350 °C
• สงในหองเรียนอาทิตยหนา
บทที่ 3 เชื้อเพลิงและการสันดาป
• การสันดาป คือ ปฏิกิริยาเคมีระหวางเชื้อเพลิงกับออกซิเจนซึ่งให
  ความรอนออกมา

• เชื้อเพลิงและการสันดาปในโรงไฟฟามีความสําคัญมาก เพราะ
  การสันดาปของเชื้อเพลิงมีผลตอความปลอดภัยและ
  ประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานไฟฟา
สิ่งที่จําเปนสําหรับการสันดาป




สิ่งที่เหลือจากการสันดาป ไดแก เถา และ ควัน
ประเภทของเชื้อเพลิงที่นํามาใชประโยชน แบงได 3 ประเภท
• เชื้อเพลิงแข็ง
• เชื้อเพลิงเหลว
• เชื้อเพลิงกาซ
เชื้อเพลิงแข็ง
• คือ เชื้อเพลิงที่มีสถานะเปนของแข็งที่อุณหภูมิปกติ
• ประกอบดวย คารบอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน กํามะถัน
  และเถา
• เชื้อเพลิงแข็งที่ไดจากธรรมชาติ ไดแก ไม ถานหิน หินน้ํามัน และแกลบ
• เชื้อเพลิงแข็งที่ไดจากการผลิต ไดแก ถานไม ถานโคก และกาซอัดแทง
• โรงไฟฟานิยมใช ถานหิน
เชื้อเพลิงเหลว
• คือ เชื้อเพลิงที่มีสถานะเปนของเหลวที่อุณหภูมิปกติ
• ตัวอยางเชื้อเพลิง ไดแก น้ํามันที่ไดจากการกลั่นปโตรเลียม น้ํามันจากพืช
  และน้ํามันจากสัตว
• ที่นิยมใชในโรงไฟฟาและโรงงานอุตสาหกรรม ไดแก น้ํามันดีเซล
  น้ํามันเตา
เชื้อเพลิงกาซ
• คือ เชื้อเพลิงที่มีสถานะเปนกาซที่อุณหภูมิปกติ
• หรืออาจหมายถึงกาซทุกชนิดที่สามารถนํามาทําปฏิกิริยากับออกซิเจน
  แลวเกิดการสันดาป เกิดพลังงานความรอนออกมา
• สวนใหญจะมีสารประกอบไฮโดรคารบอนเปนองคประกอบหลัก
เชื้อเพลิงแข็ง
•   สําหรับโรงไฟฟา จะกลาวถึงเฉพาะ ถานหิน
•   เกิดตามธรรมชาติ
•   ธาตุที่เปนองคประกอบสําคัญ คือ คารบอน ไฮโดรเจน
•   และธาตุอื่นปน เชน ออกซิเจน ไนโตรเจน
ประเภทของถานหิน
•   ถานพีท (peat)
•   ถานลิกไนต (lignite)
•   ถานซับบิทูมินัส (sub-bituminous)
•   ถานบิทูมินัส (bituminous)
•   ถานแอนทราไซต (anthracite)
• ถานหินจะประกอบดวยธาตุตางๆตอไปนี้คือ คารบอน ออกซิเจน
  ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ซิลิกอน อะลูมิเนียม เหล็ก แคลเซียม และ
  แมกนีเซียม
ถานพีท (peat)
•   เกิดจากเศษพืชที่เนาเปอยผุพัง
•   จัดเปนถานหินที่มีคุณภาพต่ําที่สุด
•   ใหควันมาก ใหความรอนต่ํา
•   มีปริมาณคารบอนนอยที่สุด
ถานลิกไนต (lignite)
•   มีวิวัฒนาการมาจากถานพีท
•   เปนถานหินคุณภาพต่ํา
•   ถาเปนถานลิกไนตคุณภาพสูงจะเปนสีดํา คือ ลิกไนตดํา (black lignite)
•   ควันนอยกวา และ ใหความรอนสูงกวา ถานพีท
ประโยชนของถานลิกไนต
•   เชื้อเพลิงหุงตม
•   เชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม
•   เชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟา
•   วัตถุดิบในการผลิตน้ํามันเชื้อเพลิงสังเคราะห
•   ......
ขอเสียของการใชลิกไนต
•    ราคาคาขนสง
•    การเก็บรักษาและการเตรียมเพื่อนํามาใช
•    ขี้เถาและฝุน
•    ......
ถานซับบิทูมินัส (sub-bituminous)
• อยูระหวางชั้นถานลิกไนตกับชั้นของถานบิทูมินัส
• คุณสมบัติ ตามตาราง 3.4
ถานบิทูมินัส (bitumunous)
•   นิยมใชมากในตางประเทศ
•   ไมมีในประเทศไทย
•   ใหคาความรอนสูงกวาถานลิกไนต
•   เถาถานต่ํา เกิดควันนอย
•   เปนวัตถุดิบในการผลิตถานโคก
•   คุณสมบัติ ตามตาราง 3.5
ถานแอนทราไซต (anthracite)
•   เปนถานหินคุณภาพดีที่สุด
•   เกิดควันนอยมาก
•   ใหคาความรอนทางเชื้อเพลิงสูง
•   มีความแข็งมาก จนเรียกวา ถานหินแข็ง (hard coal)
•   ติดไฟยาก แตถาติดแลวดับยาก
•   ไมมีในประเทศไทย
ประโยชนของถานหิน
•   เปนเชื้อเพลิงผลิตพลังงานไอน้ํา เพื่อนําไปผลิตกระแสไฟฟา
•   นิยมใช ลิกไนต
•   แปรเปนถานโคกเพื่อใชในงานอุตสาหกรรมถลุงเหล็ก
•   ถานโคก คือ กากที่เหลือหลังจากนําถานหินไปกลั่นทําลายแลว คือ นําเอาถาน
    หินไปบรรจุในที่จํากัดไมใหอากาศเขาได แลวใหความรอนจนถานรอนแดง
    สารไฮโดรคารบอนที่อยูในถานหินจะระเหยออกไปเปนแกส ประกอบดวย
    คารบอนประมาณรอยละ 80-90
•   เปนเชื้อเพลิงสําหรับรถไฟหรือเรือเดินทะเล
•   เปนเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมการผลิตแกว ปูนซีเมนต ฯลฯ
•   เปนเชื้อเพลิงหุงตมและใหความรอน (heater)
เชื้อเพลิงเหลว
• สําหรับโรงไฟฟา จะกลาวถึงเฉพาะน้ํามันเตา
• น้ํามันเตาเปนผลิตภัณฑจากการกลั่นน้ํามันดิบ
• น้ํามันเตาเปนสวนที่หนักที่สุดของการกลั่นน้ํามันดิบเพื่อแยกเปน
  เชื้อเพลิง สวนนี้จะไมระเหยเปนไอและเหลืออยูกนหอกลั่น
แผนที่แสดงแหลง
พัฒนากาซธรรมชาติ
  ในประเทศไทย




                    (http://www.pttplc.com/image/Map-of-Natural-Gas-Transmission-Pipeline-System.jpg)
มาตรฐานการวัด

                F - 32
• อุณหภูมิ   C=
                 1.8
น้ําหนักจําเพาะ (specific weight)

                         æmö
                g = rg = ç ÷ g
                         èV ø

• g = น้ําหนักจําเพาะของสสาร มีหนวยเปน kN/m3
• m = มวลของสสาร มีหนวยเปน kg
• V = ปริมาตรของสสารมีหนวยเปน m3
ความถวงจําเพาะ (specific gravity)
• อัตราสวนที่แสดงใหเห็นวา ที่ปริมาตรและอุณหภูมิเดียวกัน สสารนั้น
  หนักกวาน้ําบริสุทธฺกี่เทา

        SG = (gสสาร / gน้ํา ) = ( rสสาร / rน้ํา )

• gน้ํา คือ น้ําหนักจําเพาะของน้ําบริสุทธฺ เทากับ 9.81 kN/m3
• r คือ ความหนาแนน
ความถวงจําเพาะแบบ API (API gravity)
ใชวัดความถวงจําเพาะของน้ํามัน บางครั้งเรียกวา องศาเอพีไอ (degree of API)
วัตถุประสงคเพื่อ
• ใหอานคางาย
• เปนมาตรฐานในการซื้อขายน้ํามันทั่วโลก
                                  141.5
                    ° API =                     - 131.5
                            ( SG.15.6 /15.6°C )

• โดยที่ (SG.15.6/15.6°C) = ( rสสารนั้นที่ 15.6°C / rน้ําที่ 15.6°C ) = ความถวงจําเพาะ
• น้ํามันที่มีความถวง API สูง จะมีคาความถวงจําเพาะต่ํา
• น้ํามันที่มีความถวง API ต่ํา จะมีคาความถวงจําเพาะสูง
• หาคาองศา API เพื่อบอกคาความหนืดของน้ํามันอยางงาย
• ใชแบงประเภทของน้ํามัน
• ตัวอยาง ถาความถวงจําเพาะมีคา 0.611

             องศา API = 141.5 - 131.5 = 100
                        0.611
เชื้อเพลิงกาซ
• สําหรับโรงไฟฟาจะกลาวถึงเฉพาะกาซธรรมชาติ (natural gas)
• ไดจากธรรมชาติ จากการผลิตหรือผลพลอยไดจากเชื้อเพลิงเหลวและ
  เชื้อเพลิงแข็ง
• เชน กาซหุงตมที่ไดจากการกลั่นน้ํามันปโตรเลียม
• จะประกอบดวยสารไฮโดรคารบอนชนิดหนัก เชน มีเทน CH4
• องคประกอบอื่นจะขึ้นอยูกับชนิดของกาซธรรมชาติ
กาซธรรมชาติชนิดแหง
• ประกอบดวย มีเทน (CH4) และ อีเทน (C2H6)

กาซธรรมชาติชนิดชื้น
• ประกอบดวย สารประกอบไฮโดรคารบอนเหลว
• เชน โพรเพน (C3H8) บิวเทน (C4H10)
คาความรอนเชื้อเพลิง (Heating Value)
• คาความรอน คือ ปริมาณความรอนที่ไดจากการสันดาปของเชื้อเพลิง
• แบงเปน คาความรอนสูง HHV และ คาความรอนต่ํา LHV
• ผลจากการสันดาปคือ ความรอน อากาศ น้ํา คารบอนไดออกไซด
• HHV (higher heating value) คือ คาความรอนที่ไดจากการเผาไหมรวมกับ
  คาความรอนแฝงที่ไดจากการกลั่นตัวของไอ (ความรอนแฝง คือ คาความ
  รอนเมื่อไอน้ํากลั่นตัวเปนน้ํา (คายความรอน))
• LHV (lower heating value) คือ คาความรอนที่ไดจากการเผาไหมที่ไมรวม
  คาความรอนแฝงที่ไดจากการกลั่นตัวของไอ
สมการของดูลอง
• ใชหา HHV หนวย MJ/kg


                       æ    Oö
     HHV = 33.7C + 144 ç H - ÷ + 9.4 S
                       è    8ø
LHV = HHV - mw h fg
                LHV = HHV - 9mH 2 h fg

• โดยที่ mw คือ มวลของไอน้ําในสารที่ไดจากการสันดาปตอ 1 หนวยของ
  เชื้อเพลิงเนื่องจากการสันดาปของ H ในเชื้อเพลิง
• mH2 คือ มวลของไฮโดรเจนในเชื้อเพลิง 1 kg ซึ่งวิเคราะหจาก ultimate
  analysis
• hfg คือ ความรอนที่ตองใหกับน้ําเพื่อทําใหน้ํากลายเปนไอ (hg – hf)
การคํานวณการสันดาป
• การสันดาป หมายถึง ปฏิกิริยาทางเคมีที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วระหวาง
  ออกซิเจนกับสารสันดาปได ของเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งๆ
• สารสันดาปหลัก 3 ตัวคือ คารบอน ไฮโดรเจน และกํามะถัน
การสันดาปอยางสมบูรณ

C     + O2 ® CO2 + 32.8 MJ / kg
2 H 2 + O2 ® 2 H 2O + 142.1 MJ / kg


• เปนปฎิกิริยาคายความรอน
ในการสันดาปจริง


C + ( O2 + 3.76 N 2 ) ® CO2 + 3.76 N 2

ในอากาศ ประกอบดวยกาซไนโตรเจนและสารเจือปนอื่นๆ โดยสวนใหญเปน
ออกซิเจน 23.2 % โดยน้ําหนัก และ 21% โดยปริมาตร
ไนโตรเจน 76.8 % โดยน้ําหนัก และ 79 % โดยปริมาตร
อัตราสวนสารในการสันดาป
สมการของปฏิกิริยาการสันดาป
• ตาราง 14
• ตาราง 15
• น้ําหนักอะตอม
• ในการสันดาประหวางอากาศกับเชื้อเพลิง จะไดกาซไอเสียและน้ํา
  ออกมา เขียนสมการเคมีไดดังนี้

          เชื้อเพลิง + a(O2 + 3.76N2) ® กาซไอเสีย + H2O
การสันดาปของเชื้อเพลิงตองอาศัยปจจัย 3 ประการ คือ
• เวลาตองนานเพียงพอ
• อุณหภูมิในการสันดาปตองสูงพอ
• การผสมระหวางเชื้อเพลิงกับอากาศ ตองอยูในลักษณะของการไหล
     ผสมแบบปนปวน
อัตราสวนอากาศกับเชื้อเพลิง (AF-ratio)
• คือ อัตราสวนระหวางมวล (หรือจํานวนโมล) ของอากาศตอมวล
  (หรือจํานวนโมล) ของเชื้อเพลิง ในระหวางการสันดาป
• ทฤษฎี                     mair     nair
                  AFth =            =
                           m fuel       n fuel
• ในการสันดาปจริง จะใชอากาศในปริมาณที่มากกวา และจะบอก
  ปริมาณการใชอากาศเปนจํานวนเทาของอากาศพอดีสันดาปสมบูรณ
  เรียกวา เปอรเซ็นตอากาศทฤษฎี

   AFac = (เปอรเซ็นตอากาศทฤษฎี) x (AFth) / 100
โดยที่ เปอรเซ็นตอากาศทฤษฎี = 100% + %Excess Air

                          ( AFac - AFth )
           % Excess Air =                 x100
                               AFth
เชน
• การสันดาปสมบูรณ โดยใชอากาศ 100 % อากาศทฤษฎี
CH4 + 2(O2 + 3.76N2) ® CO2 + 2H2O + 7.52N2

• การสันดาปสมบูรณ โดยใชอากาศ 150 % อากาศทฤษฎี
CH4 + (1.5)[2(O2 + 3.76N2)] ® CO2 + 2H2O + O2 + 11.28N2
การเกิดการสันดาปสมบูรณเปนไปไดยาก เนื่องจาก
• การผสมกันระหวางอากาศและเชื้อเพลิงไมทั่วถึง
• ภาวะความรอนเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ
• ในอากาศมีความชื้น
• เวลาในการสันดาปไมเพียงพอ
• ความหนาแนนหรือคุณสมบัติของเปลวไฟตองพอเพียง
เปอรเซ็นตอากาศสวนเกินคาที่เหมาะสมที่สุด
ถาอากาศมากเกินไป            ถาอากาศนอยเกินไป
• อุณหภูมิจะลดลง             • อากาศและเชื้อเพลิงผสมกันไมทั่วถึง
• มีความรอนถูกอากาศนําพา    • เกิดเชื้อเพลิงที่เหลือจากการสันดาป
   ออกมาก                    • อาจเกิดการระเบิดนอกหองสันดาป
• ทําใหความรอนสูญเสียมาก   • เกิดพลังงานสูญเปลา
นําความรอนสูญเสียมารวมกัน




                             จุดเหมาะสม
                             - ความรอนสูญเสีย 13%
                             - เปอรเซ็นตอากาศ
                               สวนเกิน 20 %
ตัวอยาง 1
• จากการวิเคราะหถานหินในหองทดลองนั้น ในขั้นของ ultimate analysis
   พบวามีองคประกอบคือ C = 73.99% H = 5.39% O = 10.02%
   N = 1.38% S = 1.79% และเถา 7.43% จงคํานวณหาปริมาณอากาศที่ใช
   ในการสันดาป โดยสมมติใหเปนการสันดาปอยางสมบูรณตามหลัก
   ทฤษฎี
                 C + O 2 ® CO 2
                 2 H 2 + O 2 ® 2 H 2O
                  S + O 2 ® SO 2
ตัวอยาง 2 หนา
• การหาเปอรเซ็นตอากาศทฤษฎีการสันดาปเชื้อเพลิง CaHb
• เชื้อเพลิงประเภทไฮโดรเจนคารบอนสันดาปกับอากาศ ปรากฏวาเมื่อ
   วิเคราะหสารที่ไดจากการสันดาปโดยปริมาตรจะได CO2 10.5%
   O2 5.3% N2 84.2% จงคํานวณหาสูตรเคมีของเชื้อเพลิงและเปอรเซ็นต
   อากาศทฤษฎีที่ใช
ตัวอยาง 3
เชื้อเพลิงที่ใชในการสันดาปมีสูตรทางเคมี คือ C14H30 หลังจากการสันดาป
แลวไดกาซไอเสียโดยปริมาตร ดังนี้ คือ
CO2 = 11.226% O2 = 4.145% CO = 0.863% N2 = 83.766%
จงคํานวณหา
• อัตราสวนอากาศตอเชื้อเพลิงโดยมวล
• เปอรเซ็นตอากาศสวนเกิน
• อัตราสวนไอน้ําจากกาซไอเสียโดยมวลตอเชื้อเพลิง
ระบบควบคุมมลภาวะ

• โรงไฟฟาจะมีไอเสียเปนกรดซัลเฟอร
• ฝุนผง
• อุปกรณที่ใชในการจํากัด คือ เครื่องกําจัดฝุนและสครับเบอร
สครับเบอร คือ เครื่องที่สามารถกําจัดไดทั้งฝุนผงของขี้เถาและกาซ
ถานหินสะอาด
• เทคโนโลยีถานหินสะอาด (Clean Coal Technology)
• คือ เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทําเหมือง การ
  จัดการถานหินกอนนํามาใช และการใชประโยชนถานหิน โดยมี
  ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด
• เทคโนโลยีเหลานี้เกี่ยวของกับการลดหรือกําจัดมลพิษที่เกิดขึ้นจากการนํา
  ถานหินมาใชประโยชน รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการใชถานหิน
  เปนเชื้อเพลิง
http://en.wikipedia.org/wiki/Clean_coal_technology

•   Clean coal technology is a collection of technologies being developed to
    reduce the environmental impact of coal energy generation.
•   clean coal technologies are being developed to remove or reduce pollutant
    emissions to the atmosphere.
•   Some of the techniques that would be used to
•   chemically washing minerals and impurities from the coal,
•   gasification
•   treating the flue gases with steam to remove sulfur dioxide,
•   carbon capture and storage technologies to capture the carbon dioxide from
    the flue gas and
•   dewatering lower rank coals (brown coals) to improve the calorific value,
    and thus the efficiency of the conversion into electricity.
ตัวอยางโรงไฟฟาเทคโนโลยีถานหินสะอาด




http://www.consumersenergy.com/content.aspx?id=1964




 •   The pilot carbon capture and storage (CCS) power plant at the first coal-fired plant in
     the world, Schwarze Pumpe in northern Germany, uses "oxyfuel" technology. (2008)
 (http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/7586569.stm)
 •    Oxyfuel combustion involves burning the coal in nearly pure oxygen rather than the
      air/coal mix currently used in conventional power plants.

Contenu connexe

Tendances

ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)Saisard
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumพัน พัน
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsDr.Woravith Chansuvarn
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4พัน พัน
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ืkanya pinyo
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนCoverslide Bio
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
สมบัติบางประการของสารละลาย
สมบัติบางประการของสารละลายสมบัติบางประการของสารละลาย
สมบัติบางประการของสารละลายพัน พัน
 
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfKatewaree Yosyingyong
 

Tendances (20)

ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
2 the mole
2 the  mole2 the  mole
2 the mole
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
สมบัติบางประการของสารละลาย
สมบัติบางประการของสารละลายสมบัติบางประการของสารละลาย
สมบัติบางประการของสารละลาย
 
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
 

En vedette

บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์mintra_duangsamorn
 
พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์Nan's Tippawan
 
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55nuchida suwapaet
 
การ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลการ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลBoom Rattamanee Boom
 
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
Financial Management
Financial ManagementFinancial Management
Financial Managementtltutortutor
 
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.PromptRMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.PromptRMUTThanyaburi
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014Wanida Kook
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์peter dontoom
 
Who Watches the Watchmen - Arup Chakrabarti, PagerDuty - DevOpsDays Tel Aviv ...
Who Watches the Watchmen - Arup Chakrabarti, PagerDuty - DevOpsDays Tel Aviv ...Who Watches the Watchmen - Arup Chakrabarti, PagerDuty - DevOpsDays Tel Aviv ...
Who Watches the Watchmen - Arup Chakrabarti, PagerDuty - DevOpsDays Tel Aviv ...DevOpsDays Tel Aviv
 
Utilizing Social Media to Promote Your Speaking Engagements (ILTA Speakers We...
Utilizing Social Media to Promote Your Speaking Engagements (ILTA Speakers We...Utilizing Social Media to Promote Your Speaking Engagements (ILTA Speakers We...
Utilizing Social Media to Promote Your Speaking Engagements (ILTA Speakers We...InsideLegal
 
Getting Tactical with LATAM Digital Marketing
Getting Tactical with LATAM Digital MarketingGetting Tactical with LATAM Digital Marketing
Getting Tactical with LATAM Digital MarketingZeph Snapp
 

En vedette (20)

บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
 
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
 
พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์
 
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
 
การ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลการ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวล
 
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
 
Financial Management
Financial ManagementFinancial Management
Financial Management
 
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.PromptRMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
 
05 part3 heating value
05 part3 heating value05 part3 heating value
05 part3 heating value
 
biomass
biomassbiomass
biomass
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
Who Watches the Watchmen - Arup Chakrabarti, PagerDuty - DevOpsDays Tel Aviv ...
Who Watches the Watchmen - Arup Chakrabarti, PagerDuty - DevOpsDays Tel Aviv ...Who Watches the Watchmen - Arup Chakrabarti, PagerDuty - DevOpsDays Tel Aviv ...
Who Watches the Watchmen - Arup Chakrabarti, PagerDuty - DevOpsDays Tel Aviv ...
 
Sfondo
SfondoSfondo
Sfondo
 
Jamie's resume
Jamie's resumeJamie's resume
Jamie's resume
 
Utilizing Social Media to Promote Your Speaking Engagements (ILTA Speakers We...
Utilizing Social Media to Promote Your Speaking Engagements (ILTA Speakers We...Utilizing Social Media to Promote Your Speaking Engagements (ILTA Speakers We...
Utilizing Social Media to Promote Your Speaking Engagements (ILTA Speakers We...
 
Getting Tactical with LATAM Digital Marketing
Getting Tactical with LATAM Digital MarketingGetting Tactical with LATAM Digital Marketing
Getting Tactical with LATAM Digital Marketing
 

Plus de nuchida suwapaet

โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)nuchida suwapaet
 
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)nuchida suwapaet
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plantnuchida suwapaet
 
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนnuchida suwapaet
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังnuchida suwapaet
 
การใช้ Power Point เบื้องต้น
การใช้  Power  Point เบื้องต้นการใช้  Power  Point เบื้องต้น
การใช้ Power Point เบื้องต้นnuchida suwapaet
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1nuchida suwapaet
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2nuchida suwapaet
 

Plus de nuchida suwapaet (15)

craft beer
craft beercraft beer
craft beer
 
craft beer Near & Far
craft beer Near & Far craft beer Near & Far
craft beer Near & Far
 
near&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptxnear&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptx
 
craft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptxcraft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptx
 
craft beer list.pptx
craft beer list.pptxcraft beer list.pptx
craft beer list.pptx
 
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
 
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plant
 
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
 
การใช้ Power Point เบื้องต้น
การใช้  Power  Point เบื้องต้นการใช้  Power  Point เบื้องต้น
การใช้ Power Point เบื้องต้น
 
E G A T
E G A TE G A T
E G A T
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
 

บทที่ 4 ภาคปลาย.2555