SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  13
Télécharger pour lire hors ligne
แนวคิด
หน่วยนี้จะกล่าวนาถึงระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยจะกล่าวความเป็นมาของระบบ
อินเทอร์เน็ต ความสาคัญของระบบอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน ระบบหมายเลขและระบบชื่อที่ใช้อ้างตาแหน่งที่อยู่
ของเครื่องคอมิพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย ระบบเว็บเพจ ภาษาที่ใช้ในการสร้างเว็บเพจ และโปรแกรม หรับ
สร้างเว็บเพจ

สาระการเรียนรู้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.

อินเทอร์เน็ต
ความสาคัญของอินเทอร์เน็ต
หมายเลขไอพี
ระบบชื่อโดเมน
เทคโนโลยีเว็บเพจ
ภาษาเอชทีเอ็มแอล
โปรแกรมสร้างเอกสารเว็บ

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.

อธิบายความเป็นมาและความสาคัญของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
สามารถบอกความสาคัญของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
สามารถบอกลักษณะของระบบหมายเลขไอพีที่ใช้ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
สามารถบอกลักษณะของระบบชื่อโดเมนที่ใช้ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
อธิบายความเป็นมาของระบบเว็บเพจได้
อธิบายภาษาที่ใช้ในการสร้างและพัฒนาเว็บเพจได้
สามารถบอกประเภทของโปรแกรมที่ใช้สาหรับการพัฒนาและการสร้างเว็บเพจ

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกันทั่วโลกจนเป็น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ซึ่งคาว่าอินเทอร์เน็ตมาจากคาว่า "Inter Connection Network" โดยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้นสามารถติดต่อ สื่อสารถึงกันได้ โดยใช้
มาตรฐานในการรับส่งข้อมูลหรือที่เรียกว่า โปรโตคอล (Protocol) ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีชื่อว่า ทีซีพี/
ไอพี (TCP/IP, Transmission Control Protocol/Internet Protocol)
เครือข่ายของระบบอินเทอร์เน็ตนั้นเปรียบเสมือนกับเครือข่ายใยแมงมุมที่ครอบคลุมไปทั่วโลก แต่ละ
จุดที่เชื่อมต่อเข้าไปยังระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น สามารถสื่อสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่มีการกาหนด
แน่นอน การติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายนั้น ไม่จาเป็นต้องเชื่อมต่อกันโดยตรง แต่อาจ
ติดต่อโดยผ่านจุดเชื่อมต่ออื่น และการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายนั้น สามารถเลือกเส้นทาง
ในการเชื่อมต่อได้หลายเส้นทาง กล่าวได้ว่าการติดต่อสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น เป็นการ
ติดต่อสื่อสารแบบไร้พรมแดนหรือไซเบอร์สเปซ (Cyberspace)

รูปที่ 1.1 แสดงแบบจาลองการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ความสาคัญของอินเทอร์เน็ต
ปัจจุบันระบบอินเทอร์เน็ตนั้นมีความสาคัญต่อชีวิตประจาวันมากมายหลายด้านไม่ว่าจะเป็นด้าน
การศึกษา ด้านธุรกิจ ด้านการแพทย์ และอื่นๆ สามารถอธิบายได้พอสังเขปดังนี้
ทางด้านการศึกษาสามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลทางด้านวิชาการต่างๆ ที่สนใจ เช่น ทาง
การแพทย์ ทางวิศวกรรมศาสตร์ ทางดาราศาสตร์ และอื่นๆ ที่น่าสนใจ นอกจากนั้น มหาวิทยาลัยทั้งหลายจะ
ใช้ระบบอินเทอร์เน็ตนี้เป็นช่องทางในการนาเสนองานวิจัยต่างๆ ของมหาวิทยาลัย ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตจึง
เปรียบเสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ นักศึกษาสามารถทาการค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยู่ไดโดยผ่านระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมไปถึงค้นหาช่องทางสาหรับศึกษาต่อในระดับต่างประเทศ
รู ปที่ 1.2 แสดงเว็บไซต์ของสถานศึกษา

ทางด้านธุรกิจ สามารถใช้ประโยชน์สาหรับค้นหาข้อมูลเพื่อช่วยในการตัดสินใจทางด้านธุรกิจ
นอกจากนั้นยังสามารถใช้สาหรับทาการซื้อขายสินค้าผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และยังสามารถเปิด
ให้บริการเพื่อสนับสนุนลูกค้าผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น บริการให้คาแนะนา และตอบปัญหาต่าง ๆ
ให้แก่ลูกค้า รวมไปถึงยังสามารถใช้เป็นช่องทางสาหรับการประชาสัมพันธ์บริษัท
รู ปที่ 1.3 แสดงเว็บไซต์ของหน่วยงานทางด้านธุรกิจ
ทางด้านบันเทิง สามารถใช้เป็นช่องทางสาหรับการพักผ่อนหย่อนใจ เช่น การอ่านวารสาร หรือ
นิตยสารผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมไปถึงหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่นๆ ซึ่งเปรียบเสมือนว่า
จอคอมพิวเตอร์นั้นคือหน้าของวารสารหรือหนังสือพิมพ์ นอกจากนั้นถ้าหากการเชื่อมต่อ เข้าสู่ระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตมีการเชื่อมต่อด้วยความเร็วสูงแล้วนั้น จะทาให้สามารถทาการฟังเพลงรวมไปถึงชมภาพยนตร์ผ่าน
ทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
รู ปที่ 1.4 แสดงเว็บไซต์ของสถานีโทรทัศน์และหนังสือพิมพ์

หมายเลยไอพี
มาตรฐานการรับส่งข้อมูลโดยใชโปรโตคอล ทีซี-พี/ไอพี นั้น เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่ เชื่อมต่อ
กันนั้นจะต้องมีหมายเลขประจาตัว เพื่อใช้เป็นหมายเลขตาแหน่งสาหรับการอ้างอิงให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น
ในระบบ เปรียบเทียบได้กับหมายเลขประจาตัวประชาชนของบคคลแต่ละคนโดยหมายเลขอ้างอิงนี้มีชื่อเรียกว่า
หมายเลขไอพี (IP Address) โดยหมายเลขไอพีของเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องนั้นต้องเป็นหมายเลขที่ไม่
ซ้ากัน
ลักษณะของหมายเลขไอพีนั้น จะประกอบด้วยเลขฐานสองจานวน 4 ชุด ชุดละ 8 บิต รวม ทั้งหมด
32 บิต ซึ่งสามารถใช้แทนค่าได้ 232 หรือ 4,294,967,296 หมายเลข คือตั้งแต่ 0.0.0.0 ถึง 255.255.255.255
โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่ม หรือที่เรียกว่า คลาส (Class) ได้ 5 คลาส ดังนี้
กลุ่ม (Class)
A
B
c
D
E

ช่วงของตัวเลข
0.0.0.0 - 127.255.255.255
128.0.0.0 - 191.255.255.255
192.0.0.0 -223.255.255.255
224.0.0.0 - 239.255.255.255
240.0.0.0 - 247.255.255.255

ระบบชื่อโดเมน
ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System) หมายถึงระบบของชื่อที่ใช้เรียกแทนการเรียก
หมายเลขอินเทอร์เน็ตหรือหมายเลขไอพี (IP Address) เนื่องจากหมายเลขไอพีมีความยุ่งยาก สาหรับการ
จดจาทาให้ขณะที่ใช้งานระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะทาให้เกิดความยุ่งยาก จึงได้มีการพัฒนานาเอาระบบ
ชื่อที่เป็นตัวอักษรมาใช้แทนหมายเลขไอพี เพื่อให้การใช้งานระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นไปได้อย่างสะดวก
ยิ่งขึ้น โดยทั่วไปชื่อที่ใช้เรียกแทนหมายเลขไอพีนั้นมักจะสื่อความหมายถึงหน่วยงานหรือเจ้าของเว็บไซต์ เช่น
เว็บไซต์ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล มีหมายเลข ไอพีคือ 202.44.130.164 ซึ่งยากต่อการจดจา แต่จะใช้
ชื่อโดเมนเรียกแทนเป็น www.rit.ac.th เพื่อให้ง่ายต่อการจดจา
ระบบชื่อโดเมนนั้นจะช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งานระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถ
ใช้งานได้สะดวกยิ่งขึ้น แต่การติดต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายนั้นยังคงใช้หมายเลขไอพี
เช่นเดิม โดยในระบบเครือข่ายนั้นจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งที่ทาหน้าที่บริการสาหรับการเปลี่ยน
ระหว่างระบบหมายเลขไอพีกับระบบชื่อโดเมน โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่ในการให้บริการนี้เรียกว่า
โดเมนเนม เซิร์ฟเวอร์ (Domain Name Server)
ชื่อโดเมนในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้นจะไม่ซ้ากัน โดยแต่ละประเทศจะมีหน่วยงาน รับผิดชอบ
การจดทะเบียนชื่อโดเมน สาหรับในประเทศไทยหน่วยงานที่รับผิดชอบการดูแลชื่อโดเมน คือศูนย์สารสนเทศ
เครือข่ายประเทศไทย (THNIC, Thailand Network Information Center) Domain Name System

รู ปที่ 1.5 แสดงแบบจาลองการแบ่งชื่อตามระบบโดเมน
ชื่อโดเมนนั้นจะถูกแบ่งออกเป็นส่วน โดยแต่ละส่วนจะถูกแบ่งด้วยจุดและตาแหน่งท้ายสุดของชื่อ
โดเมนจะหมายถึงชื่อของเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย ตัวอย่างของชื่อโดเมน เช่น
www.rit.ac.th จากชื่อโดเมนคอมพิวเตอร์เครื่องนี้มีชื่อว่า www
nontri.ku.ac.th จากชื่อโดเมนคอมพิวเตอร์เครื่องนี้มีชื่อว่า nontri
ชื่อโดเมนที่อยู่ตาแหน่งขวาสุดหรือโดเมนระดับบนสุด (Top Level Domain) สามารถแบ่ง
ออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ แบ่งตามลักษณะขององค์กร และแบ่งตามประเทศที่หน่วยงานที่เป็นเจ้าของ
เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นตั้งอยู่

ชื่อโดเมนที่แบ่งตามองค์กร
ระยะแรกที่มีการนาระบบอินเทอร์เน็ตมาใช้งานนั้นยังไม่ได้มีการใช้งานไปทั่วโลกการแบ่ง
ชื่อของโดเมนนั้น จะแบ่งตามลักษณะขององค์กรที่เป็นเจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น โดยโดเมนระดับบนสุดที่
ใช้เป็นการบอกลักษณะขององค์กรมีดังนี้
.com หมายถึงหน่วยงานที่เป็นภาคเอกชน
.edu หมายถึงหน่วยงานที่เป็นสถาบันการศึกษา
.gov หมายถึงหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาล
.mil หมายถึงหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานทางด้านการทหาร
.org หมายถึงหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานที่ไม่แสวงหาผลกาไร
.net หมายถึงหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานที่ให้บริการเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (ISP)

ชื่อโดเมนที่แบ่งตามประเทศ
เมื่อระบบอินเทอร์เน็ตได้รับความนิยมแพร่หลายไปทั่วโลก การแบ่งชื่อโดเมนตามลักษณะของ
หน่วยงานอาจไม่เพียงพอสาหรับการสื่อถึงความหมายของหน่วยงานในระบบเครือข่าย การแบ่งชื่อโดเมนอีก
ลักษณะหนึ่ง คือการแบ่งตามประเทศที่เป็นที่ตั้งของหน่วยงานที่เป็นเจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ
ข้อมูลผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยชื่อโดเมนระดับบนสุดที่ใช้เป็นการบอกชื่อของประเทศที่ตั้งของ
หน่วยงานนั้น สามารถยกตัวอย่างเช่น
.th หมายถึงหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย
.jp หมายถึงหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศญี่ป่น
.au หมายถึงหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศออสเตรเลีย
.br หมายถึงหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศบราซิล
.tw หมายถึงหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศไต้หวัน
.uk หมายถึงหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ

ชื่อโดเมนระดับที่ 2 ในประเทศไทย
หลังจากที่ได้มีการแบ่งชื่อโดเมนตามประเทศแล้ว โดยหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย จะใช้ชื่อ
โดเมนระดับบนสุด (Top Level Domain) เป็น .th หลังจากนั้นก็จะแบ่งหน่วยงานที่ตั้ง อยู่ในประเทศไทย
ออกเป็นประเภทต่างๆ ซึ่งในประเทศอื่นก็เช่นกัน โดยจะมีหน่วยงานของ ประเทศนั้นๆ เป็นผู้พิจารณาว่าจะ
แยกออกเป็นกี่ประเภท และแต่ละประเภทจะมีชื่อโดเมนว่าอย่างไร ตัวอย่าง โดเมนระดับที่ 2 ในประเทศไทยมี
ดังนี้
.ac หมายถึงหน่วยงานที่เป็นสถานศึกษา
.go หมายถึงหน่วยงานราชการ
.or หมายถึงหน่วยงานที่เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร .
.co หมายถึงหน่วยงานเป็นหน่วยงานภาคเอกชน
ตัวอย่างของชื่อโดเมนที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศไทยเช่น www.rit.ac.th,www.nectec.or.th,
www.moph.go.th,www.itv.co.th เป็นต้น

เทคโนโลยีเว็บเพจ
การนาเสนอข้อมูลบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่รู้จักกันดีคือ ระบบของเวิลด์ไวด์เว็บ
(WWW: World Wide Web) โดยระบบนี้ได้รับการพัฒนาขึ้นมาในช่วงปลายปี 1989 โดยทีมงานจาก
ห้องปฏิบัติการทางจุลภาคฟิสิกส์แห่งยุโรปหรือที่รู้จักกันในนาม CERN (Conseil European pour la
Recherche Nucleaire) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อเป็นภาษาที่ใช้สาหรับการเผยแพร่ เอกสารของนักวิจัย
หรือเอกสารเว็บ (Web Document) จากเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายไปยังสถานที่อื่นในระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต โดยเรียกภาษาที่ได้ทาการพัฒนาขึ้นว่า ภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML, Hyper Text Markup
Language)
การเผยแพร่ข้อมูลทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผ่านสื่อที่เป็นเอกสารเว็บหรือเว็บเพจ
(WebPages) ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลการโฆษณาสินค้า ข้อมูล ทางการแพทย์
การเรียน งานวิจัย รวมไปถึงข้อมูลอื่นที่มีประโยชน์ เนื่องจากสามารถเข้าถึงกลุ่ม ผู้สนใจได้ทั่วโลก ตลอดจน
ข้อมูลที่นาเสนอนั้นสามารถเผยแพร่ได้ทั้งข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ข้อมูลที่ เป็นรูปภาพ ข้อมูลเสียงและ
ภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงมีเทคนิคการนาเสนอที่หลากหลายทาให้ สามารถดึงดูดความสนใจของ
ผู้ที่เข้าดูข้อมูลส่งผลให้ระบบการนาเสนอข้อมูลแบบเว็บเพจเป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยมอย่างสูงบนระบบ
อินเทอร์เน็ต

รูปที่ 1.6 แสดงลักษณะของภาษาเอชทีเอ็มแอล

รูปที่ 1.7 แสดงหน้าโฮมเพจที่นาเสนอรายละเอียดของสินค้า
ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของการนาเสนอข้อมูลโดยใช้เว็บเพจ คือสามารถเชื่อมโยงข้อมูล ไปยัง
จุดอื่นบนหน้าเว็บอื่นเว็บไซต์เดียวกัน ตลอดจนสามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจของเว็บไซต์อื่นในระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต จึงเป็นที่มาของคาว่า "Hyper Text" หมายถึงข้อความที่มีความสามารถมากกว่าข้อความปกติ
โดยเมื่อผู้ใช้งานใช้ระบบเวิลด์ไวด์เว็บ จะเสมือนว่าผู้ที่กาลังใช้งาน เอกสารเว็บ สามารถโต้ตอบกับเอกสาร
นั้นเองตลอดเวลาที่มีการใช้งาน
การนาเสนอข้อมูลผ่านทางเว็บเพจนั้น สามารถเชื่อมโยงไปยังเอกสารของเว็บไซต์อื่นโดยใช้ระบบ
กราฟิกซึ่งจะทาให้ข้อมูลนั้นน่าสนใจแก่ผู้ใช้งาน โดยตาแหน่งที่อยู่ทางอินเทอร์เน็ตของระบบเว็บเพจ เรียกว่า
ยูอาร์แอล (URL: Uniform Resource Locator) ส่วนโปรแกรมที่ใช้สาหรับดูเอกสารเว็บบนระบบเครือข่าย
เรียกว่าโปรแกรมค้นดหรือเบราว์เซอร์ (Browser) เมื่อเอกสารเว็บแสดงผลผ่านโปรแกรมเบราว์เซอร์แล้ว ผู้ใช้
สามารถคลิกเลือกรายการหรือข้อมูลทสนใจ อันเป็นการทางานแบบโต้ตอบกับผู้ใช้โดยตรงหรือที่เรียกว่าระบบ
เชิงโต้ตอบ (Interactive)

รูปที่ 1.8 แสดงแบบจาลองการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายจากเครื่องคอมพิวเตอร์หลายระบบ
ข้อมูลที่นาเสนอผ่านทางเว็บเพจนั้น จะไม่ยึดติดกับระบบปฏิบัติการ (Operating System, OS)
ของคอมพิวเตอร์ เนื่องจากข้อมูลเหล่านั้นถูกจัดเก็บเป็นแฟ้มข้อมูลตัวอักษร (Text File) ดังนั้น ไม่ว่าเอกสาร
เว็บจะถูกเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการชนิดใด ไม่ว่าจะเป็นระบบ Windows ระบบ UNIX หรือ
ระบบปฏิบัติการอื่น ก็สามารถที่จะเรียกดูจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ระบบปฏิบัติการต่างจากคอมพิวเตอร์ที่
เป็นเครื่องแม่ข่ายได้
ข้อมูลที่นาเสนอในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นข้อมูลที่มีปริมาณมาก จากทั่วทุกมุมโลก โดยผู้ใช้งาน
จากสถานที่ต่าง ๆ สามารถเชื่อมต่อเข้าระบบอินเทอร์เน็ตได้ และสามารถเรียกดูข้อมูลที่ สนใจได้ตลอดเวลา
ดังนั้นข้อมูลในระบบอินเทอร์เน็ตจึงสามารถเผยแพร่ได้อย่างรวดเร็ว
เมื่อเว็บเพจเป็นสื่อสาหรับนาเสนอข้อมูลออกทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ได้รับความสนใจเป็น
อย่างมาก ดังนั้นการเรียนรู้เทคโนโลยีด้านนี้เพื่อนามาพัฒนาในการสร้างเว็บเพจจึงเป็นสิ่งที่นาสนใจ โดย
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สาหรับการพัฒนาเว็บเพจ คือ ภาษาที่เรียกว่า ภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML) และ
โปรแกรมที่ใช้สาหรับตรวจสอบเว็บเพจที่ได้พัฒนาขึ้น เรียกว่า โปรแกรม เว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser)
ภาษาเอชทีเอ็มแอล
ภาษาเอชทีเอ็มแอล (HyperText Markup Language: HTML) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาหนึ่ง
เพื่อใช้นาเสนอเอกสารเผยแพร่ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เป็นลักษณะเหมือนใยแมงมุมที่เชื่อมต่อกัน
ทั่วโลก (World Wide Web: www) โครงสร้างการเขียนภาษานั้นจะอาศัย ตัวกากับเรียกว่า แท็ก (Tag)
หรือป้ายระบุการแสดงผลเป็นตัวควบคุมการแสดงผลของข้อความ รูปภาพ หรือวัตถุอื่นที่แสดงผลผ่านทาง
โปรแกรมเบราว์เซอร์ (Browser)

ป้ายระบุการแสดงผล
ป้ายระบุการแสดงผลหรือ แท็ก เป็นลักษณะเฉพาะของภาษาเอชทีเอ็มแอล ใช้สาหรับการ ระบุ
รูปแบบของคาสั่งหรือการลงรหัสคาสั่งของภาษาเอชทีเอ็มแอล ซึ่งจะอย่ระหว่างเครื่องหมาย น้อยกว่า (<) และ
เครื่องหมายมากกว่า (>) โดยที่ป้ายระบุการแสดงผลหรือ แท็ก ของภาษาเอชที เอ็มแอลนี้สามารถแบ่งได้
2 ลักษณะ คือ
1. ป้ายระบุการแสดงผลเดี่ยวหรือแท็กเดี่ยว เป็นป้ายระบุการแสดงผลที่ไม่ต้องมีการปิดรหัส เช่น
<p>1 <HR> เป็นต้น
2. ป้ายระบุการแสดงผลเปิด/ปิดหรือแท็กเปิด/ปิด เป็นป้ายระบุการแสดงผลที่ประกอบ ด้วยป้าย
ระบุการแสดงผลเปิดหรือแท็กเปิด และป้ายระบุการแสดงผลปิดหรือแท็กปิด โดยป้ายระบุ การแสดงผลปิดจะมี
เครื่องหมาย สแลช (slash, /) นาหน้าคาสั่งในป้ายระบุการแสดงผลนั้นๆ เช่น <H1 >...</H1 >, <B>...</B>
เป็นต้นโดยถ้าทาการเปิดด้วยคาสั่งใดจะต้องทาการปิดด้วยคาสั่งนั้น

รูปที่ 1.9 แสดงภาษาเอชทีเอ็มแอลและผลที่ได้จากการแสดงโดยไข้โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์

การกาหนดคุณลักษณะพิเศษเพิ่มเติมของคาสั่ง
การกาหนดคุณลักษณะพิเศษเพิ่มเติมของคาสั่ง (Attributes) เป็นส่วนขยายความสามารถ
ของป้ายระบุการแสดงผลหรือแท็ก ซึ่งจะอยู่ภายใต้เครื่องหมาย < > ในส่วนแท็กเปิดเท่านั้น โดยแท็กคาสั่ง
เอชทีเอ็มแอล (HTML) ในแต่,ละคาสั่งจะมีการกาหนดคุณลักษณะพิเศษเพิ่มเติม แตกต่างกันออกไปและ
การระบุการกาหนดคุณลักษณะพิเศษเพิ่มเติมที่มากกว่า 1 คุณลักษณะ จะใช้ช่องว่างเป็นตัวแยก ตัวอย่างเช่น
แท็กสาหรับควบคุมเกี่ยวกับรูปภาพ คือ <IMG> มีการกาหนดคุณลักษณะพิเศษเพิ่มเติม ดังนี้
<IMG SRC="filename" WIDTH="n" HE1GHT="n" ALT="text" BORDER="n">
SRC
ใช้ สาหรับกาหนดแฟ้มข้อมูลรูปภาพที่จ ะนามาแสดงผล
WIDTH
ใช้สาหรับการกาหนดความกว้างของภาพ
HEIGHT ใช้สาหรับการกาหนดความสูงของภาพ
ALT
ใช้สาหรับการกาหนดคาอธิบายภาพ
BORDER ใช้สาหรับการกาหนดขนาดของเส้นขอบของภาพ
แฟ้มเอกสารที่เป็นภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML) นั้น เป็นแฟ้มข้อมูลชนิดข้อความรูปแบบ หนึ่ง (Text
Files) ที่เก็บชุดคาสั่งภาษาเอชทีเอ็มแอล ตังนั้นการสร้างเอกสารเอชทีเอ็มแอล จึงสามารถใช้โปรแกรมสาหรับ
จัดการแฟ้มข้อมูลตัวอักษร (Text Editor) ทั่วไปในการแกไขเอกสาร เอชทีเอ็มแอลได้ เช่น โปรแกรม
NotePad, โปรแกรม WordPadThai เป็นด้น

โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser)
เอกสารที่สร้างโดยใช้ภาษาเอชทีเอ็มแอลนั้น จะต้องอาศัยโปรแกรมสาหรับใช้ในการแสดงผล
บนจอภาพ โดยโปรแกรมที่ทาหน้าที่แสดงผลเอกสารเอชทีเอ็มแอลนี้เรียกว่า โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์
(Web Browser) โปรแกรมเบราว์เซอร์ได้ถูกสร้างขึ้นจากหลายบริษัท แต่ที่ไต้รับความนิยมและ ใช้กันอย่าง
แพร่หลาย เช่น โปรแกรม Netscape Navigator, Netscape Communicator ของบริษัท Netscape หรือ
โปรแกรม Microsoft Explorer ของบริษัทไมโครชอฟต์ นอกจากนี้ยังมีอีกหลาย โปรแกรม เช่น Mosaic,
Lynx, MacWeb, Cello, Opera เป็นต้น

โปรแกรมสร้างเอกสารเว็บ
การพัฒนาเว็บเพจนั้นสามารถกระทาได้โดยการเขียนด้วยภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML) ซึ่งมีลักษณะ
เหมือนกับการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งอาจสร้างโดยใช้โปรแกรมสาหรับจัดการเกี่ยวกับแฟ้ม
ข้อความตัวอักษร (Text Editor) เช่นโปรแกรม Notepad ในปัจจุบันมีโปรแกรมสาหรับใช้เป็นเครื่องมือในการ
ช่วยพัฒนาเว็บเพจมากมาย ทั้งแบบช่วยลงรหัสภาษาเอชทีเอ็มแอล และแบบสร้างเว็บเพจแบบอัตโนมัติ
(Wizard) ทั้งนี้สามารถจาแนกวิธีการพัฒนาเว็บเพจด้วยโปรแกรมได้ 3 วิธี คือ
การใช้โปรแกรมจัดการแฟ้มข้อความตัวอักษร (Text Editor)
การใช้โปรแกรมจัดการแฟ้มข้อความตัวอักษร (Text Editor) เช่น Notepad, Q-editor นั้น เป็นวิธีที่
เหมาะสาหรับผู้ที่มืความรู้เกี่ยวกับภาษาเอชทีเอ็มแอล ซึ่งสามารถจัดวางตาแหน่งหรือใส่คุณลักษณะพิเศษ
ให้กับเว็บเพจตามต้องการ เพราะสามารถควบคุมตาแหน่งและจานวนรหัสคาสั่งได้อิสระ อย่างไรก็ตามวิธีนี้ไม่
เหมาะสาหรับผู้พัฒนาในระดับต้น เพราะต้องศึกษาคาสั่งภาษาเอชทีเอ็มแอลและใช้เวลาในการพัฒนานาน
พอสมควรในแต่ละหน้าเว็บ และไม่เห็นผลลัพธ์ จากการป้อน คาสั่งทันที แต่จะต้องทาการเรียกผ่านโปรแกรม
เว็บเบราว์เซอร์ แต่ถ้าหากทาการเริ่มต้นฝึกการพัฒนาเว็บเพจด้วยวิธีการนี้ โดยมีผู้ที่มีความรู้คอยแนะนา จะทา
ให้สามารถเข้าใจการทางานของ เอกสารเว็บได้ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น

รู ป ที่ 1.10 แสดงลักษณะของโปรแกรมจัดการแฟ้มข้อมูลตัวอักษรในการสร้างเว็บเพจ

การใช้โปรแกรมเอชทีเอ็มแอล อีดิเตอร์ (HTML Editor)
โปรแกรมเอชทีเอ็มแอล อีดิเตอร์ จะช่วยทาให้การลงรหัสภาษาเอชทีเอ็มแอลนั้น กระทาได้สะดวก
และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เนื่องจากจะมีปุ่มคาสั่งควบคุมต่างๆ ของภาษาเอชทีเอ็มแอล ซึ่งคล้ายกับปุ่มคาสั่งใน
โปรแกรมประมวลผลคา เช่น กลุ่มของโปรแกรมไมโครซอฟต์ออฟฟิศ (Microsoft Office) โปรแกรมกลุ่มนี้
จะมีจุดด้อยที่หากมีคาสั่งภาษาเอชทีเอ็มแอลใหม่เกิดขึ้น จะยังไม่มีปมสาหรับคาสั่งใหม่เหล่านี้ ผู้สร้างเอกสาร
ุ่
เว็บด้วยวิธีการนี้ยังต้องพิมพ์คาสั่งภาษาเอชทีเอ็มแอลเช่นเดิม ตัวอย่างของโปรแกรมเอชทีเอ็มแอล อีดิเตอร์
เช่น โปรแกรม HTML Assistant, โปรแกรม HotDog Professional เป็นต้น

การใช้โปรแกรมสร้างเอกสารเว็บแบบอัตโนมัติ (HTML Generator)
โปรแกรมสาหรับสร้างเอกสารเว็บแบบอัตโนมัติ เป็นโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยให้การ
พัฒนาเอกสารเว็บนั้น สามารถทาได้สะดวกและรวดเร็วการใช้งานโปรแกรมเหล่านี้ จะคล้ายกับการสร้าง
เอกสารในโปรแกรมประมวลผลคาทั่วไป เช่น โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด (Microsoft Word) และมีปุ่ม
คาสั่งที่คล้ายคลึงกัน และผู้ที่ทาการสร้างเว็บเพจนั้นสามารถเห็นผลจากการใช้คาสั่งได้ทันที โดยโปรแกรม
ประเภทนี้จะทาการแปลงเอกสารนั้นให้เป็นเอกสารเอชทีเอ็มแอลโดยอัตโนมัติ ซึ่งที่ผู้ที่ทาการสร้างเว็บเพจ
ไม่ต้องยุ่งยากกับการศึกษาชุดคาสั่งภาษาเอชทีเอ็มแอล แต่โปรแกรมในกลุ่มนี้ก็มีจุดด้อยที่ว่าชุดคาสั่งภาษา
เอชทีเอ็มแอลที่แต่ละโปรแกรมสร้างขึ้น มานั้นจะมีข้อจากัดต่างๆ มากมาย และบางโปรแกรมยังไม่สนับสนุน
การทางานกับภาษาไทย อาจต้องทาการปรับปรุงโปรแกรมก่อน จึงจะใช้งานกับภาษาไทยไต้ ตัวอย่างของ
โปรแกรมในกลุ่ม เช่น กลุ่มโปรแกรมไมโครซอฟต์ออฟฟิศ, โปรแกรม Microsoft FrontPage,
โปรแกรม Netscape Editor, โปรแกรม Macromedia Dreamweaver เป็นต้น

รู ปที่ 1.11 แสดงลักษณะของโปรแกรม Microsoft Frontpage

Contenu connexe

Tendances

การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2เขมิกา กุลาศรี
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตKruPor Sirirat Namthai
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต3
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต3ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต3
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต3เขมิกา กุลาศรี
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1gotchagon
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นAmmarirat
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตguesta2e9460
 
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22terdtanin
 
Internet
InternetInternet
InternetJ9721
 

Tendances (16)

การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Tarn
TarnTarn
Tarn
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต3
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต3ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต3
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Work3-37
Work3-37Work3-37
Work3-37
 

Similaire à หน่วยที่ 01

อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นthanakorn123
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นrachavo
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นthanakorn123
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตjobasketball
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
อิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตอิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตNaluemonPcy
 
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 2
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 207 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 2
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 2Natchanon Srinuan
 
Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02Jenchoke Tachagomain
 

Similaire à หน่วยที่ 01 (20)

อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
Home network
Home networkHome network
Home network
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตอิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 2
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 207 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 2
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 2
 
Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02
 

หน่วยที่ 01

  • 1. แนวคิด หน่วยนี้จะกล่าวนาถึงระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยจะกล่าวความเป็นมาของระบบ อินเทอร์เน็ต ความสาคัญของระบบอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน ระบบหมายเลขและระบบชื่อที่ใช้อ้างตาแหน่งที่อยู่ ของเครื่องคอมิพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย ระบบเว็บเพจ ภาษาที่ใช้ในการสร้างเว็บเพจ และโปรแกรม หรับ สร้างเว็บเพจ สาระการเรียนรู้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. อินเทอร์เน็ต ความสาคัญของอินเทอร์เน็ต หมายเลขไอพี ระบบชื่อโดเมน เทคโนโลยีเว็บเพจ ภาษาเอชทีเอ็มแอล โปรแกรมสร้างเอกสารเว็บ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. อธิบายความเป็นมาและความสาคัญของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ สามารถบอกความสาคัญของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถบอกลักษณะของระบบหมายเลขไอพีที่ใช้ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถบอกลักษณะของระบบชื่อโดเมนที่ใช้ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อธิบายความเป็นมาของระบบเว็บเพจได้ อธิบายภาษาที่ใช้ในการสร้างและพัฒนาเว็บเพจได้ สามารถบอกประเภทของโปรแกรมที่ใช้สาหรับการพัฒนาและการสร้างเว็บเพจ อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกันทั่วโลกจนเป็น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ซึ่งคาว่าอินเทอร์เน็ตมาจากคาว่า "Inter Connection Network" โดยเครื่อง
  • 2. คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้นสามารถติดต่อ สื่อสารถึงกันได้ โดยใช้ มาตรฐานในการรับส่งข้อมูลหรือที่เรียกว่า โปรโตคอล (Protocol) ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีชื่อว่า ทีซีพี/ ไอพี (TCP/IP, Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เครือข่ายของระบบอินเทอร์เน็ตนั้นเปรียบเสมือนกับเครือข่ายใยแมงมุมที่ครอบคลุมไปทั่วโลก แต่ละ จุดที่เชื่อมต่อเข้าไปยังระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น สามารถสื่อสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่มีการกาหนด แน่นอน การติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายนั้น ไม่จาเป็นต้องเชื่อมต่อกันโดยตรง แต่อาจ ติดต่อโดยผ่านจุดเชื่อมต่ออื่น และการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายนั้น สามารถเลือกเส้นทาง ในการเชื่อมต่อได้หลายเส้นทาง กล่าวได้ว่าการติดต่อสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น เป็นการ ติดต่อสื่อสารแบบไร้พรมแดนหรือไซเบอร์สเปซ (Cyberspace) รูปที่ 1.1 แสดงแบบจาลองการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ความสาคัญของอินเทอร์เน็ต ปัจจุบันระบบอินเทอร์เน็ตนั้นมีความสาคัญต่อชีวิตประจาวันมากมายหลายด้านไม่ว่าจะเป็นด้าน การศึกษา ด้านธุรกิจ ด้านการแพทย์ และอื่นๆ สามารถอธิบายได้พอสังเขปดังนี้ ทางด้านการศึกษาสามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลทางด้านวิชาการต่างๆ ที่สนใจ เช่น ทาง การแพทย์ ทางวิศวกรรมศาสตร์ ทางดาราศาสตร์ และอื่นๆ ที่น่าสนใจ นอกจากนั้น มหาวิทยาลัยทั้งหลายจะ ใช้ระบบอินเทอร์เน็ตนี้เป็นช่องทางในการนาเสนองานวิจัยต่างๆ ของมหาวิทยาลัย ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตจึง เปรียบเสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ นักศึกษาสามารถทาการค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยู่ไดโดยผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมไปถึงค้นหาช่องทางสาหรับศึกษาต่อในระดับต่างประเทศ
  • 3. รู ปที่ 1.2 แสดงเว็บไซต์ของสถานศึกษา ทางด้านธุรกิจ สามารถใช้ประโยชน์สาหรับค้นหาข้อมูลเพื่อช่วยในการตัดสินใจทางด้านธุรกิจ นอกจากนั้นยังสามารถใช้สาหรับทาการซื้อขายสินค้าผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และยังสามารถเปิด ให้บริการเพื่อสนับสนุนลูกค้าผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น บริการให้คาแนะนา และตอบปัญหาต่าง ๆ ให้แก่ลูกค้า รวมไปถึงยังสามารถใช้เป็นช่องทางสาหรับการประชาสัมพันธ์บริษัท
  • 4. รู ปที่ 1.3 แสดงเว็บไซต์ของหน่วยงานทางด้านธุรกิจ ทางด้านบันเทิง สามารถใช้เป็นช่องทางสาหรับการพักผ่อนหย่อนใจ เช่น การอ่านวารสาร หรือ นิตยสารผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมไปถึงหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่นๆ ซึ่งเปรียบเสมือนว่า จอคอมพิวเตอร์นั้นคือหน้าของวารสารหรือหนังสือพิมพ์ นอกจากนั้นถ้าหากการเชื่อมต่อ เข้าสู่ระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตมีการเชื่อมต่อด้วยความเร็วสูงแล้วนั้น จะทาให้สามารถทาการฟังเพลงรวมไปถึงชมภาพยนตร์ผ่าน ทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
  • 5. รู ปที่ 1.4 แสดงเว็บไซต์ของสถานีโทรทัศน์และหนังสือพิมพ์ หมายเลยไอพี มาตรฐานการรับส่งข้อมูลโดยใชโปรโตคอล ทีซี-พี/ไอพี นั้น เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่ เชื่อมต่อ กันนั้นจะต้องมีหมายเลขประจาตัว เพื่อใช้เป็นหมายเลขตาแหน่งสาหรับการอ้างอิงให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ในระบบ เปรียบเทียบได้กับหมายเลขประจาตัวประชาชนของบคคลแต่ละคนโดยหมายเลขอ้างอิงนี้มีชื่อเรียกว่า หมายเลขไอพี (IP Address) โดยหมายเลขไอพีของเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องนั้นต้องเป็นหมายเลขที่ไม่ ซ้ากัน ลักษณะของหมายเลขไอพีนั้น จะประกอบด้วยเลขฐานสองจานวน 4 ชุด ชุดละ 8 บิต รวม ทั้งหมด 32 บิต ซึ่งสามารถใช้แทนค่าได้ 232 หรือ 4,294,967,296 หมายเลข คือตั้งแต่ 0.0.0.0 ถึง 255.255.255.255 โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่ม หรือที่เรียกว่า คลาส (Class) ได้ 5 คลาส ดังนี้ กลุ่ม (Class) A B c D E ช่วงของตัวเลข 0.0.0.0 - 127.255.255.255 128.0.0.0 - 191.255.255.255 192.0.0.0 -223.255.255.255 224.0.0.0 - 239.255.255.255 240.0.0.0 - 247.255.255.255 ระบบชื่อโดเมน ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System) หมายถึงระบบของชื่อที่ใช้เรียกแทนการเรียก หมายเลขอินเทอร์เน็ตหรือหมายเลขไอพี (IP Address) เนื่องจากหมายเลขไอพีมีความยุ่งยาก สาหรับการ จดจาทาให้ขณะที่ใช้งานระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะทาให้เกิดความยุ่งยาก จึงได้มีการพัฒนานาเอาระบบ ชื่อที่เป็นตัวอักษรมาใช้แทนหมายเลขไอพี เพื่อให้การใช้งานระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นไปได้อย่างสะดวก ยิ่งขึ้น โดยทั่วไปชื่อที่ใช้เรียกแทนหมายเลขไอพีนั้นมักจะสื่อความหมายถึงหน่วยงานหรือเจ้าของเว็บไซต์ เช่น เว็บไซต์ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล มีหมายเลข ไอพีคือ 202.44.130.164 ซึ่งยากต่อการจดจา แต่จะใช้ ชื่อโดเมนเรียกแทนเป็น www.rit.ac.th เพื่อให้ง่ายต่อการจดจา ระบบชื่อโดเมนนั้นจะช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งานระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถ ใช้งานได้สะดวกยิ่งขึ้น แต่การติดต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายนั้นยังคงใช้หมายเลขไอพี เช่นเดิม โดยในระบบเครือข่ายนั้นจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งที่ทาหน้าที่บริการสาหรับการเปลี่ยน ระหว่างระบบหมายเลขไอพีกับระบบชื่อโดเมน โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่ในการให้บริการนี้เรียกว่า โดเมนเนม เซิร์ฟเวอร์ (Domain Name Server)
  • 6. ชื่อโดเมนในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้นจะไม่ซ้ากัน โดยแต่ละประเทศจะมีหน่วยงาน รับผิดชอบ การจดทะเบียนชื่อโดเมน สาหรับในประเทศไทยหน่วยงานที่รับผิดชอบการดูแลชื่อโดเมน คือศูนย์สารสนเทศ เครือข่ายประเทศไทย (THNIC, Thailand Network Information Center) Domain Name System รู ปที่ 1.5 แสดงแบบจาลองการแบ่งชื่อตามระบบโดเมน ชื่อโดเมนนั้นจะถูกแบ่งออกเป็นส่วน โดยแต่ละส่วนจะถูกแบ่งด้วยจุดและตาแหน่งท้ายสุดของชื่อ โดเมนจะหมายถึงชื่อของเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย ตัวอย่างของชื่อโดเมน เช่น www.rit.ac.th จากชื่อโดเมนคอมพิวเตอร์เครื่องนี้มีชื่อว่า www nontri.ku.ac.th จากชื่อโดเมนคอมพิวเตอร์เครื่องนี้มีชื่อว่า nontri ชื่อโดเมนที่อยู่ตาแหน่งขวาสุดหรือโดเมนระดับบนสุด (Top Level Domain) สามารถแบ่ง ออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ แบ่งตามลักษณะขององค์กร และแบ่งตามประเทศที่หน่วยงานที่เป็นเจ้าของ เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นตั้งอยู่ ชื่อโดเมนที่แบ่งตามองค์กร ระยะแรกที่มีการนาระบบอินเทอร์เน็ตมาใช้งานนั้นยังไม่ได้มีการใช้งานไปทั่วโลกการแบ่ง ชื่อของโดเมนนั้น จะแบ่งตามลักษณะขององค์กรที่เป็นเจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น โดยโดเมนระดับบนสุดที่ ใช้เป็นการบอกลักษณะขององค์กรมีดังนี้ .com หมายถึงหน่วยงานที่เป็นภาคเอกชน .edu หมายถึงหน่วยงานที่เป็นสถาบันการศึกษา .gov หมายถึงหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาล .mil หมายถึงหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานทางด้านการทหาร .org หมายถึงหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานที่ไม่แสวงหาผลกาไร .net หมายถึงหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานที่ให้บริการเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (ISP) ชื่อโดเมนที่แบ่งตามประเทศ
  • 7. เมื่อระบบอินเทอร์เน็ตได้รับความนิยมแพร่หลายไปทั่วโลก การแบ่งชื่อโดเมนตามลักษณะของ หน่วยงานอาจไม่เพียงพอสาหรับการสื่อถึงความหมายของหน่วยงานในระบบเครือข่าย การแบ่งชื่อโดเมนอีก ลักษณะหนึ่ง คือการแบ่งตามประเทศที่เป็นที่ตั้งของหน่วยงานที่เป็นเจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ ข้อมูลผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยชื่อโดเมนระดับบนสุดที่ใช้เป็นการบอกชื่อของประเทศที่ตั้งของ หน่วยงานนั้น สามารถยกตัวอย่างเช่น .th หมายถึงหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย .jp หมายถึงหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศญี่ป่น .au หมายถึงหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศออสเตรเลีย .br หมายถึงหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศบราซิล .tw หมายถึงหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศไต้หวัน .uk หมายถึงหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ ชื่อโดเมนระดับที่ 2 ในประเทศไทย หลังจากที่ได้มีการแบ่งชื่อโดเมนตามประเทศแล้ว โดยหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย จะใช้ชื่อ โดเมนระดับบนสุด (Top Level Domain) เป็น .th หลังจากนั้นก็จะแบ่งหน่วยงานที่ตั้ง อยู่ในประเทศไทย ออกเป็นประเภทต่างๆ ซึ่งในประเทศอื่นก็เช่นกัน โดยจะมีหน่วยงานของ ประเทศนั้นๆ เป็นผู้พิจารณาว่าจะ แยกออกเป็นกี่ประเภท และแต่ละประเภทจะมีชื่อโดเมนว่าอย่างไร ตัวอย่าง โดเมนระดับที่ 2 ในประเทศไทยมี ดังนี้ .ac หมายถึงหน่วยงานที่เป็นสถานศึกษา .go หมายถึงหน่วยงานราชการ .or หมายถึงหน่วยงานที่เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร . .co หมายถึงหน่วยงานเป็นหน่วยงานภาคเอกชน ตัวอย่างของชื่อโดเมนที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศไทยเช่น www.rit.ac.th,www.nectec.or.th, www.moph.go.th,www.itv.co.th เป็นต้น เทคโนโลยีเว็บเพจ การนาเสนอข้อมูลบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่รู้จักกันดีคือ ระบบของเวิลด์ไวด์เว็บ (WWW: World Wide Web) โดยระบบนี้ได้รับการพัฒนาขึ้นมาในช่วงปลายปี 1989 โดยทีมงานจาก ห้องปฏิบัติการทางจุลภาคฟิสิกส์แห่งยุโรปหรือที่รู้จักกันในนาม CERN (Conseil European pour la Recherche Nucleaire) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อเป็นภาษาที่ใช้สาหรับการเผยแพร่ เอกสารของนักวิจัย หรือเอกสารเว็บ (Web Document) จากเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายไปยังสถานที่อื่นในระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต โดยเรียกภาษาที่ได้ทาการพัฒนาขึ้นว่า ภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML, Hyper Text Markup Language) การเผยแพร่ข้อมูลทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผ่านสื่อที่เป็นเอกสารเว็บหรือเว็บเพจ (WebPages) ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลการโฆษณาสินค้า ข้อมูล ทางการแพทย์
  • 8. การเรียน งานวิจัย รวมไปถึงข้อมูลอื่นที่มีประโยชน์ เนื่องจากสามารถเข้าถึงกลุ่ม ผู้สนใจได้ทั่วโลก ตลอดจน ข้อมูลที่นาเสนอนั้นสามารถเผยแพร่ได้ทั้งข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ข้อมูลที่ เป็นรูปภาพ ข้อมูลเสียงและ ภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงมีเทคนิคการนาเสนอที่หลากหลายทาให้ สามารถดึงดูดความสนใจของ ผู้ที่เข้าดูข้อมูลส่งผลให้ระบบการนาเสนอข้อมูลแบบเว็บเพจเป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยมอย่างสูงบนระบบ อินเทอร์เน็ต รูปที่ 1.6 แสดงลักษณะของภาษาเอชทีเอ็มแอล รูปที่ 1.7 แสดงหน้าโฮมเพจที่นาเสนอรายละเอียดของสินค้า ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของการนาเสนอข้อมูลโดยใช้เว็บเพจ คือสามารถเชื่อมโยงข้อมูล ไปยัง จุดอื่นบนหน้าเว็บอื่นเว็บไซต์เดียวกัน ตลอดจนสามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจของเว็บไซต์อื่นในระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต จึงเป็นที่มาของคาว่า "Hyper Text" หมายถึงข้อความที่มีความสามารถมากกว่าข้อความปกติ
  • 9. โดยเมื่อผู้ใช้งานใช้ระบบเวิลด์ไวด์เว็บ จะเสมือนว่าผู้ที่กาลังใช้งาน เอกสารเว็บ สามารถโต้ตอบกับเอกสาร นั้นเองตลอดเวลาที่มีการใช้งาน การนาเสนอข้อมูลผ่านทางเว็บเพจนั้น สามารถเชื่อมโยงไปยังเอกสารของเว็บไซต์อื่นโดยใช้ระบบ กราฟิกซึ่งจะทาให้ข้อมูลนั้นน่าสนใจแก่ผู้ใช้งาน โดยตาแหน่งที่อยู่ทางอินเทอร์เน็ตของระบบเว็บเพจ เรียกว่า ยูอาร์แอล (URL: Uniform Resource Locator) ส่วนโปรแกรมที่ใช้สาหรับดูเอกสารเว็บบนระบบเครือข่าย เรียกว่าโปรแกรมค้นดหรือเบราว์เซอร์ (Browser) เมื่อเอกสารเว็บแสดงผลผ่านโปรแกรมเบราว์เซอร์แล้ว ผู้ใช้ สามารถคลิกเลือกรายการหรือข้อมูลทสนใจ อันเป็นการทางานแบบโต้ตอบกับผู้ใช้โดยตรงหรือที่เรียกว่าระบบ เชิงโต้ตอบ (Interactive) รูปที่ 1.8 แสดงแบบจาลองการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายจากเครื่องคอมพิวเตอร์หลายระบบ ข้อมูลที่นาเสนอผ่านทางเว็บเพจนั้น จะไม่ยึดติดกับระบบปฏิบัติการ (Operating System, OS) ของคอมพิวเตอร์ เนื่องจากข้อมูลเหล่านั้นถูกจัดเก็บเป็นแฟ้มข้อมูลตัวอักษร (Text File) ดังนั้น ไม่ว่าเอกสาร เว็บจะถูกเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการชนิดใด ไม่ว่าจะเป็นระบบ Windows ระบบ UNIX หรือ ระบบปฏิบัติการอื่น ก็สามารถที่จะเรียกดูจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ระบบปฏิบัติการต่างจากคอมพิวเตอร์ที่ เป็นเครื่องแม่ข่ายได้ ข้อมูลที่นาเสนอในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นข้อมูลที่มีปริมาณมาก จากทั่วทุกมุมโลก โดยผู้ใช้งาน จากสถานที่ต่าง ๆ สามารถเชื่อมต่อเข้าระบบอินเทอร์เน็ตได้ และสามารถเรียกดูข้อมูลที่ สนใจได้ตลอดเวลา ดังนั้นข้อมูลในระบบอินเทอร์เน็ตจึงสามารถเผยแพร่ได้อย่างรวดเร็ว เมื่อเว็บเพจเป็นสื่อสาหรับนาเสนอข้อมูลออกทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ได้รับความสนใจเป็น อย่างมาก ดังนั้นการเรียนรู้เทคโนโลยีด้านนี้เพื่อนามาพัฒนาในการสร้างเว็บเพจจึงเป็นสิ่งที่นาสนใจ โดย ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สาหรับการพัฒนาเว็บเพจ คือ ภาษาที่เรียกว่า ภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML) และ โปรแกรมที่ใช้สาหรับตรวจสอบเว็บเพจที่ได้พัฒนาขึ้น เรียกว่า โปรแกรม เว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser)
  • 10. ภาษาเอชทีเอ็มแอล ภาษาเอชทีเอ็มแอล (HyperText Markup Language: HTML) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาหนึ่ง เพื่อใช้นาเสนอเอกสารเผยแพร่ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เป็นลักษณะเหมือนใยแมงมุมที่เชื่อมต่อกัน ทั่วโลก (World Wide Web: www) โครงสร้างการเขียนภาษานั้นจะอาศัย ตัวกากับเรียกว่า แท็ก (Tag) หรือป้ายระบุการแสดงผลเป็นตัวควบคุมการแสดงผลของข้อความ รูปภาพ หรือวัตถุอื่นที่แสดงผลผ่านทาง โปรแกรมเบราว์เซอร์ (Browser) ป้ายระบุการแสดงผล ป้ายระบุการแสดงผลหรือ แท็ก เป็นลักษณะเฉพาะของภาษาเอชทีเอ็มแอล ใช้สาหรับการ ระบุ รูปแบบของคาสั่งหรือการลงรหัสคาสั่งของภาษาเอชทีเอ็มแอล ซึ่งจะอย่ระหว่างเครื่องหมาย น้อยกว่า (<) และ เครื่องหมายมากกว่า (>) โดยที่ป้ายระบุการแสดงผลหรือ แท็ก ของภาษาเอชที เอ็มแอลนี้สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ 1. ป้ายระบุการแสดงผลเดี่ยวหรือแท็กเดี่ยว เป็นป้ายระบุการแสดงผลที่ไม่ต้องมีการปิดรหัส เช่น <p>1 <HR> เป็นต้น 2. ป้ายระบุการแสดงผลเปิด/ปิดหรือแท็กเปิด/ปิด เป็นป้ายระบุการแสดงผลที่ประกอบ ด้วยป้าย ระบุการแสดงผลเปิดหรือแท็กเปิด และป้ายระบุการแสดงผลปิดหรือแท็กปิด โดยป้ายระบุ การแสดงผลปิดจะมี เครื่องหมาย สแลช (slash, /) นาหน้าคาสั่งในป้ายระบุการแสดงผลนั้นๆ เช่น <H1 >...</H1 >, <B>...</B> เป็นต้นโดยถ้าทาการเปิดด้วยคาสั่งใดจะต้องทาการปิดด้วยคาสั่งนั้น รูปที่ 1.9 แสดงภาษาเอชทีเอ็มแอลและผลที่ได้จากการแสดงโดยไข้โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ การกาหนดคุณลักษณะพิเศษเพิ่มเติมของคาสั่ง การกาหนดคุณลักษณะพิเศษเพิ่มเติมของคาสั่ง (Attributes) เป็นส่วนขยายความสามารถ ของป้ายระบุการแสดงผลหรือแท็ก ซึ่งจะอยู่ภายใต้เครื่องหมาย < > ในส่วนแท็กเปิดเท่านั้น โดยแท็กคาสั่ง เอชทีเอ็มแอล (HTML) ในแต่,ละคาสั่งจะมีการกาหนดคุณลักษณะพิเศษเพิ่มเติม แตกต่างกันออกไปและ
  • 11. การระบุการกาหนดคุณลักษณะพิเศษเพิ่มเติมที่มากกว่า 1 คุณลักษณะ จะใช้ช่องว่างเป็นตัวแยก ตัวอย่างเช่น แท็กสาหรับควบคุมเกี่ยวกับรูปภาพ คือ <IMG> มีการกาหนดคุณลักษณะพิเศษเพิ่มเติม ดังนี้ <IMG SRC="filename" WIDTH="n" HE1GHT="n" ALT="text" BORDER="n"> SRC ใช้ สาหรับกาหนดแฟ้มข้อมูลรูปภาพที่จ ะนามาแสดงผล WIDTH ใช้สาหรับการกาหนดความกว้างของภาพ HEIGHT ใช้สาหรับการกาหนดความสูงของภาพ ALT ใช้สาหรับการกาหนดคาอธิบายภาพ BORDER ใช้สาหรับการกาหนดขนาดของเส้นขอบของภาพ แฟ้มเอกสารที่เป็นภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML) นั้น เป็นแฟ้มข้อมูลชนิดข้อความรูปแบบ หนึ่ง (Text Files) ที่เก็บชุดคาสั่งภาษาเอชทีเอ็มแอล ตังนั้นการสร้างเอกสารเอชทีเอ็มแอล จึงสามารถใช้โปรแกรมสาหรับ จัดการแฟ้มข้อมูลตัวอักษร (Text Editor) ทั่วไปในการแกไขเอกสาร เอชทีเอ็มแอลได้ เช่น โปรแกรม NotePad, โปรแกรม WordPadThai เป็นด้น โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser) เอกสารที่สร้างโดยใช้ภาษาเอชทีเอ็มแอลนั้น จะต้องอาศัยโปรแกรมสาหรับใช้ในการแสดงผล บนจอภาพ โดยโปรแกรมที่ทาหน้าที่แสดงผลเอกสารเอชทีเอ็มแอลนี้เรียกว่า โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser) โปรแกรมเบราว์เซอร์ได้ถูกสร้างขึ้นจากหลายบริษัท แต่ที่ไต้รับความนิยมและ ใช้กันอย่าง แพร่หลาย เช่น โปรแกรม Netscape Navigator, Netscape Communicator ของบริษัท Netscape หรือ โปรแกรม Microsoft Explorer ของบริษัทไมโครชอฟต์ นอกจากนี้ยังมีอีกหลาย โปรแกรม เช่น Mosaic, Lynx, MacWeb, Cello, Opera เป็นต้น โปรแกรมสร้างเอกสารเว็บ การพัฒนาเว็บเพจนั้นสามารถกระทาได้โดยการเขียนด้วยภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML) ซึ่งมีลักษณะ เหมือนกับการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งอาจสร้างโดยใช้โปรแกรมสาหรับจัดการเกี่ยวกับแฟ้ม ข้อความตัวอักษร (Text Editor) เช่นโปรแกรม Notepad ในปัจจุบันมีโปรแกรมสาหรับใช้เป็นเครื่องมือในการ ช่วยพัฒนาเว็บเพจมากมาย ทั้งแบบช่วยลงรหัสภาษาเอชทีเอ็มแอล และแบบสร้างเว็บเพจแบบอัตโนมัติ (Wizard) ทั้งนี้สามารถจาแนกวิธีการพัฒนาเว็บเพจด้วยโปรแกรมได้ 3 วิธี คือ การใช้โปรแกรมจัดการแฟ้มข้อความตัวอักษร (Text Editor)
  • 12. การใช้โปรแกรมจัดการแฟ้มข้อความตัวอักษร (Text Editor) เช่น Notepad, Q-editor นั้น เป็นวิธีที่ เหมาะสาหรับผู้ที่มืความรู้เกี่ยวกับภาษาเอชทีเอ็มแอล ซึ่งสามารถจัดวางตาแหน่งหรือใส่คุณลักษณะพิเศษ ให้กับเว็บเพจตามต้องการ เพราะสามารถควบคุมตาแหน่งและจานวนรหัสคาสั่งได้อิสระ อย่างไรก็ตามวิธีนี้ไม่ เหมาะสาหรับผู้พัฒนาในระดับต้น เพราะต้องศึกษาคาสั่งภาษาเอชทีเอ็มแอลและใช้เวลาในการพัฒนานาน พอสมควรในแต่ละหน้าเว็บ และไม่เห็นผลลัพธ์ จากการป้อน คาสั่งทันที แต่จะต้องทาการเรียกผ่านโปรแกรม เว็บเบราว์เซอร์ แต่ถ้าหากทาการเริ่มต้นฝึกการพัฒนาเว็บเพจด้วยวิธีการนี้ โดยมีผู้ที่มีความรู้คอยแนะนา จะทา ให้สามารถเข้าใจการทางานของ เอกสารเว็บได้ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น รู ป ที่ 1.10 แสดงลักษณะของโปรแกรมจัดการแฟ้มข้อมูลตัวอักษรในการสร้างเว็บเพจ การใช้โปรแกรมเอชทีเอ็มแอล อีดิเตอร์ (HTML Editor) โปรแกรมเอชทีเอ็มแอล อีดิเตอร์ จะช่วยทาให้การลงรหัสภาษาเอชทีเอ็มแอลนั้น กระทาได้สะดวก และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เนื่องจากจะมีปุ่มคาสั่งควบคุมต่างๆ ของภาษาเอชทีเอ็มแอล ซึ่งคล้ายกับปุ่มคาสั่งใน โปรแกรมประมวลผลคา เช่น กลุ่มของโปรแกรมไมโครซอฟต์ออฟฟิศ (Microsoft Office) โปรแกรมกลุ่มนี้ จะมีจุดด้อยที่หากมีคาสั่งภาษาเอชทีเอ็มแอลใหม่เกิดขึ้น จะยังไม่มีปมสาหรับคาสั่งใหม่เหล่านี้ ผู้สร้างเอกสาร ุ่ เว็บด้วยวิธีการนี้ยังต้องพิมพ์คาสั่งภาษาเอชทีเอ็มแอลเช่นเดิม ตัวอย่างของโปรแกรมเอชทีเอ็มแอล อีดิเตอร์ เช่น โปรแกรม HTML Assistant, โปรแกรม HotDog Professional เป็นต้น การใช้โปรแกรมสร้างเอกสารเว็บแบบอัตโนมัติ (HTML Generator) โปรแกรมสาหรับสร้างเอกสารเว็บแบบอัตโนมัติ เป็นโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยให้การ พัฒนาเอกสารเว็บนั้น สามารถทาได้สะดวกและรวดเร็วการใช้งานโปรแกรมเหล่านี้ จะคล้ายกับการสร้าง เอกสารในโปรแกรมประมวลผลคาทั่วไป เช่น โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด (Microsoft Word) และมีปุ่ม คาสั่งที่คล้ายคลึงกัน และผู้ที่ทาการสร้างเว็บเพจนั้นสามารถเห็นผลจากการใช้คาสั่งได้ทันที โดยโปรแกรม ประเภทนี้จะทาการแปลงเอกสารนั้นให้เป็นเอกสารเอชทีเอ็มแอลโดยอัตโนมัติ ซึ่งที่ผู้ที่ทาการสร้างเว็บเพจ
  • 13. ไม่ต้องยุ่งยากกับการศึกษาชุดคาสั่งภาษาเอชทีเอ็มแอล แต่โปรแกรมในกลุ่มนี้ก็มีจุดด้อยที่ว่าชุดคาสั่งภาษา เอชทีเอ็มแอลที่แต่ละโปรแกรมสร้างขึ้น มานั้นจะมีข้อจากัดต่างๆ มากมาย และบางโปรแกรมยังไม่สนับสนุน การทางานกับภาษาไทย อาจต้องทาการปรับปรุงโปรแกรมก่อน จึงจะใช้งานกับภาษาไทยไต้ ตัวอย่างของ โปรแกรมในกลุ่ม เช่น กลุ่มโปรแกรมไมโครซอฟต์ออฟฟิศ, โปรแกรม Microsoft FrontPage, โปรแกรม Netscape Editor, โปรแกรม Macromedia Dreamweaver เป็นต้น รู ปที่ 1.11 แสดงลักษณะของโปรแกรม Microsoft Frontpage