SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
Télécharger pour lire hors ligne
ปริเฉทที่ ๒
วาดวยการเสด็จออกบรรพชาและตรัสรู

เจาชายสิทธัตถะทรงพระเกษมสําราญ
ในพระราชวัง วันหนึ่งไดทรงเสด็จไป
ประพาสอุทยาน

ในขณะที่ประพาสอุทยานอยูนั้น ไดทรง
ทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ๔ คือ คนแก
คนเจ็บ คนตาย และสมณะ ที่เทวดาได
เนรมิตรขึ้นมา
เจาชายสิทธัตถะ ทรงสลดสังเวช
เมื่อเห็นเทวทูตทั้ง ๔ ดวยทรง
ทราบวาแมแตตัวเองก็ไมสามารถ
พนไปจากสภาพนี้ไดแนนอน...
อน...

แตพอทรงทอดพระเนตรเห็น
นักบวช ทรงเกิดปติเลื่อมใส
ทรงดําริวา การประพฤติเปน
นักบวชนี้คงจะประเสริฐเปน
แนเราควรถือเพศอันสูงสุดนี้
ในขณะที่เจาชายสิทธัตถะกําลัง
เสด็จประพาสอุทยานอยูนั้นและ

กําลังจะเสด็จกับพระราชวัง
พระนางยโสธรามเหสีก็ไดประสูติ
พระโอรส พระเจาสุทโธทนะจึง
ไดรับสั่งใหราชบุรุษไปกราบทูลให
เจาชายสิทธัตถะทรงทราบ
เจาชายสิทธัตถะพอทรงทราบ ก็ทรง
ตรัสวา “ราหุลํ ชาตํ บวงเกิดขึ้นแลว”
ราหุล แปลวา บวง จึงทรงขนานนาม
วา “ราหุลกุมาร”
าร”
ทอดพระเนตรพระมเหสีและพระราหุล..ครังสุดทาย
..ครั้

หลังจากนั้นพระองค ก็ทรงหาทางที่
จะเสด็จออกบรรพชา ทรงตัดความ
เบื่อหนายในเบญจกามคุณ แมกระทั่ง
ราชสมบัติ พระชายา พระโอรจนถึง
พระญาติทั้งหมดทุกพระองค....
..

วันหนึ่ง หลังจากบําเพ็ญราชกิจเสร็จ
แลว ในเวลาดึกของคืนนั้นไดทรงตื่น
มาเห็นนางสนมนอนหลับ ดูเหมือน
ซากศพก็เกิดความสลด จึงตัดสิน
พระทัยแนวแนวา “เราจะออกบวช”
เราจะออกบวช”
เมื่อพระองคไดตัดสินพระทัย
อยางแนวแนแลว จึงไดตรัส
กับนายฉันนะวา “เราจักออก
ผนวชในวันนี้เจาจงไปเตรียม
มากัณฐกะใหพรอม”
ม”
ตอจากนั้นไดเสด็จไปที่หอง

บรรทมของพระนางพิมพา
และพระราหุล และไดยน
ื
ทอดพระเนตรพระชายาและ
พระราหุลเปนครั้งสุดทาย...
ย...
พระมหาบุรุษ...เสด็จออกบรรพชา
...เสด็
เมื่อไดดูพระชายา และพระ
ราหุลเปนครั้งสุดทายแลวก็
ทรงมากัณฐกะเสด็จออกไป
โดยมีนายฉันนะ ตามเสด็จ
ออกไปดวยกัน...
วันนั้นตรงกับวันเพ็ญเดือน ๘
พระยาวสวัตดีมาร ไดออกมา
ขัดขวางโดยกลาววา “ทานอยา
ออกผนวชเลย ตอไปทานจะได
เปนพระเจาจักรพรรดิ”
พระมหาบุรุษก็ไดตรัสหาม
ดวยพระดํารัสวา “ พระยา
มารทานจงกับไปเสียเถิดเรา
ไมไดมีความปรารถนาที่จะ
ครองราชสมบัติเลย ”
พระยามาร พอไดฟงดังนันก็
้
เลยโกรธแคน แลวไดกลาวกะ
พระมหาบุรุษวา “เราจะคอย
หาโอกาส ทําใหทานบําเพ็ญ
เพียรอยางไมมีความสงบสุข”
หลังจากนั้น ก็เสด็จไปถึงฝง
แมน้ําอโนมา แลวไดเปลื้อง
อาภรณเครื่องประดับตาง ๆ
มอบใหแกนายฉันนะเพื่อให
นํากับไปพระนคร แลวทรง
จับพระโมลีเพื่อตัดออก

หลังจากตัดออกมาแลว ไดทรง
อธิษฐานวา “ ถาหากตัวเราจัก
ไดตรัสรูเปนพระสัมมาพุทธเจา
ขอพระโมลี จงอยาไดตกลง
สูพื้นแผนดินเลย ” แลวทรง
โยนพระโมลีขึ้นไปบนนภากาศ
ขณะนั้นทาวสักกะเทวราชไดนํา
กะเทวราชได
ผอบแกวมารองรับไว และได
นําไปบรรจุไวใน...พระจุฬามณี
น...พระจุ
เจดียในภพดาวดึงสเทวโลก
หลังจากนั้น ฆฏิการพรหม
ไดนําอัฐบริขาร มาถวายแด
พระมหาบุรุษๆ ทรงครองผา
กาสาวพัสตรและไดอธิษฐาน
เปนเพศบรรพชิตนักบวช...
บวช...
พระมหาบุรุษ
ทรงบํ
ทรงบําเพ็ญ
ทุกกรกิริยา
หลังจากที่ทรงผนวชเปนบรรพชิตแลว ไดศึกษาในสํานักของ
อาจารย ๒ ทาน คือ อาฬารดาบสและอุททกดาบส
ทรงสําเร็จสมาบัติ ๘ และรูปฌานสมาบัติ
แตทรงพิจารณาดู
แลววา... ยังไมใช
หนทางแหงการ
พนทุกขและตรัสรู
จึงเสด็จไปยังตําบล
อุรุเวลาเสนานิคม
เพื่อบําเพ็ญเพียร
โกณฑัญญพราหณ รูวาเจาชายสิทธัตถะทรงผนวช
จึงชวนบุตรของพราหมณ ๔ คน คือ วัปปะ ภัททิยะ
มหานามะ อัสสชิ เพื่อออกบวชติดตามคอยอุปฏฐากดูแล
รวมเปน ๕ เรียกวาปญจวัคคีย
ทรงบําเพ็ญ “ทุกกรกิริยา” 3 อยาง
า”
1. กัดฟนแนนจนลมออกหู
และเอาลิ้นดุนเพดาน
2. กลั้นลมหายใจจนอวัยวะภายใน
ทองไสปนปวน

3. อดอาหารโดยเสวยนอยลงทุกๆ
วันจนพระวรกายสูบผอมเหลือ
แตหนังหุมกระดูก
ทรงเห็นวาทุกกรกิริยาไมทําใหบรรลุธรรมได
สายที่ ๒ หยอนมาก เวลาดีดเสียงไมเพราะ

ทาว
สักกะ
เสด็จ
มาดีด
พิณ ๓
สาย

สายที่ ๑ ตึงมากพอดีดนิดเดียวสายก็ขาด
สายที่ ๓ ไมตึงไมหยอนเวลาดีดเสียงไพเราะ
ไมใชหนทาง
หลังจากที่ฟง
แหงการบรรลุ
เสียงพิณแลว
ธรรมเปนแน
ก็ทราบวา
(ทรงบําเพ็ญ
การกระทํา
ทุกกรกิริยาอยู
ทุกกรกิริยา
นานถึง ๖ ป)
จึงนึกถึงทางสายกลาง..และทรงเลิกการทรมานกายเสวยอาหารตามปกติ
ทางสายกลาง..และทรงเลิ
ปญจวัคคีย.... พากันหลีกหลบหนี ไมอุปฏฐาก
..

พวกปญจวัคคียพอเห็นดังนั้นก็เขาใจวา พระมหาบุรุษกับมาเปนคนมัก
มาก คงไมสามารถบรรลุธรรมเปนแนแท จึงพากันเลิกดูแลอุปฏฐาก
แลวพากันไปอยู ณ ปาอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี....
..
นางสุชาดา...ถวายขาวมธุปายาส
าดา...ถวายข
ในตอนนั้นเอง นางสุชาดาได
เตรียมไปทําพลีกรรมบวงสรวง
เทวดา และไดรูจากคนใชวาเห็น
พระมหาบุรุษ จึงไดเตรียมขาว
มธุปายาสใสถาดทองคําไปถวาย
พระมหาบุรษทรงรับ แลวเสด็จไป
ุ
ชําระพระวรกาย เสด็จกับมานั่งทรง
เสวยจนหมด และไดถือถาดไปลอย
ในแมน้ําเนรัญชราแลว อธิษฐานวา
“หากเราจะไดบรรลุธรรม ขอถาดนี้
จงลอยทวนกระแสน้ําเถิด”
ในตอนนั้นเอง ปาฏิหาริยก็บังเกิดขึ้น คือ
ถาดไดลอยทวนกระแสน้ําไปถึง ๘๐ ศอก
และจมลงไปที่วังของ...พญากาฬนาคราช
ของ...พญากาฬนาคราช
เรียงซอนกันเปนถาดที่ ๔
ตอจาก...นั้นพระองคก็ไดเสด็จไปยังโคน
จาก...นั
ตนโพธิ์ ในระหวางทางทรงไดรับหญาคา
๘ กํา จากโสตถิยะพราหมณ....
..
เมื่อเสด็จไปถึงก็ทรงปูหญาคาเปนรัตนบัลลังค
ทรงทําสมาธิ และอธิษฐานวา “ถายังไมหมด
กิเลส แมเลือดเนื้อจะเหือดแหงไปเหลือแตเอ็น
หนัง กระดูก ก็จะไมลุกจากที่”
ผจญมาร...และทรงตรั
ผจญมาร...และทรงตรัสรู

ฝายพระยาวสวัตดีมาร ซึ่งได
ตามขัดขวางมาตลอด ไดทราบ
วา พระมหาบุรุษกําลังทําความ
เพียรเพื่อบรรลุธรรม...
รรม...

จึงไดเรียกเสนามาร และไดยก
ทัพไปทําการขัดขวาง ดวยการ
เนรมิตร ฝน ลม ตกพัดเปน
อาวุธและขัดขวางดวยวิธีตางๆ
แตพระมหาบุรุษ ก็ทรง
เอาชนะ พระยามารและ
เสนามารดวย บารมีทง
ั้
๓๐ ทัศนททรงบําเพ็ญมา
ี่
ครั้งยังเปนพระโพธิสัตว
ในราตรี....ของคืนนันเอง
..ของคื ้
วันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๖
พระองคก็ทรงตรัสรูเปน
พระสัมมาสัมพุทธเจา...
ลําดับ...แหงการตรัสรู
...แห

ในปฐมยาม...ทรงบรรลุ
ในปฐมยาม...ทรงบรรลุปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือ
ระลึกถึงอดีตชาติที่พระองคไดเกิดมาไดหมดทุกๆชาติ
ในมัชฌิมยาม

ทรงบรรลุจุตูปปาตญาณ...คือทรงรูถงการเวียนวาย
ปาตญาณ...คื
ึ
ตายเกิดของสรรพสัตวทั้งหลายไดทั้งหมด
ในปจฉิมยาม...
ยาม...

ทรงบรรลุอาสวักขยณาณ คือกําจัดกิเลสอาสวะทั้งหลายให
หมดสิ้นไปดวยพระปญญา ในราตรีแหงวิสาขปุรณมีดิถีเพ็ญ
พระจันทรเต็มดวงใตตน...อัสสัตถพฤกษมหาโพธิ์
...อั
หลังจากที่ตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาแลว ทรงประทับ
เสวยวิมุตติสุข เปนเวลา ๗ สัปดาห สัปดาหละแหง
รวมเปน ๔๙ วัน
จบ..ปริ
จบ..ปริเฉทที่ ๒

Contenu connexe

Tendances

แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์Tongsamut vorasan
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ PdfMameaw Pawa
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 

Tendances (20)

อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdfบาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
 
ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdf
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 

Plus de Onpa Akaradech

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Onpa Akaradech
 
บทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติบทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติOnpa Akaradech
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติOnpa Akaradech
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาOnpa Akaradech
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยOnpa Akaradech
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeOnpa Akaradech
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหารOnpa Akaradech
 

Plus de Onpa Akaradech (8)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติบทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติ
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติ
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
 
นิสัย
นิสัยนิสัย
นิสัย
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEee
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหาร
 

ปริเฉทที่ 2