SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
วิมุตติ
หมายถึงความหลุดพน
จากกิเลสที่นอนเนื่องหมัก
หมมอยูในสันดาน
กิเลสนี้....จะตัดใหขาดไดตองอาศัยโลกุตตรธรรม คือ
..จะตั
งอาศั
ตรธรรม
มรรค ผล นิพพาน เทานั้น มีคากลาวเปรียบเทียบไววา
ํ
“อาสวะ เปนเหมือนโรคราย โลกุตตรธรรมเปนเหมือนยา
ตรธรรมเป
รักษา วิมุตติ เปนเหมือนการหายขาดจากโรค...
นการหายขาดจากโรค...
บาลีแหงวิมุตติ มีอยู 2 บท คือ
1. วิราคา วิมุจฺจติ เพราะสิ้นกําหนัด ยอมหลุดพน
2. กามาสวาป จิตฺตํ วิมุจฺจิตฺถ, ภวาสวาป จิตฺตํ
วิมุจฺจิตฺถ, อวิชฺชาสวาป จิตฺตํ วิมุจฺจิตถ
จิตหลุดพนแลวแมจากอาสวะเนื่องดวยกาม จิตหลุด
พนแลวแมจากอาสวะเนื่องดวยภพ จิตหลุดพนแลว
แมจากอาสวะเนื่องดวยอวิชชา
อาสวะ มี 3 อยาง
1. กามาสวะ
2. ภวาสวะ
3. อวิชชาสวะ
อาสวะ แปลวา เครื่องหมักดองเปนชื่อของเมรัย
ก็มีเชน ผลาสวะ (น้ําดองผลไม) แตในที่นี้ หมายถึง
กิเลสทีหมักหมมอยูในจิต มีอยู 3 ชนิด คือ...
หมั หมมอยู
่
1. กามาสวะ อาสวะคือกาม ไดแก ความติดใจรักใคร
อยูในกาม เปนเหตุใหจิตเศราหมอง เพราะมีความ
หมกมุนในกามารมณอยูร่ําไป
2. ภวาสวะ อาสวะคือภพ ไดแก ความติดอยูในภพ
ในความเปนนั่นเปนนี่ เปนเหตุใหมีจิตใจเศราหมอง
เพราะมีความหมกมุนอยากไดอยูร่ําไป
3. อวิชชาสวะ อาสวะคืออวิชชา ไดแก ความไมรูจริง
เปนเหตุใหจิตเศราหมอง เพราะความลุมหลงมืดมัวใน
สิ่งตางๆ
วิมุตติในบาลี มี 2 อยาง
1. วิมุตติ

2. วิมุตติญาณทัสสนะ

1. วิมุตติ ความหลุดพน มีพระบาลีวา “ วิราคา วิมุจจติ ”
มุ จติ
เพราะสิ้นความรัก ยอมหลุดพน ไดแก วิมุตติที่เปนกิจ
แหงจิตเปนเบื้องตน
2. วิมุตติญาณทัสสนะ ความรูความเห็นวาพนแลว คือ
ญาณทั
ญาณรูวา หลุดพนแลว ยอมมี ไดแก วิมุตติที่เปนกิจ
แหงปญญาเปนเบื้องปลาย
วิมุตติในอรรถกถา มี 5 อยาง คือ...
1. โลกิยวิมุตติ

2. โลกุตตรวิมุตติ

1. ตทังควิมุตติ

3. สมุจเฉทวิมุตติ

2. วิกขัมภนวิมุตติ

4. ปฏิปสสัทธิวิมุตติ
5. นิสสรณวิมุตติ
1. ตทังควิมุตติ หลุดพนชั่วคราว หมายถึง การระงับกิเลส
ไดเพียงชั่วครูชั่วยาม เชน เมื่อเกิดโลภะขึ้นก็ระงับความโลภ
ไวได ไดแก วิมตติของสามัญชนทั่วๆไป
ุ
2. วิกขัมภนวิมุตติ หลุดพนดวยสะกดไว หมายถึง การพน
จากกิเลสไดนานขึ้นดวยกําลังฌาน คือจะระงับกิเลสไดเมื่อ
เขาฌาน เมื่อออกจากฌานก็เกิดกิเลสไดอีก ไดแก วิมุตติของ
ทานผูไดฌาน 8
3. สมุจเฉทวิมุตติ หมายถึง การพนจากกิเลสไดเด็ดขาดดวย
อํานาจอริยมรรค ตัดกิเลสไมหวนกลับมากําเริบอีก ไดแก
วิมุตติของอริยบุคคลผูบรรลุโสดาปตติมรรคถึงอรหัตตมรรค

4. ปฏิปสสัทธิวิมุตติ หลุดพนดวยความสงบระงับ หมายถึง
การพนจากกิเลสไดตอจากอริยมรรคจนถึงอริยผล ไม
ตองขวนขวายเพื่อกําจัดกิเลสอีกเพราะกิเลสระงับไปแลว
ไดแก วิมุตติของพระอริยบุคคลผูบรรลุโสดาปตติผลถึง
อรหัตตผล
5. นิสสรณวิมุตติ หลุดพนออกไป หมายถึง การพนกิเลสได
อยางยั่งยืน จนกระทั่งสิ้นชีพของพระอรหันต ไดแก
วิมุตติคือพระนิพพาน

Contenu connexe

Tendances

ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 

Tendances (20)

ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 

Plus de Onpa Akaradech

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Onpa Akaradech
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3Onpa Akaradech
 
ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2Onpa Akaradech
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ Onpa Akaradech
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยOnpa Akaradech
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeOnpa Akaradech
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหารOnpa Akaradech
 

Plus de Onpa Akaradech (9)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
 
ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
 
นิสัย
นิสัยนิสัย
นิสัย
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEee
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหาร
 

บทที่ 3 วิมุตติ

  • 1. วิมุตติ หมายถึงความหลุดพน จากกิเลสที่นอนเนื่องหมัก หมมอยูในสันดาน กิเลสนี้....จะตัดใหขาดไดตองอาศัยโลกุตตรธรรม คือ ..จะตั งอาศั ตรธรรม มรรค ผล นิพพาน เทานั้น มีคากลาวเปรียบเทียบไววา ํ “อาสวะ เปนเหมือนโรคราย โลกุตตรธรรมเปนเหมือนยา ตรธรรมเป รักษา วิมุตติ เปนเหมือนการหายขาดจากโรค... นการหายขาดจากโรค...
  • 2. บาลีแหงวิมุตติ มีอยู 2 บท คือ 1. วิราคา วิมุจฺจติ เพราะสิ้นกําหนัด ยอมหลุดพน 2. กามาสวาป จิตฺตํ วิมุจฺจิตฺถ, ภวาสวาป จิตฺตํ วิมุจฺจิตฺถ, อวิชฺชาสวาป จิตฺตํ วิมุจฺจิตถ จิตหลุดพนแลวแมจากอาสวะเนื่องดวยกาม จิตหลุด พนแลวแมจากอาสวะเนื่องดวยภพ จิตหลุดพนแลว แมจากอาสวะเนื่องดวยอวิชชา
  • 3. อาสวะ มี 3 อยาง 1. กามาสวะ 2. ภวาสวะ 3. อวิชชาสวะ อาสวะ แปลวา เครื่องหมักดองเปนชื่อของเมรัย ก็มีเชน ผลาสวะ (น้ําดองผลไม) แตในที่นี้ หมายถึง กิเลสทีหมักหมมอยูในจิต มีอยู 3 ชนิด คือ... หมั หมมอยู ่
  • 4. 1. กามาสวะ อาสวะคือกาม ไดแก ความติดใจรักใคร อยูในกาม เปนเหตุใหจิตเศราหมอง เพราะมีความ หมกมุนในกามารมณอยูร่ําไป 2. ภวาสวะ อาสวะคือภพ ไดแก ความติดอยูในภพ ในความเปนนั่นเปนนี่ เปนเหตุใหมีจิตใจเศราหมอง เพราะมีความหมกมุนอยากไดอยูร่ําไป 3. อวิชชาสวะ อาสวะคืออวิชชา ไดแก ความไมรูจริง เปนเหตุใหจิตเศราหมอง เพราะความลุมหลงมืดมัวใน สิ่งตางๆ
  • 5. วิมุตติในบาลี มี 2 อยาง 1. วิมุตติ 2. วิมุตติญาณทัสสนะ 1. วิมุตติ ความหลุดพน มีพระบาลีวา “ วิราคา วิมุจจติ ” มุ จติ เพราะสิ้นความรัก ยอมหลุดพน ไดแก วิมุตติที่เปนกิจ แหงจิตเปนเบื้องตน 2. วิมุตติญาณทัสสนะ ความรูความเห็นวาพนแลว คือ ญาณทั ญาณรูวา หลุดพนแลว ยอมมี ไดแก วิมุตติที่เปนกิจ แหงปญญาเปนเบื้องปลาย
  • 6. วิมุตติในอรรถกถา มี 5 อยาง คือ... 1. โลกิยวิมุตติ 2. โลกุตตรวิมุตติ 1. ตทังควิมุตติ 3. สมุจเฉทวิมุตติ 2. วิกขัมภนวิมุตติ 4. ปฏิปสสัทธิวิมุตติ 5. นิสสรณวิมุตติ
  • 7. 1. ตทังควิมุตติ หลุดพนชั่วคราว หมายถึง การระงับกิเลส ไดเพียงชั่วครูชั่วยาม เชน เมื่อเกิดโลภะขึ้นก็ระงับความโลภ ไวได ไดแก วิมตติของสามัญชนทั่วๆไป ุ 2. วิกขัมภนวิมุตติ หลุดพนดวยสะกดไว หมายถึง การพน จากกิเลสไดนานขึ้นดวยกําลังฌาน คือจะระงับกิเลสไดเมื่อ เขาฌาน เมื่อออกจากฌานก็เกิดกิเลสไดอีก ไดแก วิมุตติของ ทานผูไดฌาน 8 3. สมุจเฉทวิมุตติ หมายถึง การพนจากกิเลสไดเด็ดขาดดวย อํานาจอริยมรรค ตัดกิเลสไมหวนกลับมากําเริบอีก ไดแก วิมุตติของอริยบุคคลผูบรรลุโสดาปตติมรรคถึงอรหัตตมรรค 
  • 8. 4. ปฏิปสสัทธิวิมุตติ หลุดพนดวยความสงบระงับ หมายถึง การพนจากกิเลสไดตอจากอริยมรรคจนถึงอริยผล ไม ตองขวนขวายเพื่อกําจัดกิเลสอีกเพราะกิเลสระงับไปแลว ไดแก วิมุตติของพระอริยบุคคลผูบรรลุโสดาปตติผลถึง อรหัตตผล 5. นิสสรณวิมุตติ หลุดพนออกไป หมายถึง การพนกิเลสได อยางยั่งยืน จนกระทั่งสิ้นชีพของพระอรหันต ไดแก วิมุตติคือพระนิพพาน