Ce diaporama a bien été signalé.
Le téléchargement de votre SlideShare est en cours. ×

ปริเฉทที่ 3

Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Chargement dans…3
×

Consultez-les par la suite

1 sur 31 Publicité

Plus De Contenu Connexe

Diaporamas pour vous (20)

Similaire à ปริเฉทที่ 3 (16)

Publicité

ปริเฉทที่ 3

  1. 1. ปริเฉทที่ ๓ วาดวยการเสวยวิมตติสข ุ ุ หลังจากที่ตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาแลว ทรงประทับเสวย วิมุตติสุข เปนเวลา ๗ สัปดาห สัปดาหละแหง รวมเปน ๔๙ วัน ตามลําดับดังนี้ คือ...
  2. 2. สัปดาหที่ ๑ ประทับใตตนพระศรีมหาโพธิ์ ประทับนั่ง...เสวยวิมุตติสุข อยูบนรัตนบัลลังกภายใตรมพระศรีมหาโพธิ์ แลวทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท (สภาพที่อาศัยปจจัยเกิดขึ้น) โดยอนุโลมและ ปฏิโลมกลับไปกลับมา แลวทรงเปลงอุทาน (พระวาจาที่เปลงขึ้นโดยความเบิกบาน พระหฤทัย) ตลอดยาม ๓ แหงราตรีนั้น ดังนี้ คือ...
  3. 3. ในปฐมยาม... ในปฐมยาม...ทรงเปลงพระอุทานวา “ เมื่อใด ธรรมทั้งหลาย (อริยสัจ ๔) ปรากฏแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อนันความสงสัย ้ ทั้งปวงของพราหมณนั้น ยอมหมดสิ้นไปเพราะมารูแจงธรรม (กองทุกข) วาเกิดแตเหตุ.... ” ..
  4. 4. ในมัชฌิมยาม...ทรงเปลงพระอุทานวา “ เมือใด ธรรมทั้งหลาย ยาม... ่ ปรากฏแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อนั้นความสงสัยทังปวงของ ้ พราหมณนั้น ยอมหมดสิ้นไป เพราะมารูแจงความสิ้นไปแหงปจจัย ทั้งหลาย วาเปนเหตุสิ้นแหงผลทั้งหลาย ”
  5. 5. ในปจฉิมยาม...ทรงเปลงพระอุทานวา “ เมือใด ธรรมทั้งหลาย ปรากฏ ยาม... ่ แกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อนั้นพราหมณยอมกําจัดมาร และเสนามารเสียได ดุจดั่งพระอาทิตยอุทัยกําจัดความมืดทําอากาศให สวางไดฉะนั้น ”
  6. 6. สัปดาหที่ ๒ ประทับอนิมิสเจดีย พระองคไดเสด็จลงจากรัตนบัลลังก เสด็จไปประทับยืนทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ แลวประทับยืนจองพระเนตรดูตนพระ ศรีมหาโพธิ์ โดยไมกระพริบพระเนตร เปนเวลา ๑ สัปดาห (๗ วัน) บริเวณที่ประทับยืนนั้นเรียกวา อนิมสสเจดีย ิ สัปดาหที่ ๓ ประทับรัตนจงกรมเจดีย พระองคไดทรงเสด็จมาประทับอยู ณ ระหวางกลางแหงตน พระศรีมหาโพธิ์กับอนิมิสสเจดีย ทรงนิรมิตที่จงกรมขึ้นตรง ระหวางกลางแลวเสด็จจงกรม ณ ที่นั้น เปนเวลา ๑ สัปดาห บริเวณนี้เรียกวา...รัตนจงกรมเจดีย ...รั
  7. 7. สัปดาหที่ ๔ ประทับรัตนฆรเจดีย พระองคไดเสด็จจากรัตนจงกรมเจดีย มาประทับนั่งพิจารณา พระอภิธรรมปฏกอยูที่เรือนแกวที่เทวดาเนรมิตถวาย ซึ่งตั้งอยู ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตนพระศรีมหาโพธิ์ เปนเวลา ๑ สัปดาห สถานที่นี้เรียกวา รัตนฆรเจดีย สัปดาหที่ ๕ ประทับตนอชปาลนิโครธ พระองคไดเสด็จจากรัตนฆรเจดีย มาที่ตนไมอชปาลนิโครธ  หรือตนไทร ประทับเสวยวิมตติสุข ขณะนันมีพราหณคนหนึ่ง ุ ้ ซึ่งเปนผูมีความเห็นวา สิ่งที่เห็นแลวเปนมงคล ผูเปนหุหุกชาติ ซึ่งชอบตวาดผูอื่นวา “หึ หึ” เขาไปกราบทูลถามพระพุทธเจา
  8. 8. ถึงธรรมที่ทําใหบุคคลเปนพราหณ พระองคก็ไดยกเอาธรรมที่ ทําใหบุคคลเปนสมณะ แตทรงเปลี่ยนจากสมณะมาเปนพราหณ โดยตรัสวา “ พราหณ ผูใดมีบาปธรรม อันลอยเสียแลว ไมมี กิเลิสเครื่องขูผูอื่นวา หึ หึ ซึ่งเปนคําหยาบ ปราศจากกิเลส เครื่องยอมจิตใหติดแนน ดุจน้ําฝาด มีตนสํารวมแลว ถึงที่สด ุ แหงเวทนาแลว อยูจบพรหมจรรยแลว ไมมีกเิ ลสแมนอยหนึ่ง ควรกลาวไดวา ตนเปนพราหณแลวโดยธรรม ” ********************
  9. 9. สัปดาหที่ ๖ ประทับที่ตน มุจลินท พระองคไดเสด็จจากตนอชปาลนิโครธมาประทับนั่งใตตนมุจลินท  หรือตนจิก ประทับเสวยวิมุตติสุขอยู ๗ วัน ในขณะที่ประทับนั่ง อยูนั้นฝนไดตกพรําตลอดเวลา พญานาคมุจลินทเกิดความเลื่อมใสจึง ทําขนดแผพังพาน ๗ รอบ ปกคลุมเหนือพระเศียรเพื่อมิใหลมและ ฝนตกกระทบใสพระวรกายของพระพุทธองคได..... ...
  10. 10. เมื่อฝนหยุดตก พญานาคก็ไดแปลงกายเปนมาณพยืน อภิวาทแลวไดหลีกไป สวนพระพุทธองคไดเปลงพระ อุทานวา “ ความสงัดเปนสุข สําหรับบุคคลผูมธรรม ี อันเห็นแลว ยินดีในที่สงัดรูเห็นตามความเปนจริง ความไมเบียดเบียน คือความสํารวมในสัตวทั้งหลาย และความปราศจากความกําหนัด คือความลวงกาม เสียไดเปนสุขในโลก ความนําอัสมิมานะ ถือตัวออก ไปเปนสุขอยางยิ่ง” *******************
  11. 11. สัปดาหที่ ๗ ประทับที่ ตนราชายตนะ พระองคไดเสด็จจากตนมุจลินทรมาที่ตนราชายตนะ หรือไมเกตุ ประทับนั่งเสวยวิมุตติสุขอยู ๗ วัน ขณะนันมีพอคา ๒ คน คือ. ้ ตปุสสะและภัลลิกะ เปนพี่เปนนองกันเดินทางผานมาพบทั้งสอง ไดเกิดความเลื่อมใสศรัทธา... ธา...
  12. 12. มาณพทั้งสองจึงไดนอมเอาขาวสัตตุผงและสัตตุกอนเขาไปถวาย  และไดประกาศตนเปนอุบาสก โดยถึงพระพุทธองคและพระธรรม เปนสรณะจนตลอดชีวต... ิ (รวมเวลาเสวยวิมุตติสขในสถานที่เหลานี้ ุ เปนเวลา ๗ สัปดาห ๔๙ วัน )
  13. 13. ทรงเปรียบบุคคล เหมือนกับ ดอกบัว ๔ เหลา ครั้นครบ ๗ วันแลว ก็เสด็จออกจากรมไมราชายตนะ ได เสด็จกับไปที่ตนอชปาลนิโครธอีก ทรงดําริถึงธรรมที่ไดตรัส รูแลววา “เปนของที่ลึกซึ้งยากที่ใครๆจะรูตามได”
  14. 14. แตไดทรงอาศัยพระมหากรุณาในหมูสัตวก็ทรงทราบดวย ปญญาวา เหลาชนทั้งหลายยอมมีอุปนิสัยที่แตกตางกันโดย แบงออกเปน ๔ จําพวก เปรียบเหมือนดอกบัว ๔ เหลา ดังนี้ คือ...
  15. 15. ๑. อุคฆฏิตัญู ไดแก.... บุคคลผูมีปญญาดี มีกิเลส .. เบาบาง เพียงทานยกหัวขอขึ้นแสดง ก็สามารถรูไดทันที เหมือนดอกบัวที่ ขึ้นพนจากน้ําแลว พอตองแสงพระ อาทิตยก็เบงบานในทันที.... .. ๒. วิปจิตัญู ไดแก.... บุคคลผูมีปญญาปานกลาง .. เมื่อไดฟงซ้ําอีกครั้งหนึ่ง ก็สามารถ บรรลุธรรมได เหมือนดอกบัวที่ขึ้น เสมอน้ํา และจักบานในวันพรุงนี้.... ..
  16. 16. ๓. เนยยะ ไดแก.... บุคคลผูมีปญญานอย แต .. พอจะแนะนําได เมื่อไดฟงบอยๆ และทําความเพียรบอยๆก็สามารถ บรรลุธรรมได เหมือนดอกบัวที่ อยูใตน้ํา ซึ่งจะบานในวันตอๆไป ๔. ปทปรมะ ไดแก.... บุคคลผูดอยปญญายากที่จะ .. สั่งสอนได สอนใหรูแตเพียงบทคือ พยัญชนะหรือถอยคําแตไมสามารถ จะเขาใจได เหมือนดอกบัวที่ยังจม อยูในน้ําโคลนตม ยอมเปนอาหาร ของปลาและเตา...
  17. 17. ครั้นพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงทราบ พระปญญาวา ผูที่ควรจะตรัสรูธรรม ไดมีอยูอยางนี้แลว จึงทรงตั้งพระทัยที่ จะแสดงธรรม สั่งสอนแกมหาชนซึ่ง เรียกวา “อายุสังขาราธิษฐาน” ฐาน” จึงทรงดําริถึงบุคคลที่ควรจะรับเทศนา ครั้งแรก โดยทรงระลึกถึงอาจารย ๒ ทานคือ อาฬารดาบสและอุททกดาบส วามีกิเลสเบาบาง มีสติปญญาจะรูถึง ธรรมะได แตวาทานทั้งสองไดสิ้นชีพ เสียแลว...
  18. 18. แสดงปฐมเทศนา โปรด “ปญจวัคคีย”  ทั้ง ๕ ทาน พอทราบเชนนี้แลว จึงทรงระลึกถึงพวกปญจวัคคีย ซึ่งไดเคย อุปฏฐากดูแลเมื่อครั้งทรงบําเพ็ญเพียร ทรงเห็นวาควรแสดงธรรม แกทานเหลานี้กอน ครั้นดําริเชนนี้แลวไดเสด็จดําเนินไปโดยทาง ที่จะไปยังเมืองพาราณสี.... ..
  19. 19. เมื่อเสด็จมาถึงระหวางแมน้ําคยากับตนพระมหาโพธิตอกัน งแม ต ์ ไดพบกับอุปกาชีวกคนหนึ่งสวนทางมา อุปกาชีวกพอเห็นรัศมีก็ นึกประหลาดใจ ใครอยากทราบวา ใครเปนศาสดาของพระองค จึงเขาไปทูลถามจนทราบวา พระองคเปนสยัมภูตรัสรูเองโดยชอบ ดวยพระองคเอง ไมมีใครเปนครู แตอุปกาชีวกไมเชื่อ ไดแตสน ั่ ศรีษะแลวหลีกหนีไป สวนพระองคก็ไดเสด็จไปตอ จนลุถึงปา “อิสิปตนมฤคทายวัน” ซึ่งเปนที่อยูของปญจวัคคีย ทั้ง ๕ ****************************
  20. 20. พวกปญจวัคคีย พอเห็นพระพุทธองคเสด็จมาก็ไดทํากติกากันวา สมณะนีไดคลายความเพียร เปนคนมักมาก พวกเราอยาไดลุกขึ้น ้ ตอนรับ อยารับบาตรและจีวรเลย เพียงแตปูอาสนะไวเทานั้นก็พอ ถาพระองคอยากประทับนั่ง ก็จะประทับนั่งเอง... เอง...
  21. 21. เมื่อพระองคเสด็จมาถึง ดวยความเคยชินตางลืมกติกากันหมด เขาไปตอนรับอยางดี แตยังติดทักทายดวยถอยคําวา อาวุโส และ จะเรียกวาพระโคดม ซึงเปนกิริยาวาจาที่ไมเคารพ พระพุทธองคก็ ่ ไดตรัสหามวา “บัดนี้ เราไดบรรลุอมตธรรมแลว เธอทั้งหลายจง ฟงเถิด เมื่อพวกเธอปฏิบัติตามที่เรากลาวสอน พวกเธอก็จักได บรรลุอมตธรรมได” พวกปญจวัคคียก็ไมเชื่อคําที่ทรงตรัสบอก จึงตรัสย้ําอีกวา “เราเคยกลาวถอยคําเชนนี้กับพวกทานหรือไม” ในทีสุดปญจวัคคียก็ระลึกไดวา พระวาจาเชนนี้พระองคไมเคย ่ ตรัสเลย จึงยอมรับฟงดวยความเคารพ... ยความเคารพ... ********************
  22. 22. ในวันเพ็ญเดือน อาสาฬหมาส (๑๕ ค่ํา เดือน ๘) พระองคก็ได ทรงตรัสเรียก ปญจวัคคียทั้ง ๕ มาชุมนุมกัน แลวไดทรงแสดง ปฐมเทศนาชื่อวา “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” ร” โดยแสดง ๒ วาระ คือ...
  23. 23. วาระแรก... วาระแรก... ทรงแสดงทางสุดโตง ๒ สาย คือ (บรรพชิตไมควรทํา) 1. กามสุขลลิกานุโยค คือ การหมกมุนอยูดวยกามสุข ั 2. อัตตกิลมถานุโยค คือ การทรมานกายใหลําบาก
  24. 24. วาระที่สอง...ทรงแสดงทางสายกลาง อง...ทรงแสดงทางสายกลาง ที่บรรพชิตควรดําเนิน คือ 1. มรรค มีองค ๘ 2. อริยสัจ ๔ - ทุกข - สมุทย ั - นิโรธ - มรรค
  25. 25. เนื้อหาโดยยอ...ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ...ธั วาระแรก... วาระแรก... วาระที่สอง... อง... ทรงแสดงทางสุดโตง ๒ สาย (ที่บรรพชิตไมควรดําเนิน คือ) ทรงแสดงทางสายกลาง (ที่บรรพชิตควรดําเนิน คือ) 1. กามสุขัลลิกานุโยค คือ การ หมกมุนอยูดวยกามสุข 2. อัตตกิลมถานุโยค คือ การ ทรมานกายใหลําบาก มรรคมีองค ๘ - สัมมาทิฏฐิ - สัมมาสังกัปปะ - สัมมาวาจา - สัมมากัมมันตะ - สัมมาอาชีวะ - สัมมาวายามะ - สัมมาสติ - สัมมาสมาธิ อริยสัจ ๔ - ทุกข - สมุทัย - นิโรธ - มรรค
  26. 26. หลังจากจบพระธรรมเทศนา ในบรรดาปญจวัคคียทั้ง ๕ ธรรมจักษุคือดวงตาเห็นธรรม ไดเกิดเฉพาะทานโกณฑัญญะ วา “ สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมด มีความดับไปเปนธรรมดา ”
  27. 27. พระพุทธองคทรงทราบ ดวยญาณทัศนะวา โกณฑัญญะ ไดดวงตาเห็นธรรมแลว จึง ทรงเปลงพระอุทานวา อฺญาสิ วต โภ โกณฺฑฺโญ โกณฑัญญะ ไดรูแลวหนอ ๆ ตั้งแตบัดนั้นมา ทานโกณฑัญญะจึงไดมีชื่อใหมวา “ อัญญาโกณฑัญญะ ”
  28. 28. ทรงบําเพ็ญ “พุทธกิจ” 5 ประการ หลังจากตรัสรูแลว นอกจากจะแสดงธรรมโปรดสรรพสัตว ทั้งหลาย พระองคยังทํา พุทธกิจ ซึ่งเปนกิจวัตรไม เคยขาดเลยแมแตวันเดียว คือ...
  29. 29. ตอนเชาเสด็จออก บิณฑบาตพรอม กับเหลาพระสาวก เวลาเย็น ทรงแสดงธรรม
  30. 30. ตอนค่ําแสดง โอวาทแก เหลาพระสาวก เที่ยงคืน แกปญหากับ เหลาเทวดา
  31. 31. รุงเชามืดใกลสวาง... ง... ตรวจดูสรรพสัตวที่ควรตรัสรูธรรม และเสด็จไปโปรด จบ..ปริ จบ..ปริเฉทที่ ๓

×