Publicité

บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

DMC.tv - Dhamma Media Channel
28 Nov 2013
Publicité

Contenu connexe

Présentations pour vous(20)

Publicité

Similaire à บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน(20)

Publicité

บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

  1. สมถกัมมัฏฐาน พระผูมีพระภาคทรงประธานโอวาทไววา... สมาธึ ภิกฺขเว ภาเวถ สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงยังสมาธิใหเกิด ชนผูมีจิตเปนสมาธิแลว ยอมรูตามความเปนจริง จุดประสงคแหงพระพุทธพจนนี้ คือ พระพุทธองค ทรงอยากใหพุทธบริษัท บําเพ็ญสมาธิเพื่อทําใจใหสงบ เมื่อใจสงบ ยอมคิดดี พูดดี ทําดี
  2. ใจที่เปนสมาธิยอมเห็นสิ่งตางๆได รูผิดชอบชั่วดี แต ใจนี้โดยปกติมักจะมีอารมณ คือ สิ่งที่ขัดขวางไมให ทําความดี ใหหวั่นไหว เรียกวา “นิวรณ” นิวรณ ๕ คือ 1. กามฉันท 2. พยาบาท 3. ถีนมิทธะ 4. อุทธัจจกุกกุจจะ 5. วิจิกิจฉา
  3. 1. กามฉันท หมายถึง ความพอใจรักใครในกามคุณ ๕ มีรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ดวยอํานาจของกิเลส กามหลงใหลในกามสุข คนที่มากไปดวยกามฉันทควร แกดวยการเจริญอสุภกัมมัฏฐาน 2. พยาบาท หมายถึง ความโกรธจัด ดวยกําลังโทสะ อยางแรง ถึงกับมีความพยาบาทคิดจองลางจองผลาญ ผูอื่น คนผูมีความพยาบาท มักโกรธงายโมโหราย ควร แกดวยการเจริญพรหมวิหารธรรม ๓ ขอ คือ เมตตา กรุณา และ มุทิตา
  4. 3. ถีนมิทธะ หมายถึง ความหดหูทอแทและเคลิบเคลิ้ม เศราซึมแหงจิต คนผูมีถีนมิทธะมักยอทอในกิจการงาน ที่ตองทําควรแกดวยการเจริญอนุสสติกัมมัฏฐานนึกถึง ความดีของตนหรือคุณของพระรัตนตรัย เปนตน... 4. อุทธัจจกุกกุจจะ หมายถึง ความฟุงซาน อึดอัด วิตก กังวลอันเปนเหตุใหใจไมปกติ ควรแกดวยการเพงกสิณ เพื่อใหใจแนวแน หรือเจริญมรณัสสติกัมมัฏฐาน 5. วิจิกิจฉา หมายถึง ความลังเลสงสัยตัดสินใจไมไดแก ดวยการเจริญธาตุกัมมัฏฐานหรือวิปสสนากัมมัฏฐาน
  5. สมาธิ...แปลวา ความตั้งมั่นแหงจิต หมายถึง .แปลว อาการที่ทําจิตใหวางจากนิวรณ ควรแกการงานเปน การรวบรวมความคิดของใจ ใหตรงไปในทิศทาง เดียวกัน มี ๒ อยาง คือ 1. อุปจารสมาธิ สมาธิเปนแตเฉียด ๆ คือสมาธิที่ เกือบแนวแนสามารถระงับนิวรณไดองคฌานก็เริ่ม เกิดขึ้น เพียงแตวายังไมมีกําลังมากพอเพราะจิตยัง ไมสงบนิ่งในอารมณ
  6. 2. อัปปนาสมาธิ สมาธิแนวแน คือ สภาวะจิตของ บุคคลผูบําเพ็ญสมถกัมมัฏฐาน จนจิตแนบแนนคง อยูในอารมณกัมมัฏฐาน ไมฟุงซานไปที่อื่น ตั้งมั่น ในอารมณเดียวที่เรียกวา “เอกัคคตาจิต” การทําใจใหสงบเปนสมาธิ โดยวิธีคือเจริญสมถ กัมมัฏฐานนี้ ตองมีอารมณเปนเครื่องยึดเหนี่ยวใน ที่นี้ทานไดแสดงหัวใจสมถกัมมัฏฐาน ๕ อยาง อัน ใจสมถกั เปนคูปรับของนิวรณ ๕ เพื่อเปนอุบายเจิรญสมาธิ ายเจิ ญสมาธิ
  7. หัวใจ...สมถ ใจ... กัมมัฏฐาน 1. กายคตาสติ 2. เมตตา 3. พุทธานุสสติ 4. กสิณ 5. จตุธาตุววัตถาน
  8. 1.กายคตาสติ หมายถึง สติที่ไปในกาย คือการใชสติพิจารณา ถึงอวัยวะในรางกายของตนและของผูอื่น ใหเห็นเปนของไม งดงาม เรียกวา มูลกัมมัฏฐาน หรือ ตจปญจกกัมมัฏฐาน โดยการพิจารณาทั้งอนุโลมและปฏิโลม ในอาการ ๕ อยาง คือ พิจารณาโดยอนุโลม คือตามลําดับดวยอาการ ๕ อยาง คือ... เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ตา พิจารณาโดยปฏิโลม คือการยอนลําดับ ดวยอาการ ๕ อยาง คือ... ตโจ ทนฺตา นขา โลมา เกสา ตา กัมมัฏฐานขอนี..... อํานวยผลเพียงขั้นอุปจารสมาธิ และเปน ้ ... ประโยชนแกผูมีกามฉันทเปนเจาเรือน เพราะทําใหไมยดมั่นใน ึ กายของตนและของผูอื่น...
  9. 2. เมตตา หมายถึง ความรักที่ไมเจือดวยความใคร คือความปรารถนาดีหวังดีตอผูอื่น คิดนําสุขไปใหเขา โดยสวนเดียว การแผเมตตาในที่นี้ เบื้องตนตองแผ โดยเจาะจงกอน เชน แผใหกับคนในครอบครัว เมือ ่ ชํานาญแลว จึงแผไปโดยไมเจาะจงบุคคลหรือสัตว โดยไมเลือก กัมมัฏฐานนี....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอัปปนาสมาธิ ้ ..อํ และเปนประโยชนแกผูมีความพยาบาท เพราะทําใหเปนอยู ดวยความไมมีเวรไมมีภัยตอกัน รักใครชวยเหลือกัน...
  10. 3. พุทธานุสสติ หมายถึง การระลึกถึงคุณของพระ พุทธเจา คือ การสํารวมจิตนอมถึงพระพุทธคุณทั้ง ๙ ตามบทพุทธคุณ เชน อิติป โส ภควา อรหัง สัมมา เปนตน หรือ พุทธคุณ ๓ คือ พระปญญาคุณ พระวิสุทธิคุณ และพระกรุณาธิคุณทั้งหมดหรือบท ใดบทหนึ่งจนจิตสงบตั้งมั่นเปนสมาธิ กัมมัฏฐานนี....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอุปจารสมาธิ ้ ..อํ และเปนประโยชนแกผูที่มีถีนมิทธะ เพราะทําใหจิตใจไมหด หูไมยอทอตออุปสรรคที่มาขัดขวางในการทําความดีงาม
  11. 4. กสิณ หมายถึง เครื่องหมายจูงใจหรือวัตถุสําหรับเพง คือ การทํากัมมัฏฐาน โดยการเพงหรือการยึดเอากสิณเปน อารมณที่เรียกกันวา เพงกสิณ 10 อยาง คือ ปฐวีกสิณ (ดิน) อาโปกสิณ (น้ํา) เตโชกสิณ (ไฟ) วาโยกสิณ (ลม) ๔ อยางนี้ เรียกวา ภูตกสิณ คือ ธาตุ ๔ นีลกสิณ สีเขียว ปตกสิณ สีเหลือง โลหิตกสิณ สีแดง โอทาตกสิณ สีขาว ๔ อยางนี้ เรียกวา วัณณกสิณ คือ กสิณสี อาโลกกสิณ (แสงสวาง) อากาสกสิณ ความวางเปลา กัมมัฏฐานนี....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอัปปนาสมาธิและ ้ ..อํ และ เปนประโยชนแกผูที่อุทธัจจกุกกุจจะเพราะทําใหจิตนิ่งจดจอและ จะเพราะทํ อดทนในงานที่กระทํา
  12. 5. จตุธาตุววัตถาน หมายถึง กําหนดธาตุ ๔ คือ การ กําหนดพิจารณารางกาย ใหเห็นสภาวะที่เปนอยูจริงวา เปนสิ่งที่เกิดจากการรวมตัวกันของธาตุ ๔ รวมกันเขา เปนรางกาย หรือแมแตสิ่งตาง ๆ ที่มนุษยไดสรางขึ้นทั้ง รางกายและสิ่งของเปนสิ่งที่เกิดจากธาตุ เมื่อธาตุรวมกัน จึงทําใหเกิดสังขาร ทั้งที่มีใจครองและมิมีใจครอง กัมมัฏฐานนี....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอุปจารสมาธิ ้ ..อํ และเปนประโยชนแกผูที่วิจิกิจฉา เพราะทําใหคลายความ สงสัย ไมหลงเขาใจผิดในสภาพที่เปนอยูจริงของสิ่งตางๆ
  13. ความหมายของ...สมถกั ความหมายของ...สมถกัมมัฏฐาน สมถะ... สมถะ... มีความหมายอยู ๓ อยาง คือ... 1. ธรรมเปนเครื่องสงบระงับของจิต 2. ธรรมอันทําใหจิตสงบระงับจากนิวรณูปกิเลส 3. ความสงบระงับของจิตในภายใน กัมมัฏฐานนี....ไดแกอารมณที่ตั้งของจิต คือสิ่งที่ยดผูกจิตไว ้ ..ได ึ ไมใหฟุงซาน ใหสงบนิงอยูกับกัมมัฏฐาน ่ สมถกั สมถกัมมัฏฐาน จึงหมายถึงอุบายเปนเครื่องสงบใจ โดยใชสติ กําหนดอารมณกัมมัฏฐานอยางใดอยางหนึ่งในอารมณ ๔๐ วิธี
  14. กัมมัฏฐาน ๔๐ อยาง ซึ่งเปนอารมณของสมถกัมมัฏฐาน เพื่อทําใจใหสงบ ระงับจากนิวรณูปกิเลส มี ๗ หมวด คือ... 1. กสิณ 10 2. อสุภะ 10 3. อนุสสติ 10 4. พรหมวิหาร 5. อาหาเรปฏิกูลสัญญา 1 6. จตุธาตุววัตถาน 1 7. อรูป 4
  15. 1. กสิณ 10 ภูตกสิณ ๔ คือ.. 1. ปฐวีกสิณ 2. อาโปกสิณ 3. เตโชกสิณ 4. วาโยกสิณ วัณณกสิณ ๔ คือ.. ณกสิ 5. นีลกสิณ 6. ปตกสิณ 9. อาโลกกสิณ 7. โลหิตกสิณ 8. โอทาตกสิณ 10. อากาสกสิณ
  16. กสิณ...หมายถึง ...หมายถึ เครื่องหมายจูงใจ หรือ วัตถุ สําหรับเพงเพื่อยึดดึงใจไวในเวลาทํากรรมฐาน นิยม เรียกวาเพงกสิณ มี 10 อยาง คือ... 1. ปฐวีกสิณ เพงดินเปนอารมณ บริกรรมวา ปฐวี ๆ 2. อาโปกสิณ เพงน้ําเปนอารมณ บริกรรมวา อาโป ๆ 3. เตโชกสิณ เพงไฟเปนอารมณ บริกรรมวา เตโช ๆ 4. วาโยกสิณ เพงลมเปนอารมณ บริกรรมวา วาโย ๆ 5. นีลกสิณ เพงสีเขียวเปนอารมณ บริกรรมวา นีลํ ๆ
  17. 6. ปตกสิณ เพงสีเหลืองเปนอารมณ บริกรรมวา ปตกํ ๆ 7. โลหิตกสิณ เพงสีแดงเปนอารมณ บริกรรมวา โลหิตกํ ๆ 8. โอทาตกสิณ เพงสีขาวเปนอารมณ บริกรรมวา โอทาตํ ๆ 9. อาโลกกสิณ เพงถึงแสงสวาง บริกรรมวา อาโลโก ๆ 10. อากาสกสิณ เพงถึงอากาศ บริกรรมวา อากาโส ๆ ****************
  18. อสุภะ 10 อยาง 1. อุทธุมาตกอสุภะ 6. วิกขิตตกอสุภะ 2. วินีลกอสุภะ 7. หตวิกขิตกอุสภะ 3. วิปุพพกอสุภะ 8. โลหิตกอสุภะ 4. วิฉิททกอสุภะ 9. ปุฬุวกอสุภะ 5. วิกขายิตกอสุภะ 10. อัฏฐิกอสุภะ
  19. อสุภะ แปลวา สภาพที่ไมงาม หมายถึง ซากศพที่ ภะ อยูในสภาพตางๆ กัน ซึ่งนํามาเปนอารมณกัมมัฏฐาน โดยการพิจารณาใหเห็นวาเปนของไมงาม เปนของไม นาชื่นชม ไมนายึดมั่นถือมั่น มี 10 อยาง คือ 1. พิจารณาซากศพที่เนาพองขึ้นเปนอารมณ บิรกรรม วา อุทฺธุมาตกํ ปฏิกุลํ 2. พิจารณาซากศพที่มีมีน้ําเหลืองไหลออกเปนอารมณ บริกรรมวา วินีลกํ ปฏิกูลํ
  20. 3. พิจารณาซากศพที่มีน้ําเหลืองไหลออกเปนอารมณ บริกรรมวา วิปุพพกํ ปฏิกูลํ 4. พิจารณาซากศพที่ขาดกลางตัวเปนอารมณ บริกรรมวา วิฉิทฺทกํ ปฏิกูลํ 5. พิจารณาซากศพที่สัตวกัดกินแลวเปนอารมณ บริกรรม วา วิกฺขายิตกํ ปฏิกูลํ 6. พิจารณาซากศพที่มีมือ เทา ศรีษะขาดเปนอารมณ บริกรรมวา วิกฺขิตฺตกํ ปฏิกูลํ
  21. 7. พิจารณาซากศพที่คนที่มีเวรตอกัน ขาศึกกัน สับฟนเปน ทอนๆ เปนอารมณ บริกรรมวา หตวิกฺขิตฺตกํ ปฏิกูลํ 8. พิจารณาซากศพที่ถูกประหารดวยศัสตรา มีโลหิตไหล อาบอยูเปนอารมณ บริกรรมวา โลหิตกํ ปฏิกูลํ 9. พิจารณาซากศพที่ถูกประหารดวยศัตตรา มีโลหิตไหล อาบอยูเปนอารมณ บริกรรมวา โลหิตกํ ปฏิกูลํ 10. พิจารณาซากศพที่ยังเหลืออยูแตโครงกระดูกเปน อารมณ บริกรรมวา อฏฐิกํ ปฏิกูลํ
  22. อนุสสติ 10 อยาง 1. พุทธานุสสติ 6. เทวตานุสสติ 2. ธัมมานุสสติ 7. อุปสมานุสสติ 3. สังฆานุสสติ 8. มรณสติ 4. สีลานุสสติ 9. กายคตาสติ 5. จาคานุสสติ 10. อานาปานสติ
  23. อนุสสติ หมายถึง ความตามระลึกถึงอยูเปนประจํา อารมณที่ควรตามระลึกถึงอยูเสมอ ๆ เพื่อยึดดึงใจให สงบตั้งมั่น มี 10 อยาง คือ... 1. พุทธานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระพุทธเจาเปนอารมณ 2. ธัมมานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระธรรมเปนอารมณ 3. สังฆานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระสงฆเปนอารมณ 4. สีลานุสสติ ระลึกถึงศีลที่ตนรักษาไดเปนอารมณ 5. จาคานุสสติ ระลึกถึงทานที่ตนบริจาคเปนอารมณ
  24. 6. เทวตานุสสติ ระลึกถึงคุณธรรมที่ทําบุคคลใหเปน เทวดาเปนอารมณ 7. อุปสมานุสสติ ระลึกถึงพระนิพพานเปนอารมณ 8. มรณสติ ระลึกถึงความตายที่จะมาถึงเปนอารมณ 9. กายคตาสติ ระลึกถึงทั่วไปในกาย เชน ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เปนตน โดยความเปนของปฏิกูลเปนอารมณ 10. อานาปานสติ ระลึกถึงลมหายใจเขา – ออก ยาว – สั้น ก็รู วาเปนอารมณ
  25. พรหมวิหาร ๔ อยาง **************** 1. เมตตา 2. กรุณา 3. มุทิตา 4. อุเบกขา พรหมวิหาร หมายถึง ธรรมเปนเครืองอยูของทาน ่  ผูใหญ การบําเพ็ญกรรมฐานหมวดนี้ ไดแก การแผ ความรูสึกที่ดีตอผูอน มีวิธีแผไมตรีจิต ๔ อยาง คือ  ื่
  26. 1. เมตตา หมายถึง การแผเมตตาจิตคิดใหสัตวทั้งปวงเปน สุขทุกถวนหนา 2. กรุณา หมายถึง การแผกรุณาจิตคิดใหสัตวทั้งปวงที่ ประสบทุกขใหไดพนจากความทุกข 3. มุทิตา การแผมุทิตาจิตคิดใหสัตวทั้งปวงที่ประสบสุข สมบัติแลว จงดํารงอยูในสุขสมบัตินั้นนานเทานาน 4. อุเบกขา หมายถึง การแผอุเบกขา คือ การวางเฉยวางใจ ใหเปนกลาง ไมดีใจหรือเสียใจเมื่อไดรับทุกข
Publicité