SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
ไทย
ภาค
กลาง
ความเป็น มาของ
 ไทยภาคกลาง
             ภาคกลาง หมายถึง ภูมภาคตอนกลางของ
                                     ิ
 ไทย ครอบคลุมพืนที่แห่ง
                     ้
 ทีราบลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยา เป็นศูนย์รวมของแม่นำ้าสาย
   ่
 สำาคัญหลายสาย ได้แก่
 แม่นำ้าเจ้าพระยา ป่าสัก แม่กลอง ท่าจีน แควน้อย แคว
 ใหญ่ ฯลฯ พืนทีแถบนี้
              ้ ่
 จึงอุดมสมบูรณ์ เป็นอู่ข้าวอู่นำ้าของประเทศ
ลัก ษณะภูม ป ระเทศ
           ิ
             ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยที่ราบซึ่งเกิดจาก
 การทีแม่นำ้าพัดพาเอาเศษหิน เศษดิน กรวดทราย และ
      ่
 ตะกอนมาทับถมพอกพูนมานับเป็นเวลาล้าน ๆ ปี
 บริเวณทีราบของภาคนี้กนอาณาบริเวณตั้งแต่ทางใต้
         ่              ิ
 ของจังหวัดอุตรดิตถ์ลงไป
ลัก ษณะโครงสร้า ง บริเ วณภาค
กลางสามารถแบ่ง ได้เ ป็น 3 เขต คือ
      1. ภาคกลางตอนบน ได้แก่ บริเวณตั้งแต่
จังหวัดนครสวรรค์ขึ้นไป
ทางตอนบน ครอบคลุมพื้นทีในเขตจังหวัดกำาแพงเพชร
                              ่
พิจิตร พิษณุโลก สุโขทัย รวมทังบางบริเวณจังหวัด
                                ้
เพชรบูรณ์ เป็นที่ราบลุ่มแม่นำ้าและที่ราบลูกฟูก
      2. ภาคกลางตอนล่า ง เป็นทีราบลุ่มซึ่งเริ่มตั้งแต่
                                      ่
ทางตอนใต้ของ
จังหวัดนครสวรรค์ลงไปจนจรดอ่าวไทย ภูมประเทศ   ิ
ภาคกลางตอนล่างบริเวณ
ดินดอนสามเหลี่ยมแม่นำ้าเจ้าพระยา พื้นทีส่วนใหญ่เป็น
                                           ่
ดินตะกอนที่
แม่นำ้าเจ้าพระยา แม่นำ้าท่าจีน แม่นำ้าแม่กลอง และแม่นำ้า
บางปะกงพัดพามา
      3. บริเ วณขอบทีร าบ (marginal plain)
                        ่
ถิ่น ที่อ ยู่อ าศัย ของ
คนไทยภาคกลาง
          ประกอบไปด้วย 22 จังหวัด ดังนี้
     1. กรุงเทพมหานคร           2. กำาแพงเพชร
       3. ชัยนาท
       4. นครนายก                   5. นครปฐม
           6. นครสวรรค์
       7. นนทบุรี                   8. ปทุมธานี
           9. พระนครศรีอยุธยา
       10. พิจตร
              ิ                      11.พิษณุโลก
            12. เพชรบูรณ์
       13. ลพบุรี                   14.
สมุทรปราการ          15. สมุทรสงคราม
       16. สมุทรสาคร              17. สระบุรี
          18. สิงห์บุรี
ลัก ษณะการดำา เนิน ชีว ิต ของ
คนไทยภาคกลาง  
      อดีต ประชาชนทีอยู่อาศัยบริเวณภาคกลาง
                         ่
ประกอบอาชีพสำาคัญ คือ ทำาการเกษตร
จับสัตว์นำ้าจึงเป็นอาชีพทีสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนค่อน
                           ่
ข้างสูงและอาชีพค้าขาย เป็นอีกส่วนหนึงของการดำาเนิน
                                        ่
ชีวิตของประชาชนภาคกลาง เพราะมีแม่นำ้าไหลผ่าน
ทำาให้เป็นแหล่งชุมชน จึงเหมาะแก่การค้าขาย
ประชาชนส่วนใหญ่สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยอาศัย
ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์เป็นเครื่องเลี้ยงปาก
เลี้ยงท้อง
     ปัจ จุบ ัน  มีโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นจำานวนมาก 
เช่น  โรงงานทอผ้า 
โรงงานเครื่องใช้ไฟฟ้า  โรงงานประกอบรถยนต์ 
โรงงานอาหารกระป๋อง ผู้คนบางส่วนจึงเลิกประกอบ
อาชีพเกษตรกรรมและเข้ามาทำางานในโรงงาน
การแต่ง กายของ
ไทยภาคกลาง
    ลัก ษณะการแต่ง กาย
      ผู้ช าย สมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงระบอบการ
ปกครอง นิยมสวมใส่โจงกระเบนสวมเสื้อสีขาว ติด
กระดุม 5 เม็ด ทีเรียกว่า "ราชประแตน" ไว้ผมสันข้างๆ
                   ่                            ้
ตัดเกรียนถึงหนังศีรษะข้างบนหวีแสกกลาง
     ผู้ห ญิง  สมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงระบอบการ
ปกครอง นิยมสวมใส่ผ้าซิ่นยาว
ครึ่งแข้ง ห่มสไบเฉียงตามสมัยอยุธยา ทรงผมเกล้าเป็น
มวย และสวมใส่เครื่องประดับเพือความสวยงาม 
                                  ่
       ลัก ษณะการแต่ง กายในชีว ิต ประจำา วัน
ทัว ไป
  ่
                ผู้ช าย   นุงกางเกงครึ่งน่อง สวมเสื้อ
                             ่
แขนสั้น คาดผ้าขาวม้า   
                ผู้ห ญิง นุ่งซิ่นยาว สวมเสื้อแขนสั้น
หรือยาว
ศาสนาที่ค นไทยภาค
กลางนับ ถือ
          คนไทยภาคกลางโดยมากถือคติความเชื่อ
ทางพระพุทธศาสนา
เป็นหลักของชีวิต ประเพณีความเชื่อต่าง ๆ โดยมากมี
พืนฐานมาจากพระพุทธศาสนา และศาสนาอื่น ๆแต่เป็น
  ้
เพียงส่วนน้อย มีการกราบไหว้
พระแม่คงคา และเรือทีอาศัยเป็นยานพาหนะ โดยจะมี
                     ่
การเคารพต่อแม่ยานางเรือ
                 ่
ภาษาของไทย
ภาคกลาง
         ภาษาไทยกลาง คนไทยในภาคต่าง ๆ
ตลอดจนผู้ที่อาศัยอยูในแผ่นดินไทยเรียนรู้ภาษาไทย
                    ่
กลางจากโรงเรียนและจากสื่อสารมวลชน
ภาษาไทยถิ่นกลาง ได้แก่ ภาษาไทยที่พดกันในจังหวัด
                                    ู
ต่าง ๆ ในภาคกลาง รวมทังภาคตะวันออกและภาค
                          ้
ตะวันตก ได้แก่ กรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ อีก
34 จังหวัด ภาษาไทยกรุงเทพฯ เป็นภาษาไทยถิ่น
หนึ่งในภาคกลาง แต่เนืองจากกรุงเทพฯ มีฐานะเป็น
                        ่
เมืองหลวง ภาษาไทยถินกรุงเทพฯ จึงใช้เป็นภาษา
                      ่
กลางสำาหรับใช้ในการติดต่อสื่อสารทัวประเทศ
                                  ่
วัฒ นธรรมเกี่ย ว
    กับ ทีอ ยู่อ าศัย
          ่
               บ้านทรงไทยนับว่าเป็นภูมปัญญาของบรรพบุรุษ
                                       ิ
    ไทย ที่ได้คิดสร้างทีอยูอาศัย
                          ่ ่
    ทีเหมาะสมกับสภาพภูมประเทศและภูมอากาศ คือ เป็น
      ่                       ิ          ิ
    เรือนยกพื้นสูง เพือป้องกัน
                      ่
    นำ้าท่วมตัวเรือน เพราะในปลายฤดูฝนจะมีนำ้าป่าไหลหลาก
    จากทางเหนือท่วม
    พืนทีลุ่มในภาคกลาง ส่วนหลังคาทีสูงและลาดชันก็เหมาะ
        ้ ่                          ่
    กับสภาพอากาศทีร้อน  ่
    อบอ้าวและมีฝนตกชุกของภาคกลาง
            เรือ นไทยภาคกลางจะสร้า งด้ว ยไม้ แบ่ง
    เป็น 2 ประเภท คือ
    1. เรือ นเครื่อ งสับ  เป็นเรือนที่ทำาด้วยไม้เนื้อแข็ง
    2. เรือ นไม้ผ ูก  เป็นเรือนที่ทำาด้วยไม้ไผ่เป็นส่วนใหญ่
    เอกลักษณ์ของคนไทย คือ
    ยกพื้นสูง มีใต้ถุนเรือน หลังคาหน้าจั่วทรงสูง สร้างโดยไม่
เรือ นไทย
        ภาคกลาง




 เรือ น                      เรือ น
เครื่อ งสับ              ไม้ผ ก
                              ู
วัฒ นธรรมการรับ ประทาน
อาหารของคนไทยภาคกลาง
          คนไทยภาคกลางนิยมรับประทานอาหาร
ด้วยช้อน ส้อมและใช้ช้อนกลาง
สำาหรับตักอาหารและนิยมรับประทานข้าวเจ้าเป็นหลัก
รสชาติอาหารของภาคกลางจะมีรสกลมกล่อม มีรส
หวานนำาเล็กน้อย มีการนำาผักมาประดิษฐ์ประดอยให้
สวยงาม เช่น นำ้าพริกลงเรือ จัดให้สวยงามด้วยผักแกะ
สลัก
ครอบครัว ทีม ฐ านะรำ่า รวย จะมีผ้าเช็ดปากวางอยู่
               ่ ี
บนโต๊ะทั้งนีขึ้นอยูกับความมีระเบียบแบบแผนทีสืบทอด
            ้       ่                      ่
กันมาของบุคคลในตระกูลนั้นๆ การจัดอาหารบนโต๊ะ
บางบ้านจะวางไว้หมดทุกอย่าง และในบางบ้านอาจมี
คนคอยเสิร์ฟอาหารยืนระวังอยู่ข้างๆโต๊ะพร้อมทีจะ
                                             ่
เสิร์ฟอาหาร นำ้า และเติมอาหาร
ครอบครัว ทีม ฐ านะปานกลาง ไม่มผู้เสิร์ฟ แต่จะกิน
                ่ ี                  ี
วัฒ นธรรมที่เ กี่ย วข้อ ง
กับ ประเพณี
       ประเพณีร ับ บัว  เป็นประเพณีของชาวอำาเภอ
บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
จัดขึ้นในวันขึ้น 15 คำ่า เดือน 11 ของทุกปี ในเทศกาล
ออกพรรษา
ตำานานของประเพณีรับบัวเล่าว่า ในสมัยก่อนนั้นอำาเภอ
บางพลี เป็นแหล่งทีมี่
ดอกบัวหลวงมาก เมือถึงช่วงออกพรรษา ชาวบ้านทีอยู่
                      ่                         ่
ใกล้อำาเภอบางพลี
โดยเฉพาะที่อำาเภอเมืองและอำาเภอพระประแดง จะเดิน
ทางไปเก็บดอกบัว
ทีอำาเภอบางพลี เพื่อนำามาประกอบพิธีทำาบุญในวันออก
  ่
พรรษา ต่อมาชาวบางพลีเป็นผู้เก็บดอกบัวไว้แจกให้ชาว
วัฒ นธรรมที่เ กี่ย วข้อ ง
กับ ประเพณี (ต่อ )
           ประเพณีต ัก บาตรนำ้า ผึ้ง เป็นประเพณี
ถวายเภสัช หรือยาแด่พระสงฆ์
ทำาในวันขึ้น 15 คำ่า เดือน 10 พุทธศาสนิกชนจะนำา
อาหารและข้าวต้มมัด
หรือข้าวต้มลูกโยนไปทำาบุญทีวัด และจะมีของทำาบุญ
                                 ่
พิเศษ คือ นำ้าผึ้งชนิดบริสุทธิ์ พร้อมทั้งนำ้าตาลทรายและ
ผ้าแดงผืนเล็กๆ  ผู้มาทำาบุญจะนำานำ้าผึ้งใส่ในบาตร
เปล่า
ทีตั้งอยู่หน้าพระสงฆ์ สามเณร จำานวน 32 ใบ โดยถือ
  ่
เคล็ดตามลักษณะของมนุษย์ปกติ ที่เรียกกันว่า ครบ
32 ชาวบ้านจะนำานำ้าผึ้งเทลงบาตร
ใส่นำ้าตาลทรายลงในฝาบาตรที่ตั้งอยู่ข้างบาตรนำ้าผึ้ง
และวางผ้าแดงไว้หลังบาตร
คติค วามเชือ ของคน
                                   ่
ไทยภาคกลาง
           ความเชื่อ เรื่อ งแม่โ พสพ คนไทยมีความ
เชื่อดั้งเดิมเรื่องผีสางเทวดา ชีวิตประจำาวันผูกพันอยู่
กับอาชีพชาวนา จึงเชื่อว่าในข้าวมีวิญญาณแม่โพสพ
ซึงมีบุญคุณต่อชาวนาสิงอยู่ จึงมีการปฏิบัติพธีกรรม
    ่                                          ิ
เพือระลึกถึงแม่โพสพ เช่น
      ่
การสร้างศาลเพียงตาในทุงนา เรียกว่า  "เรือนแม่
                             ่
โพสพ"  จะดำานาจะ ไถก็ต้องเชิญหรือบอกกล่าวแม่
โพสพก่อน มีการทำาขวัญข้าวเมือข้าวเริ่มออกรวง
                                  ่
หรือทีเรียกว่า "ข้าวตั้งท้อง” ต้องไปเอาอกเอาใจหา
         ่
อาหารเปรี้ยวหวานมันเค็มไปบูชาแม่โพสพ และนำา
ข้าวอ่อนไปทำาบุญถวายพระในประเพณีสารทเดือน
สิบซึ่งมี
การกวนข้าวทิพย์หรือข้าวมธุปายาส เมือมีการเก็บ
                                          ่
เกี่ยวข้าวก่อนจะนำาข้าวเก็บ
ยุงฉางจะมีพธีบอกกล่าวแม่โพสพ
  ้              ิ
เศรษฐกิจ ภาค
กลาง
        เศรษฐกิจ ภาคกลาง โดยรวมแล้วมีทง       ั้
ทำาการเกษตร อุตสาหกรรม การค้าและบริการ ภาค
กลางเป็นแหล่งปลูกและส่งออกข้าวทีสำาคัญ ทำานาได้
                                   ่
ปีละ 2 ครั้ง เพราะมีระบบชลประทานทีดี และเป็นภาค
                                      ่
ทีอยู่ใกล้กรุงเทพ มีการคมนาคมขนส่งสะดวก จึงมี
  ่
การลงทุนอุตสาหกรรม การค้าและบริการเพิมขึ้นค่อน
                                           ่
ข้างมาก อยุธยา  สระบุรี และลพบุรี ซึ่งเป็นจังหวัดทีมี
                                                   ่
ผลิตภัณฑ์จังหวัดสูง ส่วนจังหวัด
ทีมภาคเกษตรมาก คือ ชัยนาท  อ่างทอง สิงห์บุรี
    ่ ี
ผลิตภัณฑ์จังหวัดจะค่อนข้างตำ่า ส่วนหนึงเพราะเป็น
                                        ่
จังหวัดค่อนข้างเล็ก  มีพนทีและประชากรค่อนข้าง
                        ื้ ่
น้อย
ภาคกลางมีความต้องการใช้ไฟฟ้าถึงร้อยละ 9.6 
งานคนไทยภาคกลาง

Contenu connexe

Tendances (13)

ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้
 
201307161449131
201307161449131201307161449131
201307161449131
 
ท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวท่องเที่ยว
ท่องเที่ยว
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
สุราษฏร์ธานี
สุราษฏร์ธานีสุราษฏร์ธานี
สุราษฏร์ธานี
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
 
Thai onet[1]
Thai onet[1]Thai onet[1]
Thai onet[1]
 
จังหวัดภูเก็ต
จังหวัดภูเก็ตจังหวัดภูเก็ต
จังหวัดภูเก็ต
 
Attraction east
Attraction eastAttraction east
Attraction east
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 

Similaire à งานคนไทยภาคกลาง

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือtonsocial
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงLookNam Intira
 
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครIntrapan Suwan
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”Tum Meng
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okเอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okPatpong Lohapibool
 

Similaire à งานคนไทยภาคกลาง (20)

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
7
77
7
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
1
11
1
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือ
 
ตาก
ตากตาก
ตาก
 
3
33
3
 
บทที่ 1.docx
บทที่ 1.docxบทที่ 1.docx
บทที่ 1.docx
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
File
FileFile
File
 
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ลำพูน
ลำพูนลำพูน
ลำพูน
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ชัยภุม
ชัยภุมชัยภุม
ชัยภุม
 
4
44
4
 
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okเอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
 

งานคนไทยภาคกลาง

  • 2. ความเป็น มาของ ไทยภาคกลาง ภาคกลาง หมายถึง ภูมภาคตอนกลางของ ิ ไทย ครอบคลุมพืนที่แห่ง ้ ทีราบลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยา เป็นศูนย์รวมของแม่นำ้าสาย ่ สำาคัญหลายสาย ได้แก่ แม่นำ้าเจ้าพระยา ป่าสัก แม่กลอง ท่าจีน แควน้อย แคว ใหญ่ ฯลฯ พืนทีแถบนี้ ้ ่ จึงอุดมสมบูรณ์ เป็นอู่ข้าวอู่นำ้าของประเทศ ลัก ษณะภูม ป ระเทศ ิ ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยที่ราบซึ่งเกิดจาก การทีแม่นำ้าพัดพาเอาเศษหิน เศษดิน กรวดทราย และ ่ ตะกอนมาทับถมพอกพูนมานับเป็นเวลาล้าน ๆ ปี บริเวณทีราบของภาคนี้กนอาณาบริเวณตั้งแต่ทางใต้ ่ ิ ของจังหวัดอุตรดิตถ์ลงไป
  • 3. ลัก ษณะโครงสร้า ง บริเ วณภาค กลางสามารถแบ่ง ได้เ ป็น 3 เขต คือ 1. ภาคกลางตอนบน ได้แก่ บริเวณตั้งแต่ จังหวัดนครสวรรค์ขึ้นไป ทางตอนบน ครอบคลุมพื้นทีในเขตจังหวัดกำาแพงเพชร ่ พิจิตร พิษณุโลก สุโขทัย รวมทังบางบริเวณจังหวัด ้ เพชรบูรณ์ เป็นที่ราบลุ่มแม่นำ้าและที่ราบลูกฟูก 2. ภาคกลางตอนล่า ง เป็นทีราบลุ่มซึ่งเริ่มตั้งแต่ ่ ทางตอนใต้ของ จังหวัดนครสวรรค์ลงไปจนจรดอ่าวไทย ภูมประเทศ ิ ภาคกลางตอนล่างบริเวณ ดินดอนสามเหลี่ยมแม่นำ้าเจ้าพระยา พื้นทีส่วนใหญ่เป็น ่ ดินตะกอนที่ แม่นำ้าเจ้าพระยา แม่นำ้าท่าจีน แม่นำ้าแม่กลอง และแม่นำ้า บางปะกงพัดพามา 3. บริเ วณขอบทีร าบ (marginal plain) ่
  • 4. ถิ่น ที่อ ยู่อ าศัย ของ คนไทยภาคกลาง ประกอบไปด้วย 22 จังหวัด ดังนี้ 1. กรุงเทพมหานคร 2. กำาแพงเพชร 3. ชัยนาท 4. นครนายก 5. นครปฐม 6. นครสวรรค์ 7. นนทบุรี 8. ปทุมธานี 9. พระนครศรีอยุธยา 10. พิจตร ิ 11.พิษณุโลก 12. เพชรบูรณ์ 13. ลพบุรี 14. สมุทรปราการ 15. สมุทรสงคราม 16. สมุทรสาคร 17. สระบุรี 18. สิงห์บุรี
  • 5. ลัก ษณะการดำา เนิน ชีว ิต ของ คนไทยภาคกลาง   อดีต ประชาชนทีอยู่อาศัยบริเวณภาคกลาง ่ ประกอบอาชีพสำาคัญ คือ ทำาการเกษตร จับสัตว์นำ้าจึงเป็นอาชีพทีสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนค่อน ่ ข้างสูงและอาชีพค้าขาย เป็นอีกส่วนหนึงของการดำาเนิน ่ ชีวิตของประชาชนภาคกลาง เพราะมีแม่นำ้าไหลผ่าน ทำาให้เป็นแหล่งชุมชน จึงเหมาะแก่การค้าขาย ประชาชนส่วนใหญ่สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยอาศัย ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์เป็นเครื่องเลี้ยงปาก เลี้ยงท้อง ปัจ จุบ ัน  มีโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นจำานวนมาก  เช่น  โรงงานทอผ้า  โรงงานเครื่องใช้ไฟฟ้า  โรงงานประกอบรถยนต์  โรงงานอาหารกระป๋อง ผู้คนบางส่วนจึงเลิกประกอบ อาชีพเกษตรกรรมและเข้ามาทำางานในโรงงาน
  • 6. การแต่ง กายของ ไทยภาคกลาง ลัก ษณะการแต่ง กาย ผู้ช าย สมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงระบอบการ ปกครอง นิยมสวมใส่โจงกระเบนสวมเสื้อสีขาว ติด กระดุม 5 เม็ด ทีเรียกว่า "ราชประแตน" ไว้ผมสันข้างๆ ่ ้ ตัดเกรียนถึงหนังศีรษะข้างบนหวีแสกกลาง ผู้ห ญิง  สมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงระบอบการ ปกครอง นิยมสวมใส่ผ้าซิ่นยาว ครึ่งแข้ง ห่มสไบเฉียงตามสมัยอยุธยา ทรงผมเกล้าเป็น มวย และสวมใส่เครื่องประดับเพือความสวยงาม  ่ ลัก ษณะการแต่ง กายในชีว ิต ประจำา วัน ทัว ไป ่ ผู้ช าย นุงกางเกงครึ่งน่อง สวมเสื้อ ่ แขนสั้น คาดผ้าขาวม้า    ผู้ห ญิง นุ่งซิ่นยาว สวมเสื้อแขนสั้น หรือยาว
  • 7. ศาสนาที่ค นไทยภาค กลางนับ ถือ คนไทยภาคกลางโดยมากถือคติความเชื่อ ทางพระพุทธศาสนา เป็นหลักของชีวิต ประเพณีความเชื่อต่าง ๆ โดยมากมี พืนฐานมาจากพระพุทธศาสนา และศาสนาอื่น ๆแต่เป็น ้ เพียงส่วนน้อย มีการกราบไหว้ พระแม่คงคา และเรือทีอาศัยเป็นยานพาหนะ โดยจะมี ่ การเคารพต่อแม่ยานางเรือ ่
  • 8. ภาษาของไทย ภาคกลาง  ภาษาไทยกลาง คนไทยในภาคต่าง ๆ ตลอดจนผู้ที่อาศัยอยูในแผ่นดินไทยเรียนรู้ภาษาไทย ่ กลางจากโรงเรียนและจากสื่อสารมวลชน ภาษาไทยถิ่นกลาง ได้แก่ ภาษาไทยที่พดกันในจังหวัด ู ต่าง ๆ ในภาคกลาง รวมทังภาคตะวันออกและภาค ้ ตะวันตก ได้แก่ กรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ อีก 34 จังหวัด ภาษาไทยกรุงเทพฯ เป็นภาษาไทยถิ่น หนึ่งในภาคกลาง แต่เนืองจากกรุงเทพฯ มีฐานะเป็น ่ เมืองหลวง ภาษาไทยถินกรุงเทพฯ จึงใช้เป็นภาษา ่ กลางสำาหรับใช้ในการติดต่อสื่อสารทัวประเทศ ่
  • 9. วัฒ นธรรมเกี่ย ว กับ ทีอ ยู่อ าศัย ่   บ้านทรงไทยนับว่าเป็นภูมปัญญาของบรรพบุรุษ ิ ไทย ที่ได้คิดสร้างทีอยูอาศัย ่ ่ ทีเหมาะสมกับสภาพภูมประเทศและภูมอากาศ คือ เป็น ่ ิ ิ เรือนยกพื้นสูง เพือป้องกัน ่ นำ้าท่วมตัวเรือน เพราะในปลายฤดูฝนจะมีนำ้าป่าไหลหลาก จากทางเหนือท่วม พืนทีลุ่มในภาคกลาง ส่วนหลังคาทีสูงและลาดชันก็เหมาะ ้ ่ ่ กับสภาพอากาศทีร้อน ่ อบอ้าวและมีฝนตกชุกของภาคกลาง เรือ นไทยภาคกลางจะสร้า งด้ว ยไม้ แบ่ง เป็น 2 ประเภท คือ 1. เรือ นเครื่อ งสับ  เป็นเรือนที่ทำาด้วยไม้เนื้อแข็ง 2. เรือ นไม้ผ ูก  เป็นเรือนที่ทำาด้วยไม้ไผ่เป็นส่วนใหญ่ เอกลักษณ์ของคนไทย คือ ยกพื้นสูง มีใต้ถุนเรือน หลังคาหน้าจั่วทรงสูง สร้างโดยไม่
  • 10. เรือ นไทย ภาคกลาง เรือ น เรือ น เครื่อ งสับ ไม้ผ ก ู
  • 11. วัฒ นธรรมการรับ ประทาน อาหารของคนไทยภาคกลาง คนไทยภาคกลางนิยมรับประทานอาหาร ด้วยช้อน ส้อมและใช้ช้อนกลาง สำาหรับตักอาหารและนิยมรับประทานข้าวเจ้าเป็นหลัก รสชาติอาหารของภาคกลางจะมีรสกลมกล่อม มีรส หวานนำาเล็กน้อย มีการนำาผักมาประดิษฐ์ประดอยให้ สวยงาม เช่น นำ้าพริกลงเรือ จัดให้สวยงามด้วยผักแกะ สลัก ครอบครัว ทีม ฐ านะรำ่า รวย จะมีผ้าเช็ดปากวางอยู่ ่ ี บนโต๊ะทั้งนีขึ้นอยูกับความมีระเบียบแบบแผนทีสืบทอด ้ ่ ่ กันมาของบุคคลในตระกูลนั้นๆ การจัดอาหารบนโต๊ะ บางบ้านจะวางไว้หมดทุกอย่าง และในบางบ้านอาจมี คนคอยเสิร์ฟอาหารยืนระวังอยู่ข้างๆโต๊ะพร้อมทีจะ ่ เสิร์ฟอาหาร นำ้า และเติมอาหาร ครอบครัว ทีม ฐ านะปานกลาง ไม่มผู้เสิร์ฟ แต่จะกิน ่ ี ี
  • 12. วัฒ นธรรมที่เ กี่ย วข้อ ง กับ ประเพณี ประเพณีร ับ บัว  เป็นประเพณีของชาวอำาเภอ บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จัดขึ้นในวันขึ้น 15 คำ่า เดือน 11 ของทุกปี ในเทศกาล ออกพรรษา ตำานานของประเพณีรับบัวเล่าว่า ในสมัยก่อนนั้นอำาเภอ บางพลี เป็นแหล่งทีมี่ ดอกบัวหลวงมาก เมือถึงช่วงออกพรรษา ชาวบ้านทีอยู่ ่ ่ ใกล้อำาเภอบางพลี โดยเฉพาะที่อำาเภอเมืองและอำาเภอพระประแดง จะเดิน ทางไปเก็บดอกบัว ทีอำาเภอบางพลี เพื่อนำามาประกอบพิธีทำาบุญในวันออก ่ พรรษา ต่อมาชาวบางพลีเป็นผู้เก็บดอกบัวไว้แจกให้ชาว
  • 13. วัฒ นธรรมที่เ กี่ย วข้อ ง กับ ประเพณี (ต่อ ) ประเพณีต ัก บาตรนำ้า ผึ้ง เป็นประเพณี ถวายเภสัช หรือยาแด่พระสงฆ์ ทำาในวันขึ้น 15 คำ่า เดือน 10 พุทธศาสนิกชนจะนำา อาหารและข้าวต้มมัด หรือข้าวต้มลูกโยนไปทำาบุญทีวัด และจะมีของทำาบุญ ่ พิเศษ คือ นำ้าผึ้งชนิดบริสุทธิ์ พร้อมทั้งนำ้าตาลทรายและ ผ้าแดงผืนเล็กๆ  ผู้มาทำาบุญจะนำานำ้าผึ้งใส่ในบาตร เปล่า ทีตั้งอยู่หน้าพระสงฆ์ สามเณร จำานวน 32 ใบ โดยถือ ่ เคล็ดตามลักษณะของมนุษย์ปกติ ที่เรียกกันว่า ครบ 32 ชาวบ้านจะนำานำ้าผึ้งเทลงบาตร ใส่นำ้าตาลทรายลงในฝาบาตรที่ตั้งอยู่ข้างบาตรนำ้าผึ้ง และวางผ้าแดงไว้หลังบาตร
  • 14. คติค วามเชือ ของคน ่ ไทยภาคกลาง ความเชื่อ เรื่อ งแม่โ พสพ คนไทยมีความ เชื่อดั้งเดิมเรื่องผีสางเทวดา ชีวิตประจำาวันผูกพันอยู่ กับอาชีพชาวนา จึงเชื่อว่าในข้าวมีวิญญาณแม่โพสพ ซึงมีบุญคุณต่อชาวนาสิงอยู่ จึงมีการปฏิบัติพธีกรรม ่ ิ เพือระลึกถึงแม่โพสพ เช่น ่ การสร้างศาลเพียงตาในทุงนา เรียกว่า  "เรือนแม่ ่ โพสพ"  จะดำานาจะ ไถก็ต้องเชิญหรือบอกกล่าวแม่ โพสพก่อน มีการทำาขวัญข้าวเมือข้าวเริ่มออกรวง ่ หรือทีเรียกว่า "ข้าวตั้งท้อง” ต้องไปเอาอกเอาใจหา ่ อาหารเปรี้ยวหวานมันเค็มไปบูชาแม่โพสพ และนำา ข้าวอ่อนไปทำาบุญถวายพระในประเพณีสารทเดือน สิบซึ่งมี การกวนข้าวทิพย์หรือข้าวมธุปายาส เมือมีการเก็บ ่ เกี่ยวข้าวก่อนจะนำาข้าวเก็บ ยุงฉางจะมีพธีบอกกล่าวแม่โพสพ ้ ิ
  • 15. เศรษฐกิจ ภาค กลาง เศรษฐกิจ ภาคกลาง โดยรวมแล้วมีทง ั้ ทำาการเกษตร อุตสาหกรรม การค้าและบริการ ภาค กลางเป็นแหล่งปลูกและส่งออกข้าวทีสำาคัญ ทำานาได้ ่ ปีละ 2 ครั้ง เพราะมีระบบชลประทานทีดี และเป็นภาค ่ ทีอยู่ใกล้กรุงเทพ มีการคมนาคมขนส่งสะดวก จึงมี ่ การลงทุนอุตสาหกรรม การค้าและบริการเพิมขึ้นค่อน ่ ข้างมาก อยุธยา  สระบุรี และลพบุรี ซึ่งเป็นจังหวัดทีมี ่ ผลิตภัณฑ์จังหวัดสูง ส่วนจังหวัด ทีมภาคเกษตรมาก คือ ชัยนาท  อ่างทอง สิงห์บุรี ่ ี ผลิตภัณฑ์จังหวัดจะค่อนข้างตำ่า ส่วนหนึงเพราะเป็น ่ จังหวัดค่อนข้างเล็ก  มีพนทีและประชากรค่อนข้าง ื้ ่ น้อย ภาคกลางมีความต้องการใช้ไฟฟ้าถึงร้อยละ 9.6