SlideShare a Scribd company logo
1 of 68
Download to read offline
วันเสาร์ ที่ 2 มีนาคม 2556
1
           ภาพฝันสั งคมไทยในอนาคต
* เป็ นสั งคมวิถพทธ มีหลัก 3 ประการ
                ี ุ
  - คารวธรรม (Repect for Individual)
   - สามัคคีธรรม (Unity, Co-Operation)
   - ปัญญาธรรม (Intelligent method or
     Scientific method)
2/4/2013       copyright www.brainybetty.com   2
                 2006 All Rights Reserved
2         สั งคมที่ยดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                     ึ
                                         ทางสายกลาง


                                        พอประมาณ

                         มีเหตุผล               มีภูมิคุมกันในตัวเองดี
                                                        ้


                   เงื่อนไขความรู้                               เงือนไขคุณธรรม
                                                                    ่
           (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)          (ซื่อสั ตย์ สุจริต ขยันอดทน สติปัญญา แบ่ งปัน)

                                            นาสู่

                              ชีวต/เศรษฐกิจ/สั งคม/สิ่ งแวดล้ อม
                                 ิ

2/4/2013                   copyrightสมดุล/มั่นคง/ยังยืน
                                                   ่
                                    www.brainybetty.com                                         3
                             2006 All Rights Reserved
2.1
            หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง

การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาทีต้งอยู่
                                               ่ ั
  บนพืนฐานของทางสายกลางและไม่ ประมาท โดยคานึงถึง
       ้
  ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้ างภูมคุ้มกันทีดี
                                         ิ         ่
  ในตัว ตลอดจนใช้ ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม
  ประกอบการวางแผนการตัดสิ นใจและการกระทา
           ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2/4/2013
           มีหลักพิจารณาอยู่ด้วยกัน ๕ ส่ วน ดังนี้
                   copyright www.brainybetty.com     4
                     2006 All Rights Reserved
2.1.1

     1. กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทาง
 การดารงอยู่และปฏิบตตนในทางทีควรจะเป็ น โดยมี
                         ั ิ         ่
 พืนฐานมาจากวิถีชีวตดั้งเดิมของสั งคมไทยสามารถนามา
   ้                   ิ
 ประยุกต์ ใช้ ได้ ตลอดเวลา มุ่งเน้ นการรอดพ้ นจากภัยและ
 วิกฤต เพือความมั่นคงและยังยืนของการพัฒนา
          ่                   ่

 2/4/2013          copyright www.brainybetty.com      5
                     2006 All Rights Reserved
2.1.2

     2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามา
ประยุกต์ ใช้ กบการปฏิบติตนได้ ในทุกระดับ โดยเน้ น
              ั       ั
การปฏิบัติบนทางสายกลางและการพัฒนาอย่ างเป็ น
ขั้นตอน


 2/4/2013         copyright www.brainybetty.com     6
                    2006 All Rights Reserved
2.1.3


     3. คานิยาม ความพอเพียงจะต้ องประกอบด้ วย
 3 คุณลักษณะ พร้ อมๆกันดังนี้



 2/4/2013       copyright www.brainybetty.com   7
                  2006 All Rights Reserved
2.1.3.1


         ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่ น้อย
      เกินไป และ ไม่ มากเกินไปโดยไม่ เบียดเบียนตนเอง
      และผู้อน เช่ น การผลิตและการบริโภคทีอยู่ในระดับ
             ื่                             ่
      พอประมาณ


  2/4/2013          copyright www.brainybetty.com   8
                      2006 All Rights Reserved
2.1.3.2

      ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกียวกับระดับ
                                          ่
  ของความพอเพียงนั้น จะต้ องเป็ นไปอย่ างมีเหตุผล
  โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยทีเ่ กียวข้ องตลอดจน
                                ่
  คานึงถึงผลทีคาดว่ าจะเกิดขึนจากการกระทานั้นๆ
              ่              ้
  อย่ างรอบคอบ


  2/4/2013          copyright www.brainybetty.com      9
                      2006 All Rights Reserved
2.1.3.3

      การมีภูมคุ้มกันทีดในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้
              ิ        ่ ี
  พร้ อมรับผลกระทบและการเปลียนแปลงด้ านต่ างๆ ทีเ่ กิดขึน
                                ่                        ้
  โดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ ของสถานการณ์ ต่างๆ ทีคาดว่ า
                                                 ่
  จะเกิดขึนในอนาคตทั้งใกล้ และไกล
          ้



  2/4/2013           copyright www.brainybetty.com      10
                       2006 All Rights Reserved
3                สั งคมพหุคูณ
           (Multi – Culture Society)
       สั งคมในอนาคตเป็ นสั งคมที่มีวฒนธรรม
                                     ั
พหุคูณเพราะโลกไร้ พรมแดน เกิดรัฐเครือข่ าย มี
การค้ าเสรี มีกติกาโลก กากับโดย UN [United Nations]
เป้ าหมายของชาวโลก คือ One World one dream

2/4/2013          copyright www.brainybetty.com       11
                    2006 All Rights Reserved
4                 สั งคมฐานความรู้ =
            Knowledge – based Society


    - ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
        - ยึดหลักวิทยาศาสตร์ /ไม่ เชื่อสิ่ งงมงาย
        - ยึดหลักปัญญาธรรมในการตัดสิ นใจ

2/4/2013            copyright www.brainybetty.com   12
                      2006 All Rights Reserved
5
               สั งคมฐานความรู้ คู่คุณธรรม
           Wisdom Compatible with Ethics

   * ยึดมันในคุณธรรมนาความรู้
           ่
   * ยึดมั่นในหลักศาสนา
   * ยึดมั่นในความสมานฉันท์ และเอืออาทร
                                  ้

2/4/2013            copyright www.brainybetty.com   13
                      2006 All Rights Reserved
6         คุณลักษณะคนไทยทีพงประสงค์
                           ่ ึ

     สรุปจาก ๘ ประการ คือ “เป็ นคนดี คนเก่ ง คนมี
     ความสุ ข”
        คนเก่ ง มีความรู้ ถงขั้นปัญญาธรรม
                           ึ
       คนดี มีคุณธรรม จริยธรรม
      คนมีความสุ ข ร่ างกายแข็งแรง จิตใจเบิกบาน
2/4/2013            copyright www.brainybetty.com   14
                      2006 All Rights Reserved
7
           การศึกษาของประเทศไทย
      1. ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาการศึกษา
      2. เป็ นการศึกษาตลอดชีวต (lifelong Education)
                              ิ
      3. เป็ นโรงเรียนฐานสมอง (Brain – based School)
      4. เป็ นการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
      5. การจัดและประเมินผลเน้ นการพัฒนาปรับปรุงมากกว่ า
        การตัดสิ นผล ได้ – ตก
      6. เป็ นการศึกษาทีประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอก
2/4/2013
                         ่
                      copyright www.brainybetty.com       15
                        2006 All Rights Reserved
8
           โครงสร้ างระบบการบริหารการศึกษา

     * จากกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรพุทธศักราช
ทั้ง 2540,2550 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542
แก้ไขเพิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 เน้ นเรื่องการกระจายอานาจ
        ่
จากส่ วนกลางสู่ สถานศึกษา โดยให้ โรงเรียนมีสถานภาพเป็ นนิติบุคคล
กรรมการสถานศึกษามีบทบาท และอานาจบริหารจัดการโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐาน (School – based Management)
2/4/2013              copyright www.brainybetty.com           16
                        2006 All Rights Reserved
9
      หลักพืนฐานของการของการบริหารจัดการโดยใช้ ฐาน
             ้
      โรงเรียน (School – based Management)
       1.หลักการกระจายอานาจ (Decentralization)
       2.หลักการบริหารตนเอง (Self – Management)
       3.หลักการแบบมีส่วนร่ วม (Participatory Management)
       4.หลักการพัฒนาทั้งระบบโรงเรียน
       (Whole School Approach)
       5.หลักการรับผิดชอบและตรวจสอบได้ (Accountability)
2/4/2013              copyright www.brainybetty.com         17
                        2006 All Rights Reserved
10
           องค์ ประกอบที่ทาให้ SBM ประสบผลสาเร็จ

       1. มีการเพิมอานาจ (Empowerment)
                  ่
       2. สร้ างความรู้ สึกเป็ นเจ้ าของ (Ownership)
       3. พันธกิจต้ องชัดเจน
       4. มุมมองเกียวกับมนุษย์ แบบทฤษฎี Y
                    ่
       5. ยึดทฤษฎีระบบ
       6. สร้ างโรงเรียนให้ เป็ นโรงเรียนคุณภาพ
2/4/2013              copyright www.brainybetty.com    18
                        2006 All Rights Reserved
11
    ‘ สั ตตศิลา’ หลักบริหารจัดการศึกษา 7 ประการ
หลักที่ 1 : คุณลักษณะบุคคลทีพงประสงค์ (4 ร)
                                ่ ึ
หลักที่ 2 : หลักสู ตรเสริมสร้ างศักยภาพของผู้เรียน(4F)
หลักที่ 3 : รู ปแบบการเรียนการสอนแบบ CRP
หลักที่ 4 : การเสริมสร้ างโอกาสการเรียนรู้ ( 3 M)

 2/4/2013          copyright www.brainybetty.com   19
                     2006 All Rights Reserved
11 ต่ อ
 หลักที่ 5 : การเสริมสร้ างการรู้ สารสนเทศ (NET)
 หลักที่ 6 : การบริหารจัดการศึกษาแบบบูรณาการ
  สาหรับเขตพืนที่การศึกษาและสถานศึกษา (iEMS)
                 ้
 หลักที่ 7 : แนวทางการจัดการศึกษาเพือเข้ าสู่ ยุคสั งคม
                                        ่
  ฐานความรู้ (Knowledge-Based Society)


 2/4/2013          copyright www.brainybetty.com    20
                     2006 All Rights Reserved
11.1
        คุณลักษณะบุคคลทีพงประสงค์ 4 ร
                        ่ ึ
             11.1.1 รทนรนำโลก
                      ู้ ั ู้
                   (Smart Consumer)
             11.1.2 เรียนรชำนำญ เชี่ยวชำญปฏิบติ
                              ู้             ั
                   Breakthrough Thinker)
             11.1.3 รวมพลังสร้ำงสรรค์สงคม
                                       ั
                   (Social Concern)
             11.1.4 รักษ์วฒนธรรมไทย ใฝสันติ
                           ั             ่
                   (Thai Pride)
  2/4/2013           copyright www.brainybetty.com   21
                       2006 All Rights Reserved
11.2         หลักสูตรเสริมสร้ำงศักยภำพของผูเ้ รียน 4 F


                                                            Fulfillment


                                                 Focus

                            Find                  Find

              Fun            Fun                   Fun
ระดับการศึกษา ป.1
  2/4/2013
                          ป. 3 – 4               ป. 5 – 6
                        copyright www.brainybetty.com
                          2006 All Rights Reserved
                                                              ม. 1 – 6
                                                                     22
11.3
            CRP (C = ตกผลึก R = วิจัย P = ชิ้นงาน)
        11.3.1 การเรียนรู้ แบบกากับตนเอง
              (Self – Regulated Learning - SRL)
        11.3.2 การเรียนรู้ แบบนาตนเอง
             (Seft – Directed Learning)
        11.3.3 การเรียนรู้ ตามสถานการณ์ จริง
             (Situated Learning)
        11.3.4 การเรียนรู้ แบบร่ วมมือ
              (Co – operative Learning)
 2/4/2013              copyright www.brainybetty.com   23
                         2006 All Rights Reserved
11.3        11.3.5 การเรียนรู้ แบบร่ วมแรงรวมพลัง
            (Collaborative LEARNING)
            11.3.6 การเรียนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นพืนฐาน
                                                   ้
            (Problem – Based Learning - PBL)
            11.3.7 การเรียนรู้ แบบใช้ วจัยเป็ นฐาน
                                       ิ
            (Research – Based Learning - REL)
            11.3.8 การเรียนรู้ แบบโครงงาน
            (Project – Based Learning)
 2/4/2013               copyright www.brainybetty.com    24
                          2006 All Rights Reserved
11.4
 หลักที่ 4: การเสริมสร้ างโอกาสการเรียนรู้ (3 M)
        การสร้ างโอกาสการเรียนรู้ มหลักง่ ายๆ ทีเ่ รียกว่ า
                                           ี
    3 M ซึ่งเป็ นตัวย่ อมาจากคาว่ า
                 Moral Supporter ( ผู้ให้ กาลังใจ)
                 Monitor (ผู้ กากับติดตาม)
                 Mentor (ผู้ เป็ นพีเ่ ลียง)
                                         ้
  2/4/2013            copyright www.brainybetty.com     25
                        2006 All Rights Reserved
11.5
       หลักที่ 5 : การเสริมสร้ างการรู้ สารสนเทศ (NET)
       หลักการ “NET” เพือเสริมสร้ างความรู้ สานสนเทศ
                        ่
           1. Networking (N) ได้ แก่เครือข่ ายการเรียนรู้ระหว่ างบุคคล
       และองค์ กร
           2.Edutianment (E) ได้ แก่กจกรรมการเรียนรู้หลายรูปแบบที่
                                        ิ
       ประกอบด้ วย Learn + Do + Pleasure หมายถึงสาระบันเทิง
           3. Tailor – made (T) ได้ การจัดรูปแบบการเสริมสร้ างความรู้
       สารสนเทศให้ เหมาะกับบุคคลแต่ ละคน เพราะผู้เรียนแต่ ละคนมีความ
       แตกต่ างในตัวบุคคล
  2/4/2013                 copyright www.brainybetty.com            26
                             2006 All Rights Reserved
11.6
   หลักที่ 6 การบริหารจัดการศึกษาแบบบูรณาการสาหรับเขต
            พืนทีการศึกษาและสถานศึกษา (iEMS)
              ้ ่
     หมายถึง การบริหารจัดการศึกษาแบบบูรณาการ
(Integrated Educational Management System,
  iEMS)
          การระดมทรัพยากร (Mobilization)
          กลยุทธ์ (Strategy)
          การมีส่วนร่ วม (Participation)
  2/4/2013
          ความเป็ นอิสระ (Autonomy)
                   copyright www.brainybetty.com
                     2006 All Rights Reserved
                                                   27
11.7 หลักที่ 7 : แนวทางการจัดการศึกษาเพือเข้ าสู่
                                        ่
       ยุคสั งคมฐานความรู้ (KBS)

         ทุกวันนีสังคมไทยอยู่ในภาวะของโลก ทีเ่ น้ นสั งคม
                 ้
การเรียนรู้ (Knowledge – Based Society) เป็ นสาคัญ
หมายถึง สั งคมทีมวถีชีวตของคนในสั งคมใช้ ความรู้ เป็ นฐาน
                   ่ ีิ ิ
ทั้งด้ านสั งคม การเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ

   2/4/2013          copyright www.brainybetty.com      28
                       2006 All Rights Reserved
12          หลักธรรมแห่ งความสาเร็จและ PDCA
       เป็ นกระบวนการทางานทีมคุณภาพ เรียกว่ าธรรมแห่ ง
                                ่ ี
           ความสาเร็จ (อิทธิบาท 4 ) วงจรแห่ งคุณภาพของ
                 เดมิง (Deming’s Quality Cycle)
                     ่
       Plan, Do, Check , Act คือ มีแผน ลงมือปฏิบัติ
         ตรวจสอบประเมินผล ทบทวนหาข้ อผิดพลาดข้ อดี
            เพือนาไปวางแผนใหม่ เป็ นวงจรเช่ นนีเ้ รื่อยไป
               ่
                   กระบวนการ PDCA ตรงกับ อิทธิบาทสี่
           ของพระพุทธเจ้ า คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมงสา
                                                       ั
2/4/2013             copyright www.brainybetty.com          29
                       2006 All Rights Reserved
13
            แนวความคิดของ Henri Fayfol
       (เฮ็นรี่ ฟะโยล์ ) ไม่ ใช่ ทฤษฎี แต่ เป็ นกระบวนการ
       บริหารหรือกระบวนการทางานหรือหลักการบริหาร
       ทัวไป คือ To Plan, To Organize,
         ่
                To Command, To Co – ordinate,
                To Control


2/4/2013              copyright www.brainybetty.com         30
                        2006 All Rights Reserved
14
           แนวความคิดของ Luther H.
      Gulick and Lyndol Urwick
      ไม่ ใช่ ทฤษฏี แต่ เป็ นกระบวนการบริหาร
      มี 7 ประการ “POSDCoRB” Planning,
      Organizing, Staffing, Directing, Co-
           ordinating,
      Reporting, Budgeting
2/4/2013         copyright www.brainybetty.com   31
                   2006 All Rights Reserved
15
              ทักษะที่จาเป็ นสาหรับผู้บริหาร 3 ทักษะ (Skill) คือ
        ความชานาญ มีความสามารถ มีสมรรถนะ สามารถ
        บริหารงานได้ ถูกต้ องแม่ นยา รวดเร็วและถูกต้ อง ได้ แก่
        1.conceptual skill หมายถึง ทักษะด้ านทฤษฎี หรือ ด้ าน
              มโนมติ หรือ มโนทัศน์
        2. ทักษะด้ านมนุษย์ (Human Skill) บางตาราเรียกว่าทักษะ
              ด้ านมนุษยสั มพันธ์
        3. ทักษะด้ านเทคนิค (Technical Skill)

     2/4/2013              copyright www.brainybetty.com           32
                             2006 All Rights Reserved
16               การทางานอย่ างเป็ นระบบ (Systematic
        Approach) คือการทางานอย่ างเป็ นขั้นตอนและ
        ต่ อเนื่องจนบรรลุเปาหมาย แต่ ทฤษฎีระบบ
                           ้
        (System Theory) หมายถึงการทางานทีเ่ ป็ นขั้นตอน
        และต่ อเนื่องจนบรรลุเปาหมาย แต่ มรายละเอียดชัดเจน
                               ้           ี
        และมีข้นตอนมากขึน คือ มีปัจจัยป้ อนหรือปัจจัยนาเข้ า
                 ั           ้
        (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Output)
        ผลลัพธ์ (Outcome) และ ผลย้ อนกลับ (Feedback)
     2/4/2013            copyright www.brainybetty.com         33
                           2006 All Rights Reserved
17              นักศึกษามีความสั บสนเกียวกับหลักธรรมเกียวกับการบริหาร
                                            ่                 ่
                เช่ น พรหมวิหารสี่ อริยสั จสี่ อิทธิบาทสี่ เบญจศีล เบญจ
                ธรรม พรหมวิหาร 4 คือ
                เมตตา ต้ องการให้ คนอืนมีสุข
                                          ่
                กรุณา มีความสงสารคนอืน        ่
                มุทตา มีความยินดีต่อคนอืน
                     ิ                          ่
                อุเบกขา วางตัวเป็ นกลางเพือความเทียงธรรม
                                                  ่   ่
                อริยสั จ 4 ได้ แก่ ทุกข์ สมุหทัย นิโรจน์ มรรค
                อิทธิบาท 4 ได้ แก่ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา
                ส่ วนเบญจศีลเบญจธรรมทุกท่ านต้ องจาและปฏิบตได้     ั ิ
     2/4/2013                  copyright www.brainybetty.com         34
                                 2006 All Rights Reserved
18 คาว่ าวิชาชีพทางการศึกษา(Education Profession)
                 ต่ างจากอาชีพ (Career)

     อาชีพ (Career) ไม่ เป็ นอาชีพควบคุมทุกคนสามารถ
ประกอบอาชีพได้ แต่ วชาชีพเป็ นอาชีพควบคุม ต้ องประกอบ
                        ิ
อาชีพภายใต้ บงคับแห่ งข้ อจากัดและเงือนไขของคุรุสภา ดังนี้
                 ั                   ่
        1. ได้ รับใบอนุญาตให้ ประกอบอาชีพ
        2. ต้ องประพฤติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ
        3. กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ และบุคลอืน ่
มีสิทธิกล่ าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพที่ประพฤติผดจรรยาบรรณได้
                                            ิ
2/4/2013            copyright www.brainybetty.com       35
                      2006 All Rights Reserved
19            วิชาชีพทางการศึกษายังมีความจาเป็ น มีความสาคัญ
      ต่ อสั งคม และความเจริญก้ าวหน้ าของประเทศ ดังนี้
       1. สร้ างพลเมืองดีของประเทศ โดยการให้ การศึกษาขั้น
พืนฐานทีจะทาให้ ประชาชนเป็ นพลเมืองดีตามทีประเทศต้ องการ
  ้       ่                                    ่
       2. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพือสนองตอบการพัฒนา
                                     ่
เศรษฐกิจและสั งคมของประเทศ
       3. สื บทอดวัฒนธรรมและประเพณีอนดีงาม ั
ของชาติ จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่ คนอีกรุ่นหนึ่ง ให้
มีการรักษาความเป็ นชาติไว้ อย่ างมันคงตลอดไป
                                   ่
  2/4/2013              copyright www.brainybetty.com      36
                          2006 All Rights Reserved
20 พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
     มาตรา 49 กาหนดให้ มีมาตรฐานวิชาชีพ 3 ด้ าน ประกอบด้ วย

            1. มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์ วชาชีพ
                                               ิ
            2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน
            3. มาตรฐานการปฏิบัติตน
                 3.1 จรรยาบรรณต่ อตนเอง
                 3.2 จรรยาบรรณต่ อวิชาชีพ
                 3.3 จรรยาบรรณต่ อผู้รับบริการ
                 3.4 จรรยาบรรณต่ อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
                 3.5 จรรยาบรรณต่ อสั งคม
 2/4/2013                  copyright www.brainybetty.com      37
                             2006 All Rights Reserved
21
        การศึกษา หมายความว่ า กระบวนการเรียนรู้
เพือความเจริญงอกงามของบุคคลและสั งคมโดยการ
    ่
ถ่ ายทอดความรู้ การฝึ ก การอบรม การสื บสานทาง
วัฒนธรรม การสร้ างสรรค์ จรรโลง ความก้ าวหน้ าทาง
วิชาการ การสร้ างองค์ ความรู้ อนเกิดจากการจัด
                               ั
สภาพแวดล้ อม สั งคมการเรียนรู้ และปัจจัยเกือหนุนให้
                                            ้
บุคคลเรียนรู้ และปัจจัยเกือหนุนให้ บุคคลเรียนรู้ อย่ าง
                          ้
ต่ อเนื่องตลอดชีวต
                 ิ
 2/4/2013           copyright www.brainybetty.com     38
                      2006 All Rights Reserved
22
      ปรัชญาการศึกษา คือความเชื่ออันเป็ นพืนฐาน
                                            ้
      เกียวกับการศึกษา เช่ นการศึกษาคือความเจริญงอก
          ่
      งาม (Educational growth) ทั้งด้ านร่ างกาย
      (Physical Growth) ด้ านสติปัญญา (Intellectual
      Growth) ด้ านอารมณ์ (Emotional Growth) และ
      ด้ านสั งคม (Social Growth)

 2/4/2013          copyright www.brainybetty.com   39
                     2006 All Rights Reserved
23
                 หลักการจัดการศึกษา

     1. เป็ นการศึกษาตลอดชีวตสาหรับประชาชน
                              ิ
     2. สั งคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา
     3. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ อย่ าง
ต่ อเนื่อง

 2/4/2013          copyright www.brainybetty.com   40
                     2006 All Rights Reserved
24
      วิถีชีวตแบบพุทธและวิถีชีวตแบบประชาธิปไตย
             ิ                 ิ
(Democratic ways of life) มีหลักการเหมือนกัน
ยึดหลักดังนี้ 1. คารวธรรม (Respect for individual)
2. สามัคคีธรรม (Sharing, Cooperating, Participating)
3. ปัญญาธรรม (Scientific Methods, Intelligent
Methods) หมายความว่ าทั้งสั งคมพุทธ และสั งคมแบบ
ประชาธิปไตย คนในสั งคมต้ องยึดหลัก 3 ประการในการ
ดารงชีวต จึงจะมีวถีชีวตแบบพุทธหรือแบบประชาธิปไตย
        ิ           ิ ิ
2/4/2013          copyright www.brainybetty.com        41
                    2006 All Rights Reserved
25
        ผู้บริหารกับผู้นาเหมือนกันหรือแตกต่ างกัน : ต่ างกันผู้บริหาร
เป็ นบุคคลที่มีอานาจหน้ าที่ตามระเบียบขององค์ กร มีหน้ าที่วางแผน
(Planning) จัดองค์ กร (Organizing) จัดบุคลากรเข้ าทางาน
(Staffing) การอานวยการ (Directing) การประสานงาน
(Coordinating) การเสนอรายงาน (Roorting) และ
การจัดงบประมาณ (Budgeting) ตาม Luther Gulick และ
Henri Urwick ให้ ไว้ (POSDCORB) แต่ ผ้ ูนาเป็ นบุคคลใดก็ได้
ที่มีอานาจบารมีที่สามารถนาคนอืนได้ อาจจะได้ รับมอบหมาย
                                    ่
จากหมู่คณะหรือได้ รับความไว้ วางใจให้ เป็ นผู้นา แต่ ผ้ ูบริหารที่มีภาวะ
ผู้นาก็สามารถเป็ นผู้นาได้ เช่ นกัน
2/4/2013                 copyright www.brainybetty.com               42
                           2006 All Rights Reserved
26


 “ คำว่ำพอ คนเรำถ ้ำพอใจควำมต ้องกำร
มันก็มควำมโลภน ้อย เมือมีควำมโลภน ้อยก็
      ี               ่
เบียดเบียนคนอืนน ้อย พอเพียง อำจมีมำก
              ่
อำจมีของหรูหรำก็ได ้ แต่วำต ้องไม่ไป
                         ่
เบียดเบียนคนอืน ”
                ่

                    พระรำชดำรัสพระรำชทำนในโอกำสที่
                                                     ั
                คณะบุคคลต่ำงๆ เข ้ำเฝ้ ำถวำยพระพรชยมงคล
                    ในวโรกำสเฉลิมพระชนมพรรษำ
     2/4/2013                วันที่ 5 ธันวำคม 2541
                       copyright www.brainybetty.com   43
                         2006 All Rights Reserved
27              คุณลักษณะ 10 ประการ
                ของมหาบัณฑิตราชธานี
 1.      ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 2.      ยึดหลักปรัชญาความรู้คู่คุณธรรม
 3.      ยึดหลักการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล
 4.      ยึดกฎและข้ อบังคับของคุรุสภา
 5.      มีความรู้รัฐธรรมนูญและกฎหมาย
         เกียวกับการศึกษาอย่ างแตกฉาน
            ่
     2/4/2013       copyright www.brainybetty.com
                      2006 All Rights Reserved
                                                    44
6. มีวสัยทัศน์ วิสัยคน และวิสัยแพ้
               ิ
27.1



       7. มีความรู้ และทักษะการบริหารการศึกษาทั้ง
          ด้ านทฤษฎี ด้ านมนุษย์ และด้ านเทคนิค
       8. มีความรู้ ความสามารถในการวิจยและ      ั
          การพัฒนา
       9. มีความรู้ ความสามารถในการจัดการความรู้
       10. เป็ นผู้ใฝ่ สู ง ใฝ่ งาน ใฝ่ เรียน และมีความสุ ข
           ในการดารงชีวต        ิ
   2/4/2013             copyright www.brainybetty.com    45
                          2006 All Rights Reserved
28


                      Change
                We can believe in.
                  Barak Obama
                 Hillary Clinton
                    (Democrat)
                  John MCCAIN
     2/4/2013
                   (Republican)
                    copyright www.brainybetty.com   46
                      2006 All Rights Reserved
29

      Graduate Student always think that there
       are two rules to finish their studies.
       (It’ s kind of a joke)
      The first rule is the supervisor
       always right ; in the case of doubt
       that supervisor may be wrong see
       first rule
     2/4/2013      copyright www.brainybetty.com   47
                     2006 All Rights Reserved
30

     A man is not born in the
      possession of knowledge.
     A man should learn to sail all
      winds.
                   หนักเอา เบาสู้
                  ปัญหามีไว้ ให้ แก้
     2/4/2013
                    ไม่ ใช่ ให้ กลุ้ม
                copyright www.brainybetty.com   48
                  2006 All Rights Reserved
31




                A bad workman
                     always

                blames his tools.

“ รำไม่ดโทษปี่ โทษกลอง”
        ี
     2/4/2013        copyright www.brainybetty.com   49
                       2006 All Rights Reserved
32


A close mouth catches no flies.
         พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง
           (It’ s up to situations :
                   - Time
                   - Place
                   - Climate
                   - Audience etc.)

     2/4/2013    copyright www.brainybetty.com   50
                   2006 All Rights Reserved
33



         A fool laughs, when others laugh.
                คนโง่มกทำตำมคนผูอื่น
                      ั         ้
                (อย่ำได้เตรียมลอกคนอื่น / อย่ำได้ต้ งใจเตรียมทุจริต
                                                    ั
                   ในกำรสอบ เพรำะอำจโดนถูกถำมในกำรสอบ
        Oral Examinations ว่ำ เขียนตอบ Comprehensive written Ex. ว่ำ
                                   อะไรบ้ำง )


     2/4/2013                 copyright www.brainybetty.com           51
                                2006 All Rights Reserved
34




                  A man without
                      money
                is a bow without
                    an arrow
                คนทีไม่ มเี งินก็เหมือนคันธนูทไม่ มศร
                    ่                            ี่ ี
                  “มีเงินเขาจังนับเป็ นพีเ่ ป็ นลุงป้ า
                                  ่
     2/4/2013
                               จั่งว่ าหลาน”
                           copyright www.brainybetty.com
                             2006 All Rights Reserved
                                                           52
A good wife and
35




 health are a man’ s
      best Wealth.

                 A good wife
                makes a good
     2/4/2013
                  husband.
                   copyright www.brainybetty.com
                     2006 All Rights Reserved
                                                   53
36



     องค์ ประกอบการจะมีอจฉริยภาพสู งสุ ด
                        ั

           วัดกันด้ วยจานวน 8Qs

       การพัฒนาอัจฉริยภาพด้ วย 8Qs
              ประกอบด้ วย
36.1-2




     IQ = Intelligence Quotient      เชำวน์ปัญญำ

     EQ = Emotional Quotient      เชำวน์อำรมณ์
36.2-4




    MQ = Moral Quotient           เชาวน์ จริยธรรม

    MQ = Management Quotient เชาวน์ การบริหารจัดการ
36.3-7




         HQ = Health Quotient         เชาวน์ สุขภาพ

         AQ = Adversity Quotient    เชาวน์ ความอึด

         RQ = Resilience Quotient   เชาวน์ พลังจิต
36.8




       SQ = Spiritual Quotient เชาวน์ อจฉริยภาพ
                                       ั
37


     อัจฉริยภำพ (Genius)= ภำวะควำมฉลำดเกินปกติ
         ควำมสำมำรถพิเศษ ควำมหลักแหลม


              IQ = อายุสมอง x 100
                         อายุจริง
38


     อัจฉริยภำพ (Genius)= ภำวะควำมฉลำดเกินปกติ
         ควำมสำมำรถพิเศษ ควำมหลักแหลม


             EQ = อายุอารมณ์ x 100
                         อายุจริง
39


     อัจฉริยภำพ (Genius)= ภำวะควำมฉลำดเกินปกติ
         ควำมสำมำรถพิเศษ ควำมหลักแหลม


             AQ = อายุความอึด x 100
                         อายุจริง
40


     อัจฉริยภำพ (Genius)= ภำวะควำมฉลำดเกินปกติ
         ควำมสำมำรถพิเศษ ควำมหลักแหลม


            MQ = อายุจริยธรรม x 100
                         อายุจริง
41
             องค์ประกอบอัจฉริยะเพือกำรทำงำน
                                  ่
                องค์ประกอบของควำมสำเร็จ


     ตอนรับ
     เข้ าทางานดู IQ

                       IQ 20 %

                                           ตอนให้ ออกจาก
                                 EQ 80 %
                                           งานเพราะขาด EQ
42


      บทบาทของ IQ และ EQ ต่ อกิจกรรมต่ างๆ ของชีวต
                                                 ิ

         ความสาเร็จในด้ านต่ างๆ   ปัจจัยที่มีบทบาทสาคัญ
     แก้ปัญหาเฉพาะทาง                      IQ
     การทางาน                            IQ + EQ
     การปรับตัว                            EQ
     การครองคน                             EQ
     ชีวตคู่
        ิ                                  EQ
43
               บุคคลสามประเภทกับระดับความต้ องการ


                               Self
                           Actualization
     Climber                                   พวกช่ำงปน
                                                       ี
                             Esteem


                           Social Need              พวกตังค่ำย
                                                         ้
     Camper
                             Safety
     Quitter                                          พวกขี้แพ้
                           Basic Need
44
             ถ้ำข้อสอบออกแนวนี้ ท่ำนจะตอบได้หรือไม่
          “ สมมุติว่ำท่ำนได้รบเชิญเปนวิทยำกรไปบรรยำย
                               ั     ็
               เรือง “ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงกับ
                  ่
                     กำรบริหำรจัดกำรกำรศึกษำไทย”
       ให้บ ุคลำกรทำงกำรศึกษำฟัง โดยใช้เวลำ 1.30 ชัวโมง
                                                    ่
                    โปรดเขียนคำบรรยำยอย่ำงละเอียด ”


         “สมมุติว่ำท่ำนได้รบเชิญเปนวิทยำกรไปบรรยำย เรือง
                           ั      ็                    ่
          สถำนภำพโรงเรียนนิติบ ุคคลที่มีกำรบริหำรจัดกำรโดย
     ใช้โรงเรียนเปนฐำนซึ่งต้องใช้หลักทฤษฎีกำรบริหำรหลำกหลำย
                  ็
           เปนหลักในกำรบริหำรจึงจะทำให้โรงเรียนมีค ุณภำพ
             ็
                     ได้มำตรฐำนตำมเปำหมำย ”
                                      ้
45




 1. งำนต้องตังใจทำเพรำะจะให้เกรดวิชำ 921503
                      ้
 พื้นฐำนกำรศึกษำ (Foundation of Education)
 การประเมินผลเพือตัดสิ นผล:
                    ่
 เวลาเรียน เข้ าเรียนตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 50 คะแนน
 สอบถามจากชุมชน ทีท่านทางาน ครอบครัว 20 คะแนน
                        ่
 สอบถามจากอาจารย์ ผ้ ูสอน มธร. 10 คะแนน
 ออกข้ อสอบอัตนัย 20 คะแนน (อาจารย์ ตรวจ 3 คน)
2. ให้แต่ละคนเข้ำเยียมเว็บเพจ รศ.ดร.จร ูญ ค ูณมี
                       ่
โดยเข้ำที่ Google แล้ว ค้นหำคำว่ำ “รศ.ดร.จร ูญ ค ูณมี”
แล้วคลิกเข้ำคำว่ำ “
ยินดีตอนรับสู่เว็ปไซน์ของ รองศาสตราจารย์ดร.จรู ญ คูณมี “
      ้
หรือ เข้ำที่ www.charoonkoonmee.com
แล้ว comment บทควำมที่ท่ำนสนใจอ่ำน
พร้อมลงชื่อ-นำมสก ุล รน รหัสประจำคัวนักศึกษำ ด้วย
                           ุ่
ถ้ำเข้ำเรียนบ้ำง และเข้ำเยียมเพจคร ู ผ่ำนท ุกคน โชคดี
                              ่



2/4/2013            copyright www.brainybetty.com          68
                      2006 All Rights Reserved

More Related Content

Similar to หลักพื้นฐานการศึกษาคลิ๊กดูรายละเอียดได้

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงWitayanun Sittisomboon
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNan NaJa
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ 5 ขวบ
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ   5 ขวบตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ   5 ขวบ
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ 5 ขวบkrusupap
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดโครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดKruthai Kidsdee
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404gam030
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5nattawad147
 

Similar to หลักพื้นฐานการศึกษาคลิ๊กดูรายละเอียดได้ (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Vass iry wed83254
Vass iry wed83254Vass iry wed83254
Vass iry wed83254
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
 
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ 5 ขวบ
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ   5 ขวบตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ   5 ขวบ
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ 5 ขวบ
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดโครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 

More from ออร์คิด คุง

การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์ออร์คิด คุง
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์ออร์คิด คุง
 
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401ออร์คิด คุง
 
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401ออร์คิด คุง
 
หลักพื้นฐานการศึกษา
หลักพื้นฐานการศึกษาหลักพื้นฐานการศึกษา
หลักพื้นฐานการศึกษาออร์คิด คุง
 
หลักพื้นฐานการศึกษาทดสอบบางส่วน
หลักพื้นฐานการศึกษาทดสอบบางส่วนหลักพื้นฐานการศึกษาทดสอบบางส่วน
หลักพื้นฐานการศึกษาทดสอบบางส่วนออร์คิด คุง
 
หลักพื้นฐานการศึกษา
หลักพื้นฐานการศึกษาหลักพื้นฐานการศึกษา
หลักพื้นฐานการศึกษาออร์คิด คุง
 

More from ออร์คิด คุง (7)

การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
 
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
 
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
 
หลักพื้นฐานการศึกษา
หลักพื้นฐานการศึกษาหลักพื้นฐานการศึกษา
หลักพื้นฐานการศึกษา
 
หลักพื้นฐานการศึกษาทดสอบบางส่วน
หลักพื้นฐานการศึกษาทดสอบบางส่วนหลักพื้นฐานการศึกษาทดสอบบางส่วน
หลักพื้นฐานการศึกษาทดสอบบางส่วน
 
หลักพื้นฐานการศึกษา
หลักพื้นฐานการศึกษาหลักพื้นฐานการศึกษา
หลักพื้นฐานการศึกษา
 

หลักพื้นฐานการศึกษาคลิ๊กดูรายละเอียดได้

  • 1. วันเสาร์ ที่ 2 มีนาคม 2556
  • 2. 1 ภาพฝันสั งคมไทยในอนาคต * เป็ นสั งคมวิถพทธ มีหลัก 3 ประการ ี ุ - คารวธรรม (Repect for Individual) - สามัคคีธรรม (Unity, Co-Operation) - ปัญญาธรรม (Intelligent method or Scientific method) 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 2 2006 All Rights Reserved
  • 3. 2 สั งคมที่ยดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ึ ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวเองดี ้ เงื่อนไขความรู้ เงือนไขคุณธรรม ่ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) (ซื่อสั ตย์ สุจริต ขยันอดทน สติปัญญา แบ่ งปัน) นาสู่ ชีวต/เศรษฐกิจ/สั งคม/สิ่ งแวดล้ อม ิ 2/4/2013 copyrightสมดุล/มั่นคง/ยังยืน ่ www.brainybetty.com 3 2006 All Rights Reserved
  • 4. 2.1 หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาทีต้งอยู่ ่ ั บนพืนฐานของทางสายกลางและไม่ ประมาท โดยคานึงถึง ้ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้ างภูมคุ้มกันทีดี ิ ่ ในตัว ตลอดจนใช้ ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผนการตัดสิ นใจและการกระทา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2/4/2013 มีหลักพิจารณาอยู่ด้วยกัน ๕ ส่ วน ดังนี้ copyright www.brainybetty.com 4 2006 All Rights Reserved
  • 5. 2.1.1 1. กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทาง การดารงอยู่และปฏิบตตนในทางทีควรจะเป็ น โดยมี ั ิ ่ พืนฐานมาจากวิถีชีวตดั้งเดิมของสั งคมไทยสามารถนามา ้ ิ ประยุกต์ ใช้ ได้ ตลอดเวลา มุ่งเน้ นการรอดพ้ นจากภัยและ วิกฤต เพือความมั่นคงและยังยืนของการพัฒนา ่ ่ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 5 2006 All Rights Reserved
  • 6. 2.1.2 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามา ประยุกต์ ใช้ กบการปฏิบติตนได้ ในทุกระดับ โดยเน้ น ั ั การปฏิบัติบนทางสายกลางและการพัฒนาอย่ างเป็ น ขั้นตอน 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 6 2006 All Rights Reserved
  • 7. 2.1.3 3. คานิยาม ความพอเพียงจะต้ องประกอบด้ วย 3 คุณลักษณะ พร้ อมๆกันดังนี้ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 7 2006 All Rights Reserved
  • 8. 2.1.3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่ น้อย เกินไป และ ไม่ มากเกินไปโดยไม่ เบียดเบียนตนเอง และผู้อน เช่ น การผลิตและการบริโภคทีอยู่ในระดับ ื่ ่ พอประมาณ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 8 2006 All Rights Reserved
  • 9. 2.1.3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกียวกับระดับ ่ ของความพอเพียงนั้น จะต้ องเป็ นไปอย่ างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยทีเ่ กียวข้ องตลอดจน ่ คานึงถึงผลทีคาดว่ าจะเกิดขึนจากการกระทานั้นๆ ่ ้ อย่ างรอบคอบ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 9 2006 All Rights Reserved
  • 10. 2.1.3.3 การมีภูมคุ้มกันทีดในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้ ิ ่ ี พร้ อมรับผลกระทบและการเปลียนแปลงด้ านต่ างๆ ทีเ่ กิดขึน ่ ้ โดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ ของสถานการณ์ ต่างๆ ทีคาดว่ า ่ จะเกิดขึนในอนาคตทั้งใกล้ และไกล ้ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 10 2006 All Rights Reserved
  • 11. 3 สั งคมพหุคูณ (Multi – Culture Society) สั งคมในอนาคตเป็ นสั งคมที่มีวฒนธรรม ั พหุคูณเพราะโลกไร้ พรมแดน เกิดรัฐเครือข่ าย มี การค้ าเสรี มีกติกาโลก กากับโดย UN [United Nations] เป้ าหมายของชาวโลก คือ One World one dream 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 11 2006 All Rights Reserved
  • 12. 4 สั งคมฐานความรู้ = Knowledge – based Society - ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ยึดหลักวิทยาศาสตร์ /ไม่ เชื่อสิ่ งงมงาย - ยึดหลักปัญญาธรรมในการตัดสิ นใจ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 12 2006 All Rights Reserved
  • 13. 5 สั งคมฐานความรู้ คู่คุณธรรม Wisdom Compatible with Ethics * ยึดมันในคุณธรรมนาความรู้ ่ * ยึดมั่นในหลักศาสนา * ยึดมั่นในความสมานฉันท์ และเอืออาทร ้ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 13 2006 All Rights Reserved
  • 14. 6 คุณลักษณะคนไทยทีพงประสงค์ ่ ึ สรุปจาก ๘ ประการ คือ “เป็ นคนดี คนเก่ ง คนมี ความสุ ข” คนเก่ ง มีความรู้ ถงขั้นปัญญาธรรม ึ คนดี มีคุณธรรม จริยธรรม คนมีความสุ ข ร่ างกายแข็งแรง จิตใจเบิกบาน 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 14 2006 All Rights Reserved
  • 15. 7 การศึกษาของประเทศไทย 1. ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาการศึกษา 2. เป็ นการศึกษาตลอดชีวต (lifelong Education) ิ 3. เป็ นโรงเรียนฐานสมอง (Brain – based School) 4. เป็ นการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย 5. การจัดและประเมินผลเน้ นการพัฒนาปรับปรุงมากกว่ า การตัดสิ นผล ได้ – ตก 6. เป็ นการศึกษาทีประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอก 2/4/2013 ่ copyright www.brainybetty.com 15 2006 All Rights Reserved
  • 16. 8 โครงสร้ างระบบการบริหารการศึกษา * จากกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรพุทธศักราช ทั้ง 2540,2550 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 เน้ นเรื่องการกระจายอานาจ ่ จากส่ วนกลางสู่ สถานศึกษา โดยให้ โรงเรียนมีสถานภาพเป็ นนิติบุคคล กรรมการสถานศึกษามีบทบาท และอานาจบริหารจัดการโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน (School – based Management) 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 16 2006 All Rights Reserved
  • 17. 9 หลักพืนฐานของการของการบริหารจัดการโดยใช้ ฐาน ้ โรงเรียน (School – based Management) 1.หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) 2.หลักการบริหารตนเอง (Self – Management) 3.หลักการแบบมีส่วนร่ วม (Participatory Management) 4.หลักการพัฒนาทั้งระบบโรงเรียน (Whole School Approach) 5.หลักการรับผิดชอบและตรวจสอบได้ (Accountability) 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 17 2006 All Rights Reserved
  • 18. 10 องค์ ประกอบที่ทาให้ SBM ประสบผลสาเร็จ 1. มีการเพิมอานาจ (Empowerment) ่ 2. สร้ างความรู้ สึกเป็ นเจ้ าของ (Ownership) 3. พันธกิจต้ องชัดเจน 4. มุมมองเกียวกับมนุษย์ แบบทฤษฎี Y ่ 5. ยึดทฤษฎีระบบ 6. สร้ างโรงเรียนให้ เป็ นโรงเรียนคุณภาพ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 18 2006 All Rights Reserved
  • 19. 11 ‘ สั ตตศิลา’ หลักบริหารจัดการศึกษา 7 ประการ หลักที่ 1 : คุณลักษณะบุคคลทีพงประสงค์ (4 ร) ่ ึ หลักที่ 2 : หลักสู ตรเสริมสร้ างศักยภาพของผู้เรียน(4F) หลักที่ 3 : รู ปแบบการเรียนการสอนแบบ CRP หลักที่ 4 : การเสริมสร้ างโอกาสการเรียนรู้ ( 3 M) 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 19 2006 All Rights Reserved
  • 20. 11 ต่ อ หลักที่ 5 : การเสริมสร้ างการรู้ สารสนเทศ (NET) หลักที่ 6 : การบริหารจัดการศึกษาแบบบูรณาการ สาหรับเขตพืนที่การศึกษาและสถานศึกษา (iEMS) ้ หลักที่ 7 : แนวทางการจัดการศึกษาเพือเข้ าสู่ ยุคสั งคม ่ ฐานความรู้ (Knowledge-Based Society) 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 20 2006 All Rights Reserved
  • 21. 11.1 คุณลักษณะบุคคลทีพงประสงค์ 4 ร ่ ึ 11.1.1 รทนรนำโลก ู้ ั ู้ (Smart Consumer) 11.1.2 เรียนรชำนำญ เชี่ยวชำญปฏิบติ ู้ ั Breakthrough Thinker) 11.1.3 รวมพลังสร้ำงสรรค์สงคม ั (Social Concern) 11.1.4 รักษ์วฒนธรรมไทย ใฝสันติ ั ่ (Thai Pride) 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 21 2006 All Rights Reserved
  • 22. 11.2 หลักสูตรเสริมสร้ำงศักยภำพของผูเ้ รียน 4 F Fulfillment Focus Find Find Fun Fun Fun ระดับการศึกษา ป.1 2/4/2013 ป. 3 – 4 ป. 5 – 6 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved ม. 1 – 6 22
  • 23. 11.3 CRP (C = ตกผลึก R = วิจัย P = ชิ้นงาน) 11.3.1 การเรียนรู้ แบบกากับตนเอง (Self – Regulated Learning - SRL) 11.3.2 การเรียนรู้ แบบนาตนเอง (Seft – Directed Learning) 11.3.3 การเรียนรู้ ตามสถานการณ์ จริง (Situated Learning) 11.3.4 การเรียนรู้ แบบร่ วมมือ (Co – operative Learning) 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 23 2006 All Rights Reserved
  • 24. 11.3 11.3.5 การเรียนรู้ แบบร่ วมแรงรวมพลัง (Collaborative LEARNING) 11.3.6 การเรียนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นพืนฐาน ้ (Problem – Based Learning - PBL) 11.3.7 การเรียนรู้ แบบใช้ วจัยเป็ นฐาน ิ (Research – Based Learning - REL) 11.3.8 การเรียนรู้ แบบโครงงาน (Project – Based Learning) 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 24 2006 All Rights Reserved
  • 25. 11.4 หลักที่ 4: การเสริมสร้ างโอกาสการเรียนรู้ (3 M) การสร้ างโอกาสการเรียนรู้ มหลักง่ ายๆ ทีเ่ รียกว่ า ี 3 M ซึ่งเป็ นตัวย่ อมาจากคาว่ า Moral Supporter ( ผู้ให้ กาลังใจ) Monitor (ผู้ กากับติดตาม) Mentor (ผู้ เป็ นพีเ่ ลียง) ้ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 25 2006 All Rights Reserved
  • 26. 11.5 หลักที่ 5 : การเสริมสร้ างการรู้ สารสนเทศ (NET) หลักการ “NET” เพือเสริมสร้ างความรู้ สานสนเทศ ่ 1. Networking (N) ได้ แก่เครือข่ ายการเรียนรู้ระหว่ างบุคคล และองค์ กร 2.Edutianment (E) ได้ แก่กจกรรมการเรียนรู้หลายรูปแบบที่ ิ ประกอบด้ วย Learn + Do + Pleasure หมายถึงสาระบันเทิง 3. Tailor – made (T) ได้ การจัดรูปแบบการเสริมสร้ างความรู้ สารสนเทศให้ เหมาะกับบุคคลแต่ ละคน เพราะผู้เรียนแต่ ละคนมีความ แตกต่ างในตัวบุคคล 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 26 2006 All Rights Reserved
  • 27. 11.6 หลักที่ 6 การบริหารจัดการศึกษาแบบบูรณาการสาหรับเขต พืนทีการศึกษาและสถานศึกษา (iEMS) ้ ่ หมายถึง การบริหารจัดการศึกษาแบบบูรณาการ (Integrated Educational Management System, iEMS) การระดมทรัพยากร (Mobilization) กลยุทธ์ (Strategy) การมีส่วนร่ วม (Participation) 2/4/2013 ความเป็ นอิสระ (Autonomy) copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved 27
  • 28. 11.7 หลักที่ 7 : แนวทางการจัดการศึกษาเพือเข้ าสู่ ่ ยุคสั งคมฐานความรู้ (KBS) ทุกวันนีสังคมไทยอยู่ในภาวะของโลก ทีเ่ น้ นสั งคม ้ การเรียนรู้ (Knowledge – Based Society) เป็ นสาคัญ หมายถึง สั งคมทีมวถีชีวตของคนในสั งคมใช้ ความรู้ เป็ นฐาน ่ ีิ ิ ทั้งด้ านสั งคม การเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 28 2006 All Rights Reserved
  • 29. 12 หลักธรรมแห่ งความสาเร็จและ PDCA เป็ นกระบวนการทางานทีมคุณภาพ เรียกว่ าธรรมแห่ ง ่ ี ความสาเร็จ (อิทธิบาท 4 ) วงจรแห่ งคุณภาพของ เดมิง (Deming’s Quality Cycle) ่ Plan, Do, Check , Act คือ มีแผน ลงมือปฏิบัติ ตรวจสอบประเมินผล ทบทวนหาข้ อผิดพลาดข้ อดี เพือนาไปวางแผนใหม่ เป็ นวงจรเช่ นนีเ้ รื่อยไป ่ กระบวนการ PDCA ตรงกับ อิทธิบาทสี่ ของพระพุทธเจ้ า คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมงสา ั 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 29 2006 All Rights Reserved
  • 30. 13 แนวความคิดของ Henri Fayfol (เฮ็นรี่ ฟะโยล์ ) ไม่ ใช่ ทฤษฎี แต่ เป็ นกระบวนการ บริหารหรือกระบวนการทางานหรือหลักการบริหาร ทัวไป คือ To Plan, To Organize, ่ To Command, To Co – ordinate, To Control 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 30 2006 All Rights Reserved
  • 31. 14 แนวความคิดของ Luther H. Gulick and Lyndol Urwick ไม่ ใช่ ทฤษฏี แต่ เป็ นกระบวนการบริหาร มี 7 ประการ “POSDCoRB” Planning, Organizing, Staffing, Directing, Co- ordinating, Reporting, Budgeting 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 31 2006 All Rights Reserved
  • 32. 15 ทักษะที่จาเป็ นสาหรับผู้บริหาร 3 ทักษะ (Skill) คือ ความชานาญ มีความสามารถ มีสมรรถนะ สามารถ บริหารงานได้ ถูกต้ องแม่ นยา รวดเร็วและถูกต้ อง ได้ แก่ 1.conceptual skill หมายถึง ทักษะด้ านทฤษฎี หรือ ด้ าน มโนมติ หรือ มโนทัศน์ 2. ทักษะด้ านมนุษย์ (Human Skill) บางตาราเรียกว่าทักษะ ด้ านมนุษยสั มพันธ์ 3. ทักษะด้ านเทคนิค (Technical Skill) 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 32 2006 All Rights Reserved
  • 33. 16 การทางานอย่ างเป็ นระบบ (Systematic Approach) คือการทางานอย่ างเป็ นขั้นตอนและ ต่ อเนื่องจนบรรลุเปาหมาย แต่ ทฤษฎีระบบ ้ (System Theory) หมายถึงการทางานทีเ่ ป็ นขั้นตอน และต่ อเนื่องจนบรรลุเปาหมาย แต่ มรายละเอียดชัดเจน ้ ี และมีข้นตอนมากขึน คือ มีปัจจัยป้ อนหรือปัจจัยนาเข้ า ั ้ (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และ ผลย้ อนกลับ (Feedback) 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 33 2006 All Rights Reserved
  • 34. 17 นักศึกษามีความสั บสนเกียวกับหลักธรรมเกียวกับการบริหาร ่ ่ เช่ น พรหมวิหารสี่ อริยสั จสี่ อิทธิบาทสี่ เบญจศีล เบญจ ธรรม พรหมวิหาร 4 คือ เมตตา ต้ องการให้ คนอืนมีสุข ่ กรุณา มีความสงสารคนอืน ่ มุทตา มีความยินดีต่อคนอืน ิ ่ อุเบกขา วางตัวเป็ นกลางเพือความเทียงธรรม ่ ่ อริยสั จ 4 ได้ แก่ ทุกข์ สมุหทัย นิโรจน์ มรรค อิทธิบาท 4 ได้ แก่ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา ส่ วนเบญจศีลเบญจธรรมทุกท่ านต้ องจาและปฏิบตได้ ั ิ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 34 2006 All Rights Reserved
  • 35. 18 คาว่ าวิชาชีพทางการศึกษา(Education Profession) ต่ างจากอาชีพ (Career) อาชีพ (Career) ไม่ เป็ นอาชีพควบคุมทุกคนสามารถ ประกอบอาชีพได้ แต่ วชาชีพเป็ นอาชีพควบคุม ต้ องประกอบ ิ อาชีพภายใต้ บงคับแห่ งข้ อจากัดและเงือนไขของคุรุสภา ดังนี้ ั ่ 1. ได้ รับใบอนุญาตให้ ประกอบอาชีพ 2. ต้ องประพฤติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ 3. กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ และบุคลอืน ่ มีสิทธิกล่ าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพที่ประพฤติผดจรรยาบรรณได้ ิ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 35 2006 All Rights Reserved
  • 36. 19 วิชาชีพทางการศึกษายังมีความจาเป็ น มีความสาคัญ ต่ อสั งคม และความเจริญก้ าวหน้ าของประเทศ ดังนี้ 1. สร้ างพลเมืองดีของประเทศ โดยการให้ การศึกษาขั้น พืนฐานทีจะทาให้ ประชาชนเป็ นพลเมืองดีตามทีประเทศต้ องการ ้ ่ ่ 2. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพือสนองตอบการพัฒนา ่ เศรษฐกิจและสั งคมของประเทศ 3. สื บทอดวัฒนธรรมและประเพณีอนดีงาม ั ของชาติ จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่ คนอีกรุ่นหนึ่ง ให้ มีการรักษาความเป็ นชาติไว้ อย่ างมันคงตลอดไป ่ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 36 2006 All Rights Reserved
  • 37. 20 พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 49 กาหนดให้ มีมาตรฐานวิชาชีพ 3 ด้ าน ประกอบด้ วย 1. มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์ วชาชีพ ิ 2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน 3. มาตรฐานการปฏิบัติตน 3.1 จรรยาบรรณต่ อตนเอง 3.2 จรรยาบรรณต่ อวิชาชีพ 3.3 จรรยาบรรณต่ อผู้รับบริการ 3.4 จรรยาบรรณต่ อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ 3.5 จรรยาบรรณต่ อสั งคม 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 37 2006 All Rights Reserved
  • 38. 21 การศึกษา หมายความว่ า กระบวนการเรียนรู้ เพือความเจริญงอกงามของบุคคลและสั งคมโดยการ ่ ถ่ ายทอดความรู้ การฝึ ก การอบรม การสื บสานทาง วัฒนธรรม การสร้ างสรรค์ จรรโลง ความก้ าวหน้ าทาง วิชาการ การสร้ างองค์ ความรู้ อนเกิดจากการจัด ั สภาพแวดล้ อม สั งคมการเรียนรู้ และปัจจัยเกือหนุนให้ ้ บุคคลเรียนรู้ และปัจจัยเกือหนุนให้ บุคคลเรียนรู้ อย่ าง ้ ต่ อเนื่องตลอดชีวต ิ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 38 2006 All Rights Reserved
  • 39. 22 ปรัชญาการศึกษา คือความเชื่ออันเป็ นพืนฐาน ้ เกียวกับการศึกษา เช่ นการศึกษาคือความเจริญงอก ่ งาม (Educational growth) ทั้งด้ านร่ างกาย (Physical Growth) ด้ านสติปัญญา (Intellectual Growth) ด้ านอารมณ์ (Emotional Growth) และ ด้ านสั งคม (Social Growth) 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 39 2006 All Rights Reserved
  • 40. 23 หลักการจัดการศึกษา 1. เป็ นการศึกษาตลอดชีวตสาหรับประชาชน ิ 2. สั งคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา 3. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ อย่ าง ต่ อเนื่อง 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 40 2006 All Rights Reserved
  • 41. 24 วิถีชีวตแบบพุทธและวิถีชีวตแบบประชาธิปไตย ิ ิ (Democratic ways of life) มีหลักการเหมือนกัน ยึดหลักดังนี้ 1. คารวธรรม (Respect for individual) 2. สามัคคีธรรม (Sharing, Cooperating, Participating) 3. ปัญญาธรรม (Scientific Methods, Intelligent Methods) หมายความว่ าทั้งสั งคมพุทธ และสั งคมแบบ ประชาธิปไตย คนในสั งคมต้ องยึดหลัก 3 ประการในการ ดารงชีวต จึงจะมีวถีชีวตแบบพุทธหรือแบบประชาธิปไตย ิ ิ ิ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 41 2006 All Rights Reserved
  • 42. 25 ผู้บริหารกับผู้นาเหมือนกันหรือแตกต่ างกัน : ต่ างกันผู้บริหาร เป็ นบุคคลที่มีอานาจหน้ าที่ตามระเบียบขององค์ กร มีหน้ าที่วางแผน (Planning) จัดองค์ กร (Organizing) จัดบุคลากรเข้ าทางาน (Staffing) การอานวยการ (Directing) การประสานงาน (Coordinating) การเสนอรายงาน (Roorting) และ การจัดงบประมาณ (Budgeting) ตาม Luther Gulick และ Henri Urwick ให้ ไว้ (POSDCORB) แต่ ผ้ ูนาเป็ นบุคคลใดก็ได้ ที่มีอานาจบารมีที่สามารถนาคนอืนได้ อาจจะได้ รับมอบหมาย ่ จากหมู่คณะหรือได้ รับความไว้ วางใจให้ เป็ นผู้นา แต่ ผ้ ูบริหารที่มีภาวะ ผู้นาก็สามารถเป็ นผู้นาได้ เช่ นกัน 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 42 2006 All Rights Reserved
  • 43. 26 “ คำว่ำพอ คนเรำถ ้ำพอใจควำมต ้องกำร มันก็มควำมโลภน ้อย เมือมีควำมโลภน ้อยก็ ี ่ เบียดเบียนคนอืนน ้อย พอเพียง อำจมีมำก ่ อำจมีของหรูหรำก็ได ้ แต่วำต ้องไม่ไป ่ เบียดเบียนคนอืน ” ่ พระรำชดำรัสพระรำชทำนในโอกำสที่ ั คณะบุคคลต่ำงๆ เข ้ำเฝ้ ำถวำยพระพรชยมงคล ในวโรกำสเฉลิมพระชนมพรรษำ 2/4/2013 วันที่ 5 ธันวำคม 2541 copyright www.brainybetty.com 43 2006 All Rights Reserved
  • 44. 27 คุณลักษณะ 10 ประการ ของมหาบัณฑิตราชธานี 1. ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. ยึดหลักปรัชญาความรู้คู่คุณธรรม 3. ยึดหลักการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล 4. ยึดกฎและข้ อบังคับของคุรุสภา 5. มีความรู้รัฐธรรมนูญและกฎหมาย เกียวกับการศึกษาอย่ างแตกฉาน ่ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved 44
  • 45. 6. มีวสัยทัศน์ วิสัยคน และวิสัยแพ้ ิ 27.1 7. มีความรู้ และทักษะการบริหารการศึกษาทั้ง ด้ านทฤษฎี ด้ านมนุษย์ และด้ านเทคนิค 8. มีความรู้ ความสามารถในการวิจยและ ั การพัฒนา 9. มีความรู้ ความสามารถในการจัดการความรู้ 10. เป็ นผู้ใฝ่ สู ง ใฝ่ งาน ใฝ่ เรียน และมีความสุ ข ในการดารงชีวต ิ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 45 2006 All Rights Reserved
  • 46. 28 Change We can believe in. Barak Obama Hillary Clinton (Democrat) John MCCAIN 2/4/2013 (Republican) copyright www.brainybetty.com 46 2006 All Rights Reserved
  • 47. 29 Graduate Student always think that there are two rules to finish their studies. (It’ s kind of a joke) The first rule is the supervisor always right ; in the case of doubt that supervisor may be wrong see first rule 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 47 2006 All Rights Reserved
  • 48. 30 A man is not born in the possession of knowledge. A man should learn to sail all winds. หนักเอา เบาสู้ ปัญหามีไว้ ให้ แก้ 2/4/2013 ไม่ ใช่ ให้ กลุ้ม copyright www.brainybetty.com 48 2006 All Rights Reserved
  • 49. 31 A bad workman always blames his tools. “ รำไม่ดโทษปี่ โทษกลอง” ี 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 49 2006 All Rights Reserved
  • 50. 32 A close mouth catches no flies. พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง (It’ s up to situations : - Time - Place - Climate - Audience etc.) 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 50 2006 All Rights Reserved
  • 51. 33 A fool laughs, when others laugh. คนโง่มกทำตำมคนผูอื่น ั ้ (อย่ำได้เตรียมลอกคนอื่น / อย่ำได้ต้ งใจเตรียมทุจริต ั ในกำรสอบ เพรำะอำจโดนถูกถำมในกำรสอบ Oral Examinations ว่ำ เขียนตอบ Comprehensive written Ex. ว่ำ อะไรบ้ำง ) 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 51 2006 All Rights Reserved
  • 52. 34 A man without money is a bow without an arrow คนทีไม่ มเี งินก็เหมือนคันธนูทไม่ มศร ่ ี่ ี “มีเงินเขาจังนับเป็ นพีเ่ ป็ นลุงป้ า ่ 2/4/2013 จั่งว่ าหลาน” copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved 52
  • 53. A good wife and 35 health are a man’ s best Wealth. A good wife makes a good 2/4/2013 husband. copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved 53
  • 54. 36 องค์ ประกอบการจะมีอจฉริยภาพสู งสุ ด ั วัดกันด้ วยจานวน 8Qs การพัฒนาอัจฉริยภาพด้ วย 8Qs ประกอบด้ วย
  • 55. 36.1-2 IQ = Intelligence Quotient เชำวน์ปัญญำ EQ = Emotional Quotient เชำวน์อำรมณ์
  • 56. 36.2-4 MQ = Moral Quotient เชาวน์ จริยธรรม MQ = Management Quotient เชาวน์ การบริหารจัดการ
  • 57. 36.3-7 HQ = Health Quotient เชาวน์ สุขภาพ AQ = Adversity Quotient เชาวน์ ความอึด RQ = Resilience Quotient เชาวน์ พลังจิต
  • 58. 36.8 SQ = Spiritual Quotient เชาวน์ อจฉริยภาพ ั
  • 59. 37 อัจฉริยภำพ (Genius)= ภำวะควำมฉลำดเกินปกติ ควำมสำมำรถพิเศษ ควำมหลักแหลม IQ = อายุสมอง x 100 อายุจริง
  • 60. 38 อัจฉริยภำพ (Genius)= ภำวะควำมฉลำดเกินปกติ ควำมสำมำรถพิเศษ ควำมหลักแหลม EQ = อายุอารมณ์ x 100 อายุจริง
  • 61. 39 อัจฉริยภำพ (Genius)= ภำวะควำมฉลำดเกินปกติ ควำมสำมำรถพิเศษ ควำมหลักแหลม AQ = อายุความอึด x 100 อายุจริง
  • 62. 40 อัจฉริยภำพ (Genius)= ภำวะควำมฉลำดเกินปกติ ควำมสำมำรถพิเศษ ควำมหลักแหลม MQ = อายุจริยธรรม x 100 อายุจริง
  • 63. 41 องค์ประกอบอัจฉริยะเพือกำรทำงำน ่ องค์ประกอบของควำมสำเร็จ ตอนรับ เข้ าทางานดู IQ IQ 20 % ตอนให้ ออกจาก EQ 80 % งานเพราะขาด EQ
  • 64. 42 บทบาทของ IQ และ EQ ต่ อกิจกรรมต่ างๆ ของชีวต ิ ความสาเร็จในด้ านต่ างๆ ปัจจัยที่มีบทบาทสาคัญ แก้ปัญหาเฉพาะทาง IQ การทางาน IQ + EQ การปรับตัว EQ การครองคน EQ ชีวตคู่ ิ EQ
  • 65. 43 บุคคลสามประเภทกับระดับความต้ องการ Self Actualization Climber พวกช่ำงปน ี Esteem Social Need พวกตังค่ำย ้ Camper Safety Quitter พวกขี้แพ้ Basic Need
  • 66. 44 ถ้ำข้อสอบออกแนวนี้ ท่ำนจะตอบได้หรือไม่ “ สมมุติว่ำท่ำนได้รบเชิญเปนวิทยำกรไปบรรยำย ั ็ เรือง “ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงกับ ่ กำรบริหำรจัดกำรกำรศึกษำไทย” ให้บ ุคลำกรทำงกำรศึกษำฟัง โดยใช้เวลำ 1.30 ชัวโมง ่ โปรดเขียนคำบรรยำยอย่ำงละเอียด ” “สมมุติว่ำท่ำนได้รบเชิญเปนวิทยำกรไปบรรยำย เรือง ั ็ ่ สถำนภำพโรงเรียนนิติบ ุคคลที่มีกำรบริหำรจัดกำรโดย ใช้โรงเรียนเปนฐำนซึ่งต้องใช้หลักทฤษฎีกำรบริหำรหลำกหลำย ็ เปนหลักในกำรบริหำรจึงจะทำให้โรงเรียนมีค ุณภำพ ็ ได้มำตรฐำนตำมเปำหมำย ” ้
  • 67. 45 1. งำนต้องตังใจทำเพรำะจะให้เกรดวิชำ 921503 ้ พื้นฐำนกำรศึกษำ (Foundation of Education) การประเมินผลเพือตัดสิ นผล: ่ เวลาเรียน เข้ าเรียนตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 50 คะแนน สอบถามจากชุมชน ทีท่านทางาน ครอบครัว 20 คะแนน ่ สอบถามจากอาจารย์ ผ้ ูสอน มธร. 10 คะแนน ออกข้ อสอบอัตนัย 20 คะแนน (อาจารย์ ตรวจ 3 คน)
  • 68. 2. ให้แต่ละคนเข้ำเยียมเว็บเพจ รศ.ดร.จร ูญ ค ูณมี ่ โดยเข้ำที่ Google แล้ว ค้นหำคำว่ำ “รศ.ดร.จร ูญ ค ูณมี” แล้วคลิกเข้ำคำว่ำ “ ยินดีตอนรับสู่เว็ปไซน์ของ รองศาสตราจารย์ดร.จรู ญ คูณมี “ ้ หรือ เข้ำที่ www.charoonkoonmee.com แล้ว comment บทควำมที่ท่ำนสนใจอ่ำน พร้อมลงชื่อ-นำมสก ุล รน รหัสประจำคัวนักศึกษำ ด้วย ุ่ ถ้ำเข้ำเรียนบ้ำง และเข้ำเยียมเพจคร ู ผ่ำนท ุกคน โชคดี ่ 2/4/2013 copyright www.brainybetty.com 68 2006 All Rights Reserved