SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ความเปนธรรมในสังคม
                                      มนุษยเปนสัตวทอยูเปนสังคม การที่อยูรวมกันก็ยอมมีการ
                                                      ี่                       
                                      ประพฤติปฏิบัติตอกันและกัน รวมทั้งมนุษยแตละคนยอม
                                      มีแนวปฏิบัติของตนเองวา จะกระทําอะไร อยางไร ดวย
                                      เหตุผลอะไร โดยธรรมชาติมนุษยมแนวโนมที่จะใฝหา
                                                                   ี
                                      ความสุข ความสบาย หลีกหนีความทุกขยาก ความลําบาก
และโดยธรรมชาติมนุษยอาจจะปฏิบัติตอผูอนอยางเลวรายหรืออยางเอารัดเอาเปรียบ หากวา
                                       ื่
ตนเองจะไดรับประโยชนหรือความสุขความสบายเปนเครื่องตอบแทนถาทุกคนปฏิบัติเชนนั้น
สังคมก็จะยุงเหยิงวุนวายที่สุดแลวก็คงไมมีใครที่จะอยูไดอยางสุขสงบ ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตอง
                    
มีกฎเกณฑรวมกัน การที่จะใหผอื่นเคารพสิทธิของตนเองและไมเบียดเบียนตนเอง ตนก็ตอง
                           ู                                               
เคารพสิทธิของผูอื่นและไมเบียดเบียนผูอื่น ตนเองอยากใหผูอนปฏิบัติตอตนเองอยางไร ก็ตอง
                                                        ื่
ปฏิบัติอยางนั้นตอผูอื่น
                     
ความยุติธรรมเปนแมแบบของแนวทางตางๆ เปนแนวทางในเกณฑการตัดสิน ซึ่งมีกฏหมายเปน
เครื่องมือในการทําหนาที่ ความยุติธรรมนั้นเปนเรืองที่ละเอียดเพราะการที่คนเราจะกําหนดวา
                                                 ่
อะไรคือความดี แลวความดีกับความชัวตางกันตรงไหนเปนเรืองที่ตองวิเคราะหกันอยางละเอียด
                                 ่                    ่
ความยุติธรรม คือ ยุติ และ ธรรม ตีความตามตัวอักษรไดวา เปนธรรมอันนําไปสูความยุติ คือจบ
ลงแหงเรื่องราว ความยุติธรรมก็เหมือนกับประชาธิปไตยคือ ความคิดเห็นของคนสวนมากทีมี
                                                                               ่
ความคิดเห็นอยางเดียวกัน ผลประโยชนที่ไดรับคือผลประโยชนที่กลุมคนไดรับเหมือนกัน คิด
วาเหมือนผลประโยชนของสวนรวมนันแหละ แนนอนวาบางครั้งความยุตธรรมมันตองขัดกับ
                               ่                             ิ
ผลประโยชนของคนกลุมๆหนึ่ง

      ความยุตธรรมเปนตัวกําหนดทิศทางของสังคม ซึ่งความยุติธรรมของแตละสังคมไม
             ิ
เหมือนกัน ยกตัวอยางเชน หากสังคมหนึ่งทุกคนเห็นพองตองกันวา การขโมยของเปนเรืองที่
                                                                               ่
ถูกตอง ถือวายุตธรรม ซึ่งในความเปนจริงแลวความยุติธรรมทีเ่ ปนที่นิยมมากที่สุดเปนความ
                 ิ
ยุติธรรมที่ตองอยูคูกับ คุณธรรมและจริยธรรม ที่เปนเครืองชวยในการกําหนดกฎเกณฑวาสิ่ง
                                                      ่
ไหนเปนสิ่งที่ดี ถูกตอง และเหมาะสม แลวความยุตธรรมแบบไหนที่คนสวนมากจะยอมรับ
                                               ิ

มนุษยเราโดยกําเนิดลวนแลวแตมีใจเปนธรรมในกนบึ้งของจิตใจไมเรื่องใดก็เรื่องหนึ่ง ไมทาง
ใดก็ทางหนึ่ง ตองการชีวิตสันติสงบสุข ความเปนธรรม ความกาวหนา ความเจริญรุงเรืองของ
เผาพันธุ ตลอดจนมวลมนุษยชาติ ซึ่งเปนความปรารถนาของมนุษยมากบางนอยบาง แตกตางกัน
ไปตามสภาพแวดลอมที่กําหนด สภาพความมันปวนของมนุษยลวนลอมรอบเกิดจากปญหา
                                    ่              
ความไมเปนธรรม ไมวาขอบเขตระหวางประเทศหรือภายในแวนแควนแตกตางกันไป ตาม
สภาพของแตละประเทศแตละเผาพันธุ

" ที่ไหนมีการกดขี่ ที่นนยอมมีการตอสู ที่ไหนไมมีความรู ที่นั้นตองไดรับการศึกษา ที่ไหนยังไม
                       ั้
มีการพัฒนา ที่นนตองมีการเรียกรอง ที่ไหนไมมีความถูกตอง ทีนนตองเรียกรองความเปน
               ั้                                           ่ ั้
ธรรม"
อุดมการณของสังคมที่เกียวของกับ"ความเปนธรรม"มีหลายหลากกระแสความคิด และภายใต
                       ่
อุดมการณดังกลาวทําใหเกิด"เครื่องมือทางสังคม"ในรูปแบบที่หลากหลาย เพือจะนําสังคมไปสู
                                                                      ่
อุดมการณนั้นๆ ซึ่งก็ผลัดกันมีอิทธิพล และมีบทบาทเหนือสังคมในแตละหวงเวลาของ
พัฒนาการของสังคมที่แตกตางในแตละยุคสมัยไมเหมือนกัน เกณฑหรือมาตราฐานความเปน
ธรรมที่เกิดขึ้นภายใตเครืองมือตางๆที่มีอยูในสังคม จะทําอยางไรที่จะใหไปในทางเดียวกัน ใน
                         ่
เวลานี้ มาตราฐานความเปนธรรมตามกฎหมาย นอกจากจะไปไมไดกับมาตรฐานอื่นที่สังคม
ยึดถือแลว ในหลายๆกรณีกลับขัดแยง และในหลายๆกรณีก็ทําใหผิดไปจากที่สังคมคาดหวัง
ดังนั้น การกลาวถึง " ความเปนธรรม "ทางสังคมจึงเปนประเด็นที่มีหลายมิติ และโดยประการ
สําคัญมิไดมีระนาบเดียว มิไดหมายถึงการผูกขาดแตเฉพาะแตบทบาทของรัฐที่อางวามีรฐเพื่อมา
                                                                                ั
ใหความยุตธรรม เทานัน หมายความถึง บทบาทของนักกฎหมายทีจะทําหนาที่ในการบอกวา
          ิ          ้                                ่
อะไรเปนธรรมหรือไมเปนธรรมไมวาจะโดยสายงานอาชีพหรือถูกคาดหวังจากผูคนสวนหนึ่ง
                                                                    
ของสังคมที่ตกอยูภายใตอิทธิพลและมายาคติที่นักกฎหมายสรางขึ้นตามกระแสความเชียวชาญ
                                                                            ่
เฉพาะดาน แตตองการที่จะหมายถึงสังคมทั้งระบบที่ตองหันมาใหความสําคัญกับเรื่องนี้

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (8)

7mo MATEMATICA
7mo MATEMATICA7mo MATEMATICA
7mo MATEMATICA
 
Contaminacion de agua y tierra
Contaminacion de agua y tierraContaminacion de agua y tierra
Contaminacion de agua y tierra
 
asa-aps funnel & plan
asa-aps funnel & planasa-aps funnel & plan
asa-aps funnel & plan
 
Beyond the Awe: Perspectives on Pragmatic Audiovisual Collections Care
Beyond the Awe: Perspectives on Pragmatic Audiovisual Collections CareBeyond the Awe: Perspectives on Pragmatic Audiovisual Collections Care
Beyond the Awe: Perspectives on Pragmatic Audiovisual Collections Care
 
Presentación modelo
Presentación modeloPresentación modelo
Presentación modelo
 
Alone (mind map)
Alone (mind map)Alone (mind map)
Alone (mind map)
 
Question one media 2
Question one media 2Question one media 2
Question one media 2
 
Monográfico
MonográficoMonográfico
Monográfico
 

Similar to ความเป นธรรมในส งคม (2)

ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมPayupoom Yodharn
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมPayupoom Yodharn
 
สิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลสิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลluckana9
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )Pornthip Tanamai
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมbilly ratchadamri
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมbilly ratchadamri
 
9789740331186
97897403311869789740331186
9789740331186CUPress
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน0866589628
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน0866589628
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านNattayaporn Dangjun
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าSoraj Hongladarom
 

Similar to ความเป นธรรมในส งคม (2) (20)

โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
สิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลสิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาล
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
9789740331186
97897403311869789740331186
9789740331186
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
Q social o net
Q social o netQ social o net
Q social o net
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
 

ความเป นธรรมในส งคม (2)

  • 1. ความเปนธรรมในสังคม มนุษยเปนสัตวทอยูเปนสังคม การที่อยูรวมกันก็ยอมมีการ ี่  ประพฤติปฏิบัติตอกันและกัน รวมทั้งมนุษยแตละคนยอม มีแนวปฏิบัติของตนเองวา จะกระทําอะไร อยางไร ดวย เหตุผลอะไร โดยธรรมชาติมนุษยมแนวโนมที่จะใฝหา ี ความสุข ความสบาย หลีกหนีความทุกขยาก ความลําบาก และโดยธรรมชาติมนุษยอาจจะปฏิบัติตอผูอนอยางเลวรายหรืออยางเอารัดเอาเปรียบ หากวา ื่ ตนเองจะไดรับประโยชนหรือความสุขความสบายเปนเครื่องตอบแทนถาทุกคนปฏิบัติเชนนั้น สังคมก็จะยุงเหยิงวุนวายที่สุดแลวก็คงไมมีใครที่จะอยูไดอยางสุขสงบ ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตอง  มีกฎเกณฑรวมกัน การที่จะใหผอื่นเคารพสิทธิของตนเองและไมเบียดเบียนตนเอง ตนก็ตอง  ู  เคารพสิทธิของผูอื่นและไมเบียดเบียนผูอื่น ตนเองอยากใหผูอนปฏิบัติตอตนเองอยางไร ก็ตอง   ื่ ปฏิบัติอยางนั้นตอผูอื่น  ความยุติธรรมเปนแมแบบของแนวทางตางๆ เปนแนวทางในเกณฑการตัดสิน ซึ่งมีกฏหมายเปน เครื่องมือในการทําหนาที่ ความยุติธรรมนั้นเปนเรืองที่ละเอียดเพราะการที่คนเราจะกําหนดวา ่ อะไรคือความดี แลวความดีกับความชัวตางกันตรงไหนเปนเรืองที่ตองวิเคราะหกันอยางละเอียด ่ ่ ความยุติธรรม คือ ยุติ และ ธรรม ตีความตามตัวอักษรไดวา เปนธรรมอันนําไปสูความยุติ คือจบ ลงแหงเรื่องราว ความยุติธรรมก็เหมือนกับประชาธิปไตยคือ ความคิดเห็นของคนสวนมากทีมี ่ ความคิดเห็นอยางเดียวกัน ผลประโยชนที่ไดรับคือผลประโยชนที่กลุมคนไดรับเหมือนกัน คิด วาเหมือนผลประโยชนของสวนรวมนันแหละ แนนอนวาบางครั้งความยุตธรรมมันตองขัดกับ ่ ิ ผลประโยชนของคนกลุมๆหนึ่ง ความยุตธรรมเปนตัวกําหนดทิศทางของสังคม ซึ่งความยุติธรรมของแตละสังคมไม ิ เหมือนกัน ยกตัวอยางเชน หากสังคมหนึ่งทุกคนเห็นพองตองกันวา การขโมยของเปนเรืองที่ ่ ถูกตอง ถือวายุตธรรม ซึ่งในความเปนจริงแลวความยุติธรรมทีเ่ ปนที่นิยมมากที่สุดเปนความ ิ
  • 2. ยุติธรรมที่ตองอยูคูกับ คุณธรรมและจริยธรรม ที่เปนเครืองชวยในการกําหนดกฎเกณฑวาสิ่ง  ่ ไหนเปนสิ่งที่ดี ถูกตอง และเหมาะสม แลวความยุตธรรมแบบไหนที่คนสวนมากจะยอมรับ ิ มนุษยเราโดยกําเนิดลวนแลวแตมีใจเปนธรรมในกนบึ้งของจิตใจไมเรื่องใดก็เรื่องหนึ่ง ไมทาง ใดก็ทางหนึ่ง ตองการชีวิตสันติสงบสุข ความเปนธรรม ความกาวหนา ความเจริญรุงเรืองของ เผาพันธุ ตลอดจนมวลมนุษยชาติ ซึ่งเปนความปรารถนาของมนุษยมากบางนอยบาง แตกตางกัน ไปตามสภาพแวดลอมที่กําหนด สภาพความมันปวนของมนุษยลวนลอมรอบเกิดจากปญหา ่  ความไมเปนธรรม ไมวาขอบเขตระหวางประเทศหรือภายในแวนแควนแตกตางกันไป ตาม สภาพของแตละประเทศแตละเผาพันธุ " ที่ไหนมีการกดขี่ ที่นนยอมมีการตอสู ที่ไหนไมมีความรู ที่นั้นตองไดรับการศึกษา ที่ไหนยังไม ั้ มีการพัฒนา ที่นนตองมีการเรียกรอง ที่ไหนไมมีความถูกตอง ทีนนตองเรียกรองความเปน ั้ ่ ั้ ธรรม" อุดมการณของสังคมที่เกียวของกับ"ความเปนธรรม"มีหลายหลากกระแสความคิด และภายใต ่ อุดมการณดังกลาวทําใหเกิด"เครื่องมือทางสังคม"ในรูปแบบที่หลากหลาย เพือจะนําสังคมไปสู ่ อุดมการณนั้นๆ ซึ่งก็ผลัดกันมีอิทธิพล และมีบทบาทเหนือสังคมในแตละหวงเวลาของ พัฒนาการของสังคมที่แตกตางในแตละยุคสมัยไมเหมือนกัน เกณฑหรือมาตราฐานความเปน ธรรมที่เกิดขึ้นภายใตเครืองมือตางๆที่มีอยูในสังคม จะทําอยางไรที่จะใหไปในทางเดียวกัน ใน ่ เวลานี้ มาตราฐานความเปนธรรมตามกฎหมาย นอกจากจะไปไมไดกับมาตรฐานอื่นที่สังคม ยึดถือแลว ในหลายๆกรณีกลับขัดแยง และในหลายๆกรณีก็ทําใหผิดไปจากที่สังคมคาดหวัง ดังนั้น การกลาวถึง " ความเปนธรรม "ทางสังคมจึงเปนประเด็นที่มีหลายมิติ และโดยประการ สําคัญมิไดมีระนาบเดียว มิไดหมายถึงการผูกขาดแตเฉพาะแตบทบาทของรัฐที่อางวามีรฐเพื่อมา ั ใหความยุตธรรม เทานัน หมายความถึง บทบาทของนักกฎหมายทีจะทําหนาที่ในการบอกวา ิ ้ ่ อะไรเปนธรรมหรือไมเปนธรรมไมวาจะโดยสายงานอาชีพหรือถูกคาดหวังจากผูคนสวนหนึ่ง  ของสังคมที่ตกอยูภายใตอิทธิพลและมายาคติที่นักกฎหมายสรางขึ้นตามกระแสความเชียวชาญ ่ เฉพาะดาน แตตองการที่จะหมายถึงสังคมทั้งระบบที่ตองหันมาใหความสําคัญกับเรื่องนี้