SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  125
Télécharger pour lire hors ligne
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย
Disaster Risk Management
ภายใต้
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
พ.ศ.๒๕๕๘
2
3
พงศธร ศิริสาคร
รองหัวหน้า
ศูนย์ปฏิบัติการสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล
กระทรวงมหาดไทย
paladtai@gmail.com , www.thaiics.com
slideshare.net/paladtai , issuu.com/paladtai
“ภัยธรรมชาติหรือสาธารณภัยอาจเกิดขึ้นเมื่อใดก็ได้ ไม่มีผู้ใดจะ
คาดหมายได้ดังที่ได้เกิดขึ้นที่แหลมตะลุมพุกนครศรีธรรมราช และ
หลายจังหวัดภาคใต้ ...”
“... ให้ไปให้ความอบอุ่นช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยากโดยฉับพลัน ทาให้
ผู้ประสบภัยได้รับการช่วยเหลือ มีกาลังใจที่จะปฏิบัติงานต่อไป ...
“...การช่วยเหลือผู้ประสบภัยนั้นจะต้องช่วยในระยะสั้น หมายความว่า
เป็นเวลาที่ฉุกเฉินต้องช่วยโดยเร็ว และต่อไปก็จะต้องช่วยให้ต่อเนื่อง
....... “
พระบรมราโชวาท วันที่ 23 สิงหาคม 2506
4Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
ภัยพิบัติ สาธารณภัย
ปรากฎการณ์ที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรง
ต่อชีวิต สภาวแวดล้อมและทรัพย์สิน ของชุมชน สังคม
เกินกว่าที่จะรับมือได้ด้วยตนเอง
dus = bad
Disaster
aster = star
bad star.
Emergency
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยฉับพลัน
ไม่อาจคาดการณ์ล่วงหน้าได้
จาเป็นต้องดาเนินการเพื่อบรรเทาผลร้ายที่เกิดตามมา
Disaster Risk Management พงศธร ศิริ
สาคร
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
10
สัญญลักษณ์สากลของ “การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน”
รับรองโดยกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ
เพื่อเป็นเครื่องหมายที่ควรได้รับการปกป้อง
ตามสนธิสัญญาเจนีวา วันที่ 12 สิงหาคม 2492
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
1. เพื่อสร้างสรรค์ความร่วมมือระหว่างประชาชนกับ
เจ้าหน้าที่ของรัฐ
2. ต้องให้บริการแก่บุคคลในประเทศ โดยไม่เลือก
ชาติพันธ์ ศาสนา ภาษา วัย หรือเพศ
3. ดาเนินการด้วยความรวดเร็ว เร่งด่วน เพื่อช่วยชีวิต
ของประชาชนตามหลักมนุษยธรรม
11
ปรัชญาการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
White flag
Hospital safety
zone
Red cross Red crescent Red crystal
monuments and
cultural institutions
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
United Nations
cultural property cultural property
under special
protection
works and
installations
containing dangerous
forces
NCDM
Relief and
Resettlement
Flood and Storm AHA Center
Fire Service
14
15
16
ความเป็นมาของการจัดการสาธารณภัย
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
พงศธร ศิริสาคร 17
กรมป้องกันและต่อสู้อากาศยาน
หน่วยป้องกันภัยทางอากาศ
กรมป้องกันภัยทางอากาศ
2477
2482
2487
พงศธร ศิริสาคร 18
2489 ยุบกรมป้องกันภัยทางอากาศ
2494 ตั้ง กองป้องกันและบรรเทาภัย
2497 กรมป้องกันสาธารณภัย
พงศธร ศิริสาคร 19
2501
ยุบกรมฯ เป็น
กองป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
2505 โอนไปสังกัดกรมการปกครอง
2522 พรบ ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
พงศธร ศิริสาคร 20
2545 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
2550 พ.ร.บ. ปภ.
2558 แผนการ ปภ.แห่งชาติ
แผน ปภ.ชาติ 53 - 57
แผน ปพร. ชาติ 45
แผน ปพร. ชาติ 48
2490 – 2544
ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
2477 - 2489
ป้องกันภัยทางอากาศ Reactive
Reactive
2545 – 2557
การจัดการสาธารณภัย Proactive
2558
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย Resilience
22
มาตรา 11 ปภ.เป็นหน่วยงานกลางของรัฐ ในการ
ดาเนินการเกี่ยวกับ การ ปภ.ของประเทศ มีอานาจหน้าที่
1.จัดทาแผน ปภ.เสนอ กปภช. เพื่อขออนุมัติจาก ครม.
2.จัดให้มีการศึกษาและวิจัย
3.ปฏิบัติการ ประสานการปฏิบัติ ให้การสนับสนุน และ
ช่วยเหลือ หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และเอกชน ในการ ปภ.
4.แนะนา ให้คาปรึกษา และอบรม
5. ติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน ผลการดาเนินการตาม
แผนปภ.
23Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
มาตรา 12 แผนการ ปภ.แห่งชาติ อย่างน้อยต้องมีสารสาคัญ
1.แนวทาง มาตรการ และงบประมาณที่จาเป็นต้องใช้ในการ ปภ.
2.แนวทางและวิธีการในการให้ความช่วยเหลือ รวมถึงการอพยพ
ปชช. หน่วยงานของรัฐ การสงเคราะห์ผู้ประสบภัย
3.หน่วยงานของรัฐ และ อปท.ที่รับผิดชอบดาเนินการตาม 1 และ 2
4.แนวทางการเตรียมความพร้อมทรัพยากร
5.แนวทางการซ่อมแซม บูรณะ ฟื้นฟู เมื่อภัยสิ้นสุด
กรณีที่จาเป็นต้องแก้ไข ปรับปรุง กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
มติ ครม. ให้ระบุไว้ใน แผนการ ปภ.แห่งชาติ
24Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
มาตรา 16 แผน ปภ.จังหวัด ต้องมีสาระสาคัญ ตาม ม.12 และ
1.การจัดตั้งศูนย์อานวยการเฉพาะกิจ โครงสร้างและผู้มีอานาจ
สั่งการ
2.แผนและขั้นตอนของ อปท.ในการจัดหาทรัพยากร
3.แผนและขั้นตอนของ อปท.ในการจัดให้มีสัญญานแจ้ง
ประชาชน
4.แผนปฏิบัติการ ปภ. ของ อปท.
5.แผนการประสานงานกับองค์การสาธารณกุศล
25Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
มาตรา 44 กรณีข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสาธารณภัย หรือ
การ ปภ.ที่กาหนดไว้ในแผนต่างๆเปลี่ยนแปลงไป หรือ
แผนฯใช้มาครบ 5 ปีแล้ว ให้เป็นหน้าที่ของ
ผู้รับผิดชอบจัดทาแผน ปรับปรุง หรือทบทวนแผนที่
อยู่ในความรับผิดชอบโดยเร็ว
26Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
27
อนุมัติ
ตามมติ ครม. 31 มี.ค.58
28
ให้กระทรวง กรม องค์กรและหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ
จังหวัด อาเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภาคเอกชน และภาคส่วนอื่นๆ
ปฏิบัติการให้เป็นไปตามแผน
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
ให้ สานักงบประมาณ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ให้ความสาคัญในการจัดสรรงบประมาณ
เพื่อการป้องกันและลดผลกระทบ
การเตรียมความพร้อม การเผชิญเหตุ
และการจัดการในภาวะฉุกเฉิน
รวมถึงการฟื้นฟูอย่างยั่งยืน
29Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
ให้หน่วยงานแต่ละระดับ
จัดทาแผนปฏิบัติการ
รองรับยุทธศาสตร์
และบรรจุแผนงาน และโครงการ
ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจาปีด้วย
30Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
Scenario Planning
การวางแผนตามสถานการณ์
31Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
32
แผนปฏิบัติการ ปภ.ระดับกระทรวง 17 ด้าน
อานาจสั่งการการประสานงาน การสนธิกาลัง
โครงสร้าง องค์กร กลไกการจัดการสาธารณภัย
กระบวนการวางแผน และการสนับสนุน
ทรัพยากร
ขาดมาตรฐานไม่มีแนวทางปฏิบัติ รับ - ส่ง
การวางแผน
ไม่เข้าใจสิ่งที่ต้องทา ความมุ่งหมาย
ในการปฏิบัติ
ไม่มีขั้นตอนการทา
งบประมาณ
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
องค์ความรู้และข้อมูล
ไม่มีแนวทางที่ชัดเจน
ขาดระบบการจัดการภาวะ
ฉุกเฉินที่เหมาะสม
ขาดข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย
ไม่ให้ความสาคัญ
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
วงจรการจัดการ
ความเสี่ยงจาก
สาธารณภัย
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การเตรียม
ความพร้อม
Preparedness
ป้องกัน
ลดผลกระทบ
Prevention
Mitigation
การเผชิญเหตุ
การบรรเทาทุกข์
Response
Relief
การฟื้นสภาพ
และซ่อมสร้าง
Rehabilitation
Reconstruction
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
Disaster Risk Reduction
การจัดการภาวะฉุกเฉิน
Emergency
Management
Disaster
การฟื้นฟู
Build Back Better
Safer
การจัดการความเสี่ยง
จากสาธารณภัย
Disaster Risk
Management
39
ความ
เสี่ยง
ภัย
เปราะบาง
ล่อแหลม
ศักยภาพ
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
41
ภัย
Hazard
ล่อแหลม
Exposure
เปราะบาง
Vulnerability
ศักยภาพ
Capacity
x x
=
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
ความเสี่ยงภัย
Disaster Risk
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
42
ผลกระทบ
โอกาส
ระดับ ต่ามาก(1) ต่า (2)
ปานกลาง
(3)
สูง (4) สูงมาก (5)
สูงมาก (5) 5 10 15 20 25
สูง (4) 4 8 12 16 20
ปานกลาง
(3)
3 6 9 12 15
ต่า (2) 2 4 6 8 10
ต่ามาก(1) 1 2 3 4 5
ระดับ คะแนน คาดหมาย
สูงมาก (5) 20 - 25
ระดับที่ไม่สามารถยอมรับได้
ต้องวางมาตรการเพื่อลดความเสี่ยง
สูง (4) 10 - 16
ระดับที่ไม่สามารถยอมรับได้
ต้องมีการจัดการความเสี่ยง
ปานกลาง (3) 5 - 9 ระดับที่ยอมรับได้ แต่ต้องมีการควบคุม
ต่า (2) 3 - 4 ระดับที่ยอมรับได้
ต่ามาก(1) 1 - 2 ระดับที่มีความเสี่ยงน้อย
44Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
45
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินของประเทศไทย
46
การจัดการ
ภาวะฉุกเฉิน
มาตรฐาน
ยืดหยุ่นเอกภาพ
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
การเตรียมความพร้อม
การสื่อสารและการ
จัดการข้อมูลข่าวสาร
การประเมินและ
การบรรเทาทุกข์
การจัดการทรัพยากร
การจัดการและ
การบัญชาการ
47Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
การเตรียมความพร้อม
48
✤ กลไกการจัดการ
✤ ระดับการจัดการ
✤ แนวทางการปฏิบัติร่วม
✤ การฝึก ปภ.
✤ จัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราวและการอพยพ
✤ ระบบการเตือนภัย
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
กลไกการจัดการในภาวะปกติ
กองอานวยการ ปภ.ท้องถิ่น
อบต.พัทยาทต.ทม.ทน.
กองอานวยการ ปภ.อาเภอ
กองอานวยการ ปภ.จังหวัด / กทม.
กองอานวยการ ปภ.กลาง
กองบัญชาการ ปภ.แห่งชาติ
49
✴ อานวยการ ควบคุม ปฏิบัติและเผชิญเหตุ
✴ จัดทาแผนปฏิบัติการ
✴ ช่วยเหลือ ผู้อานวยการอาเภอ
✴ สนับสนุนท้องถิ่นข้างเคียง
50Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
✴ ควบคุม บัญชาการ
✴ จัดทาแผน ปภ.อาเภอ เพื่ออานวยการ ประสานงาน สนับสนุน
การปฏิบัติของท้องถิ่น
✴ กาหนดแนวทางลดความเสี่ยง เตรียมพร้อม รับมือ ฟื้นฟู
✴ เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมิน วิเคราะห์สถานการณ์
✴ รวบรวมข้อมูลทรัพยากร
51Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
4
3
2
1 ผู้อานวยการ ปภ.อาเภอ
ผู้อานวยการท้องถิ่น
ผู้อานวยการ ปภ.จังหวัด
ผบปภ.ช
ผอปภ.ก
นรม. 2%
3%
35%
60%
52Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
แนวทางปฏิบัติร่วมกับหน่วยทหาร
การแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ
การประสานการปฏิบัติร่วมกัน
การติดต่อสื่อสาร
ขั้นตอนสนับสนุน
53Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
แนวทางการปฏิบัติร่วมกับภาคประชาสังคม และองค์การสาธารณกุศล
มูลนิธิสมาคม องค์การสาธารณกุศล
54Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
55
แนวทางปฏิบัติร่วมกับต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
Full Scale Exercise: FSX
Functional Exercise: FEX
Drill: DRX
Tabletop Exercise:
TTX
Workshop: WSX
การฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เชิงอภิปราย เชิงปฏิบัติการ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การฝึกบนโต๊ะ
การฝึกปฏิบัติ
การฝึกเฉพาะหน้าที่
การฝึกเต็มรูปแบบ
56Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
57
การฝึก การสาธิต
แสดงความสามารถ
ศักยภาพ
เล่นตามบทบาท มีสคริปป์
ไม่มีการประเมิน
ค้นหาข้อบกพร่อง
ไม่รู้โจทย์ล่วงหน้า
มีการประเมินการฝึก
ทดสอบการแก้ปัญหา
เฉพาะหน้าของผู้ฝึก
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
58
ตั้งสมมติฐานสถานการณ์
แสดงความคิดเห็นร่วมกันถึงทางเลือกที่เหมาะสม
มีการฝึกทดลองปฏิบัติ
กาหนดจานวนผู้เข้าร่วมที่เหมาะสม
มีความรู้ ประสบการณ์ ความสนใจที่ใกล้เคียงกัน
ไม่แนะนาให้แบ่งกลุ่ม เพื่อรับรู้ร่วมกัน
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
59Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
60Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
61
อภิปรายและถกแถลง ในหัวข้อ (สถานการณ์) ที่กาหนด
แก้ปัญหาร่วมกันเป็นกลุ่ม
ไม่กาหนดระยะเวลาในการตัดสินใจ
ไม่เป็นทางการ
บรรยากาศไม่กดดัน หรือเครียด
ทาให้รู้กฎ ระเบียบ แนวทาง ขั้นตอน ของแต่ละหน่วย
Facilitators
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
แผน ปภ.ชาติ 2558 พงศธร ศิริ
สาคร
62
TTX สาหรับผู้ปฏิบัติภาคสนาม
แผน ปภ.ชาติ 2558 พงศธร ศิริ
สาคร
63
แผน ปภ.ชาติ 2558 พงศธร ศิริ
สาคร
64
TTX สาหรับเจ้าหน้าที่ EOC
แผน ปภ.ชาติ 2558 พงศธร ศิริ
สาคร
65
แผน ปภ.ชาติ 2558 พงศธร ศิริ
สาคร
66
TTX สาหรับผู้บริหาร (MAC Group)
67
ฝึกหน่วยขนาดเล็ก 2 - 4 หน่วย
เลือกเฉพาะบางภารกิจฝึกปฏิบัติจริง เคลื่อนย้ายทรัพยากร
กาหนดเหตุการณ์จาลอง Simulate
ทดสอบความชานาญ และขั้นตอนการปฏิบัติ
ใช้ผู้ควบคุมการฝึก Controller
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
70
71
ฝึกการปฏิบัติและตัดสินใจ
สร้างความกดดัน ตัดสินใจ สั่งการในภาวะฉุกเฉิน
มีสถานการณ์แทรกซ้อน ที่ต้องแก้ปัญหา
Functional Exercise
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
แผน ปภ.ชาติ 2558 พงศธร ศิริ
สาคร
72
ไม่เคลื่อนย้ายทรัพยากร ผู้ฝึกต้องมีความรู้ ประสบการณ์
คล้าย Command Post Exercise ของฝ่ายทหาร
ใช้ผู้ควบคุมการฝึกหลายคน Controllers
73
จุดเด่น จุดด้อยของการซ้อมเฉพาะหน้าที่
จุดเด่น
ใช้ทดสอบการตัดสินใจในภาวะฉุกเฉิน
สถานการณ์เสมือนจริงโดยไม่เสี่ยง
ทดสอบความรู้ คามสามารถของผู้ฝึก
ใช้สถานที่ฝึกใน EOC
จุดด้อย
ใช้เวลาเตรียมการมาก
ออกแบบการฝึกยาก
ผู้ฝึกต้องมีคุณสมบัติ ความรู้ ประสบการณ์
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
74
75
ฝึกการปฏิบัติในสถานที่จริง สถานการณ์ที่เคยเกิดขึ้นจริง
เคลื่อนย้ายทรัพยากรจากที่ตั้งปกติ ไปยังสถานที่ฝึก
จาลองสถานการณ์ที่เสมือนจริงให้มากที่สุด
ทดสอบทุกกระบวนการ FR, ICP, EOC, MAC
ผู้รับการฝึก คือ ผู้ที่จะปฏิบัติในสถานการณ์จริง
ควรฝึกต่อเนื่องเกิน 24 ชั่วโมง
ผู้ควบคุมการฝึก เจ้าหน้าที่ควบคุมความปลอดภัย
76Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
77Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
78Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
79
Disaster Risk Management พงศธร ศิริ
สาคร
80
จุดเด่น จุดด้อยของการซ้อมเต็มรูปแบบ
จุดเด่น
ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในเหตุการณ์จริง
สร้างความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยฝึก
ค้นพบข้อผิดพลาดในอดีต ปรับปรุงได้
ทดสอบการประสานงาน
จุดด้อย
ใช้งบประมาณมาก
มีความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ
ใช้ผู้ควบคุมการฝึกจานวนมาก
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
จัดทาทะเบียน
จัดเก็ยขยะ
ที่พักรักษาพยาบาล
ส้วม
การสื่อสาร
ของบริจาค
จิตบาบัด
อาสาสมัคร
การเตรียมการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว และการอพยพ
81
บรรเทาทุกข์
รปภ.ชุมชน
ชรบ.
กศน.พื้นที่รองรับขั้นต้น
ที่พักพิงหลัก
พื้นที่ปลอดภัย
เคลื่อนย้าย
ทะเบียน
ขยะมูลฝอย
ยานพาหนะ
อาหาร น้าดื่ม
ที่พัก รักษาพยาบาล
ส้วม - ซักล้าง
สื่อสาร
โรคติดต่อ
ความปลอดภัย
VIP
ของบริจาค
สัณทนาการ
จิตบาบัด
มูลนิธิ สมาคม
อาสาสมัคร
จิตแพทย์
เส้นทางอพยพ
82
อพยพ
พื้นที่รองรับขั้นต้น
บรรเทาทุกข์
รปภ.ชุมชน
ชรบ.
ดูแลเด็ก
กศน.
พื้นที่ปลอดภัย
ที่พักพิงหลัก
การเตรียมการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว และการอพยพ
83แผน ปภ.ชาติ 2558 พงศธร ศิริ
สาคร
ระบบการเตือนภัย
ปกติ
เฝ้าระวัง
เสี่ยงอันตราย
เสี่ยงอันตรายสูง
อันตรายสูงสุด
สถานการณ์ปกติ ติดตามข่าวสารเป็นประจา
แดง
ส้ม
เหลือง
น้าเงิน
เขียว
สถานการณ์เฝ้าระวัง
ติดตามข่าวสารทุก 24 ชั่วโมง
มีแนวโน้มรุนแรง เตรียมความพร้อม ฟังคาแนะนา
อพยพไปยังที่ปลอดภัย
ปฏิบัติตามแนวทางที่กาหนด
อาศัยอยู่ในที่ปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อสั่งการ
84Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
เกณฑ์
เตือนภัย
อุณหภูมิ (C)
ร้อน หนาว
40 ขึ้นไป
ร้อนจัด
7.9 ลงไป
หนาวจัด
35 - 39.9
ร้อน
15.9 - 8
หนาว
22.9 - 16
เย็น
ฝน
90.1ขึ้นไป
หนักมาก
35.1 - 90
หนัก
10.1 - 35
ปานกลาง
0.1 - 10
เล็กน้อย
พายุ
Km/h
>251
209-251
178-208
154-177
119-153
63-118
<63
หมอกควัน
AQI
300 - 500
อันตราย
200 - 299
กระทบมาก
100 - 199
มีผลกระทบ
50 - 99
ปานกลาง
0 - 49
ดี
สึนามิ
เตือนภัย
Warning
ระวังภัย
Watch
แจ้งข่าว
Advisory
อพยพแจ้งเตือนภัยแจ้งเตือนล่วงหน้าเฝ้าระวัง
รับมือ
กระบวนการเตือนภัย
เฝ้าระวัง
แจ้งข่าวสาร
เชี่ยวชาญเทคนิค
แนวโน้มสถานการณ์
พื้นที่เสี่ยงภัย
ระยะเวลาขึ้นกับภัย
การสื่อสารทางเดียว
ยืนยันข้อมูล
โอกาสเกิด > 60%
แจ้งไม่น้อยกว่า 72 ชม
แนวทางปฏิบัติ ปชช.
และ ส่วนราชการ
การสื่อสาร 2 ทาง
กอ.แต่ละระดับ
พิจารณา กาหนดขั้นตอน
แนวทาง
แผนการอพยพ
แผนการบรรเทาทุกข์
86Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
เนสาด
26 ก.ย.-1 ต.ค.
ไหหม่า
17 - 25 มิ.ย.
นกเตน
25 - 31 ก.ค.
ไห่ถาง
25 - 27 ก.ย.
นาลแก
30 ก.ย.- 5 ต.ค.88
89
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
ปิ ง วัง ยม น่าน
สะแกกรัง
ป่าสัก
บึงบอระเพ็ด
เขื่อนเจ้าพระยา
MSDS: Material Safety Data Sheet
94
95
96
97
earth.nullschool.net
Tropical Storm Risk
Pacific Tsunami Warning Center
National Data Buoy Center
Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
การจัดการและการบัญชาการ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command System)
โครงสร้างศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่น และศูนย์บัญชาการ
เหตุการณ์
กองอานวยการ ปภ.กลาง และ กองบัญชาการ ปภ.แห่งชาติ
การประกาศเขตพื้นที่ประสบสาธารณภัย
การสนับสนุนการจัดการเหตุการณ์ (IMAT)
การกากับและควบคุมพื้นที่ (Area Command)
98Disaster Risk Management พงศธร ศิริสาคร
การบัญชาการ
Command
การควบคุม
Control
การประสาน
Coordination
การสื่อสาร
Communication
ICS
ให้ทุกส่วนราชการ หน่วยงาน และภาคเอกชน
ใช้ระบบัญชาการเหตุการณ์เป็นระบบมารฐาน
ของประเทศในการจัดการภาวะฉุกเฉิน
ฝ่ายอานวยการ
★ ฝอ.1 กพ. (กาลังพล)
★ ฝอ.2 ขว. (การข่าว)
★ ฝอ.3 ยก. (ยุทธการ)
★ ฝอ.4 กบ. (กาลังบารุง)
★ ฝอ.5 กร. (กิจการพลเรือน)
ระบบบัญชาการเหตุการณ์
✴ ฝ่ายอานวยการ
✴ ส่วนปฏิบัติการ
✴ ส่วนแผนงาน
✴ ส่วนสนับสนุน
✴ สป.1 เสบียงอาหาร
✴ สป.2 สป.ประจาหน่วย (อาวุธ)
✴ สป.3 น้ามันเชื้อเพลิง หล่อลื่น
✴ สป.4 สป.นอกหน่วย
✴ สป.5 กระสุน วัตถุระเบิด
✦ ครุภัณฑ์
✦ วัสดุ
✦ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
101
Party textตั้งเท่าที่จาเป็น ไม่ได้ตั้งทั้งหมดในคราวเดียว
มาตรฐาน ภาษาที่เข้าใจง่าย
HB C SICP
ชื่อตาแหน่ง ชื่อสถานที่
การบังคับบัญชา
ลาดับและสายการบังคับบัญชา
การบัญชาการร่วม
การโอนการบังคับบัญชา
103
Disaster Risk Management พงศธร ศิริ
สาคร
แผนและโครงสร้าง Management by Objectives
แผนเผชิญเหตุ
องค์กร Modular
ช่วงการควบคุม
Disaster Risk Management พงศธร ศิริ
สาคร
ทรัพยากร/สถานที่
การจัดการทรัพยากร
สถานที่และสิ่งอานวยความสะดวก
ST TF SR
105
สื่อสาร / ข้อมูล
มืออาชีพ
ความรับผิดชอบ
การเข้ารับหน้าที่ ภารกิจ
การบูรณาการการสื่อสาร
Information / Intelligence
Disaster Risk Management พงศธร ศิริ
สาคร
ระดับขั้นการฝึกอบรม ระบบบัญชาการเหตุการณ์
ICS 400
ผู้บัญชาการ
ICS 300
หัวหน้าส่วน
หัวหน้าแผนก
ICS 200
หัวหน้าชุดปฏิบัติการ
ICS 100
เจ้าหน้าที่เผชิญเหตุ
ระยะเวลา
2 วัน
3 วัน
3 วัน
3 วัน
เนื้อหาการอบรม
การจัดการทรัพยากร
ภาวะผู้นา
การสั่งการในภาวะฉุกเฉิน
MACs, Area Command
การจัดการกลยุทธ์
การจัดการ
เผชิญเหตุขั้นต้น
พื้นฐาน
กลไกการจัดการในภาวะปกติ
กองอานวยการ ปภ.ท้องถิ่น
อบต.พัทยาทต.ทม.ทน.
กองอานวยการ ปภ.อาเภอ
กองอานวยการ ปภ.จังหวัด / กทม.
กองอานวยการ ปภ.กลาง
กองบัญชาการ ปภ.แห่งชาติ
108
ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่น
ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์อาเภอ
ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัด
กองบัญชาการ ปภ.แห่งชาติ
กองอานวยการ ปภ.กลาง
ผู้อานวยการท้องถิ่น
ศูนย์ประสานงาน
ปฏิบัติการ
ความสงบเรียบร้อยกู้ภัยกู้ชีพ
รพสต.
อสม.
OTOS
อส.
ตร.
ผรส.
ผช. ผอ.ท้องถิ่น
ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่น (ท้องถิ่นขนาดเล็ก)
ผู้อานวยการ ปภ. ท้องถิ่น
ส่วนสนับสนุนส่วนแผนงาน
หน่วยสถานการณ์
หน่วยทรัพยากร
หน่วยเอกสาร
ระเบียบ กฎหมาย
แผนกสนับสนุน
สิ่งอุปกรณ์
สถานที่
สนับสนุน
ภาคพื้น
แผนกบริการ
สื่อสาร
แพทย์
เสบียง
แผนกการเงิน
การเงิน&บัญชี
จัดซื้อ จัดจ้าง
พัสดุ
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย เจ้าหน้าที่ประสานงาน
เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์
ส่วนปฏิบัติการ
พื้นที่ กลุ่มภารกิจ
ศูนย์ปฏิบัติการท้องถิ่น
ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่น (ท้องถิ่นขนาดใหญ่)
โครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์
111
ผู้อานวยการ ปภ. อาเภอ
ส่วนสนับสนุนส่วนแผนงาน
หน่วยสถานการณ์
หน่วยทรัพยากร
หน่วยเอกสาร
ระเบียบ กฎหมาย
แผนกสนับสนุน
สิ่งอุปกรณ์
สถานที่
สนับสนุน
ภาคพื้น
แผนกบริการ
สื่อสาร
แพทย์
เสบียง
แผนกการเงิน
การเงิน&บัญชี
จัดซื้อ จัดจ้าง
พัสดุ
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย เจ้าหน้าที่ประสานงาน
เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์
ส่วนปฏิบัติการ
พื้นที่ กลุ่มภารกิจ
ศูนย์ปฏิบัติการท้องถิ่น
โครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์
ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์อาภอ
112
การประกาศเขตพื้นที่ประสบสาธารณภัย
เพื่อประโยชนในการจัดการสาธารณภัยในพื้นที่
ตามมาตรา 6 พรบ.ปภ. พ.ศ.2550
ออกหนังสือรับรอง ตามมาตรา 30 พรบ.ปภ. พ.ศ.2550
ระดับ การจัดการ ผู้ออกประกาศ
1 สาธารณภัยขนาดเล็ก ผวจ. / กทม.
2 สาธารณภัยขนาดกลาง ผวจ. / กทม.
3 สาธารณภัยขนาดใหญ่ ผบปภ.ช.
4 สาธารณภัยร้ายแรงอย่างย่ิง นรม. หรือรองฯ
การสื่อสารและการจัดการข้อมูลข่าวสาร
การจัดการข้อมูลและข่าวสาร
การสื่อสารและโทรคมนาคม
การสื่อสารกสทช.
ความถี่กลาง
ย่านความถี่ คลื่นความถี่
HF / SSB 4866, 4869, 7529, 7715, 9916 KHz
VHF / FM 142.425, 147.425, 161.475, 166.475 MHz
UHF / FM 420.500, 425.500, 449.025 MHz
HF / SSB 27.155, 27.215 MHz
VHF / FM 78.500, 145.000, 245.500 MHz
แผนปฏิบัติการสื่อสารฉุกเฉินเมื่อเกิดภัยพิบัติ
การสื่อสาร
ความถี่กลาง
ทหาร
ตารวจ
สธ
สมัครเล่
นปกครอง
ท้องถิ่น
มูลนิธิ
ประมง
โทรคมนาคม
Thailand Emergency Management System พงศธร ศิริสาคร
ความสามารถในการกู้คืนระบบและการขยายข่าย
การจัดการข้อมูลและข่าวสาร
Information Intelligence
การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในภาวะฉุกเฉิน
ศูนย์ประสานข้อมูลร่วม
Joint Information Center: JIC
มีระบบการคัดกรอง เผยแพร่
มีกระบวนการ
มีแผนการตอบโต้ข่าวสาร
มีโครงสร้างในภาวะฉุกเฉิน
มีเครือข่าย
ศูนย์ประสาน ข้อมูลร่วม
JIC
Thailand Emergency Management System พงศธร ศิริสาคร
การจัดการทรัพยากร
Thailand Emergency Management System พงศธร ศิริสาคร
คลังข้อมูลสาธารณภัยแห่งชาติ
คลังสารองทรัพยากร (Stockpiling)
การบริหารความต่อเนื่อง
การจาแนกทรัพยากร
ประเภท ชนิด ขนาด
ระเบียบปฏิบัติประจา
ขอสนับสนุน จัดส่ง ส่งคืน
การประเมินและการบรรเทาทุกข์
การประเมินความเสียหายและความต้องการการช่วยเหลือ
(จาเป็น) Damage and Need Assessment: DaNA
การรับบริจาค
การจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว
Damage and Need Assessment
การประเมินแบบรวดเร็ว
Rapid Assessment
การประเมินแบบละเอียด
Detailed Assessment
ทาทันที่เมื่อเกิดเหตุ
สิ่งที่จาเป็นภายใน 7 วันแรก
เน้นการรักษาชีวิต
ปัจจัยการดารงชีวิต
เรียงลาดับความจาเป็น
ทาเมื่อภาวะฉุกเฉินเบาบาง/สิ้นสุด
ไม่เกิน 2 สัปดาห์หลังเกิดภัย
เน้นการทาให้กลับมาดารงชีวิตเหมือนเดิม
โดยเร็ว
โครงสร้างพื้นฐาน ทดแทนระยะสั้น
การรับบริจาค
หน่วยงานรับผิดชอบ ที่โปร่งใส ตรวจสอบได้
รับบริจาคเป็นเงินสด เป็นลาดับแรก
กรณีสิ่งของต้องเป็นของใหม่ (ห้ามของใช้แล้ว)
ไม่สามารถนาเงินบริจาคไปใช้เป็นค่าขนส่ง ต้อง
เป็นไปตามเจตนารมย์ของผู้บริจาคเท่านั้น
การประชาสัมพันธ์ทุกระยะ
แจ้งการสิ้นสุดการรับบริจาค
การรับบริจาค
ระเบียบ กค. ว่าด้วยการรับเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ทาง
ราชการ พ.ศ.2526
ระเบียบ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ว่าด้วยการรับบริจาคสิ่งของ
เหลือใช้ของศูนย์รับบริจาคเพื่อสงเคราะห์ผู้เดือดร้อน พ.ศ.2547
ระเบียบ สร. ว่าด้วยการรับบริจาคและการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ
สาธารณภัย พ.ศ.2542
ระเบียบ สร.ว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2544

Contenu connexe

Tendances

Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551CPG Thai hemorrhagic stroke 2551
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551Thorsang Chayovan
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน Dbeat Dong
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยDuangdenSandee
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยPongsatorn Sirisakorn
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacityyah2527
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุAiman Sadeeyamu
 
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs modelแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs modelSircom Smarnbua
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 

Tendances (20)

Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551CPG Thai hemorrhagic stroke 2551
CPG Thai hemorrhagic stroke 2551
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Intro kan57
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
 
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs modelแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
carrying capacity
carrying capacitycarrying capacity
carrying capacity
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 

En vedette

แผน ปภ.ชาติ 58 upload
แผน ปภ.ชาติ 58 uploadแผน ปภ.ชาติ 58 upload
แผน ปภ.ชาติ 58 uploadPongsatorn Sirisakorn
 
สัญญลักษณ์การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สัญญลักษณ์การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนสัญญลักษณ์การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สัญญลักษณ์การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนPongsatorn Sirisakorn
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติJune Fghijklmnopqrsteovl
 
การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด
การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด
การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด Pongsatorn Sirisakorn
 
ประสบการณ์การใช้ Ics ในไทย
ประสบการณ์การใช้ Ics ในไทยประสบการณ์การใช้ Ics ในไทย
ประสบการณ์การใช้ Ics ในไทยPongsatorn Sirisakorn
 
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)tumetr1
 
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpmการจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ DdpmPongsatorn Sirisakorn
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShareSlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

En vedette (15)

แผน ปภ.ชาติ 58 upload
แผน ปภ.ชาติ 58 uploadแผน ปภ.ชาติ 58 upload
แผน ปภ.ชาติ 58 upload
 
SME Buisness Continuity Thai
SME Buisness Continuity Thai SME Buisness Continuity Thai
SME Buisness Continuity Thai
 
ICS for Senior Officials
ICS for Senior Officials ICS for Senior Officials
ICS for Senior Officials
 
สัญญลักษณ์การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สัญญลักษณ์การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนสัญญลักษณ์การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สัญญลักษณ์การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
 
การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด
การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด
การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด
 
ประสบการณ์การใช้ Ics ในไทย
ประสบการณ์การใช้ Ics ในไทยประสบการณ์การใช้ Ics ในไทย
ประสบการณ์การใช้ Ics ในไทย
 
mass casualty management
mass casualty managementmass casualty management
mass casualty management
 
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
 
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpmการจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
 
Risk management
Risk managementRisk management
Risk management
 
Supply Chain Management
Supply Chain ManagementSupply Chain Management
Supply Chain Management
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similaire à การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.

20160913101610 file
20160913101610 file20160913101610 file
20160913101610 filePeachy Man
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...Poramate Minsiri
 
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยPoramate Minsiri
 
เผชิญหตุโรงพยาบาลบ้านกรวด.pptx
เผชิญหตุโรงพยาบาลบ้านกรวด.pptxเผชิญหตุโรงพยาบาลบ้านกรวด.pptx
เผชิญหตุโรงพยาบาลบ้านกรวด.pptxssuser819c0c
 
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...อบต. เหล่าโพนค้อ
 

Similaire à การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. (6)

20160913101610 file
20160913101610 file20160913101610 file
20160913101610 file
 
แผน ปภ.ชาติ 2558
แผน ปภ.ชาติ 2558แผน ปภ.ชาติ 2558
แผน ปภ.ชาติ 2558
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
 
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
 
เผชิญหตุโรงพยาบาลบ้านกรวด.pptx
เผชิญหตุโรงพยาบาลบ้านกรวด.pptxเผชิญหตุโรงพยาบาลบ้านกรวด.pptx
เผชิญหตุโรงพยาบาลบ้านกรวด.pptx
 
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
 

Plus de Pongsatorn Sirisakorn

คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014Pongsatorn Sirisakorn
 
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMSระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMSPongsatorn Sirisakorn
 

Plus de Pongsatorn Sirisakorn (7)

Eoc Thai by paladtai
Eoc Thai by paladtaiEoc Thai by paladtai
Eoc Thai by paladtai
 
British embassy thanks
British embassy thanksBritish embassy thanks
British embassy thanks
 
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
 
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMSระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
 
Thailand floods ics report 2011
Thailand floods ics report 2011Thailand floods ics report 2011
Thailand floods ics report 2011
 
Ic sapplication thailand
Ic sapplication thailandIc sapplication thailand
Ic sapplication thailand
 
JCC ARF DiREx 2013
JCC ARF DiREx 2013JCC ARF DiREx 2013
JCC ARF DiREx 2013
 

การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.