SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  53
Télécharger pour lire hors ligne
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
ชื่อนักเรียน
..................................................................................
เลขที่ ............................
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ .......................
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
คานา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้น ชุดที่ 1 เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ เล่มนี้
จัดทามีจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และมุ่งหวังให้นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจ เรื่องพันธะ
โคเวเลนต์ โดยนักเรียนจะได้เรียนรู้จากกิจกรรมที่หลากหลาย ซึ่งกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนได้
ปฏิบัติเองตามความถนัด คือ กิจกรรม รู้ จา ด้วยภาพ เส้น และสี เนื่องจากการสร้างรูปภาพ
สัญลักษณ์ ต่าง ๆ ทาให้นักเรียนเกิดความเข้าใจได้มากกว่าตัวอักษรจานวนมาก และกิจกรรมส่งเสริม
การเรียนรู้ให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเรียนที่เกี่ยวเนื่องกับสาระการเรียนรู้ ซึ่งกิจกรรมที่
กาหนดให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติมีทั้งส่งเสริม การอ่าน การเขียน การพูด และการคิดวิเคราะห์
และมีรูปแบบการทากิจกรรมด้วยตนเองและเป็นกลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับพฤติกรรมและความสามารถ
ของนักเรียนที่มีความหลากหลาย
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดนี้สาเร็จลงได้ ต้องขอขอบคุณ ผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน
คณะครูและนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระปิยมหาราชรมณียเขตที่มีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็น หวัง
เป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการ
เรียนรู้ของนักเรียนและอาจเป็นแนวทางในการออกแบบสื่อการเรียนรู้สาหรับคุณครู
อรอุมา อัญชลีสถาพร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
สารบัญ
หน้า
คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรม 1
สาระการเรียนรู้ เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ 3
แบบทดสอบก่อนเรียน 5
พันธะเคมี 7
การเกิดพันธะโคเวเลนต์ 8
ความยาวพันธะ และพลังงานพันธะ 17
รูปร่างและขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ 24
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ 37
แบบประเมินตนเองเกี่ยวกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้น 40
แบบทดสอบหลังเรียน 41
เฉลยกิจกรรม 43
บรรณานุกรม
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
โครงสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้น
ชุดที่ 1 : เรื่อง พันธะโคเวเลนต์
1. ชุดกิจกรรมนี้ประกอบด้วย กิจกรรม
1.1 การทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
1.2 การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของตนเอง
1.3 กิจกรรม รู้ – จา ด้วยเส้นสี : เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนใช้สีในการขีดเส้น เน้นข้อความ
วาดรูปทาสัญลักษณ์เพื่อให้เห็นข้อมูลที่นักเรียนคิดว่าสาคัญ โดยมีสัญลักษณ์ ดังนี้ และสัญลักษณ์
จะช่วยเตือนให้นักเรียนทาสัญลักษณ์สร้างจุดเด่นให้ข้อความตามคาสั่งต่างๆ
1.4 กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น : เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนทากิจกรรมตามคา
บอกเล่าโดยมีสัญลักษณ์ดังนี้
1.5 กิจกรรมลองคิด..ลองทา : เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดเพื่อฝึกทักษะการคิดและ
ทดสอบความเข้าใจของนักเรียนเอง
2. อ่าน เขียน ปฏิบัติ อย่างรอบคอบในทุกกิจกรรม
3. ใช้เวลาในการเรียนรู้อย่างคุ้มค่า
4. เมื่อนักเรียนทากิจกรรมในชุดกิจกรรมนี้สมบูรณ์แล้วให้นักเรียนไปรับเอกสารเฉลยคาตอบของ
กิจกรรมต่าง ๆ ในชุดกิจกรรมนี้
ขอให้นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์จากชุดกิจกรรมนี้อย่างมีความสุข เกิดความรู้ที่คงทน
ตลอดไป
ครูอรอุมา อัญชลีสถาพร
นักเรียนควรศึกษาผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลาที่ใช้ก่อน
เพื่อนักเรียนจะได้ทราบจุดมุ่งหมาย
ในการเรียน
อ่านและทาความเข้าใจ
ข้อแนะนาการเรียนรู้จาก
ชุดกิจกรรมนี้ให้ชัดเจนคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรม
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบ
กระตือรือร้นที่จัดทาขึ้นนี้มีจุดประสงค์
เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และมุ่งหวังให้
นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจ เรื่อง
พันธะโคเวเลนต์ โดยนักเรียนจะได้เรียนรู้
จากกิจกรรมที่หลากหลาย
1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างอนุภาคมีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ผลการเรียนรู้
1. อธิบายการเกิดพันธะโคเวเลนต์และระบุชนิดของพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลพร้อมทั้งแสดง
โครงสร้างของโมเลกุลโคเวเลนต์ด้วยโครงสร้างลิวอีส
2. เขียนสูตรและเรียกชื่อสารโคเวเลนต์ได้
3. ใช้ความรู้เรื่องความยาวพันธะและพลังงานพันธะระบุชนิดของพันธะโคเวเลนต์และใช้ค่าพลังงาน
พันธะคานวณหาพลังงานที่เปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาได้
4. ทานายรูปร่างของโมเลกุลโคเวเลนต์ เมื่อทราบจานวนพันธะและจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบ
อะตอมกลางได้
5. อธิบายสภาพขั้วและทิศทางของขั้วของพันธะโคเวเลนต์และของโมเลกุลโคเวเลนต์ได้
6. ระบุชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลกับจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารโคเวเลนต์ได้
7. บอกสมบัติที่แตกต่างกันของสารโคเวเลนต์ประเภทโมเลกุลมีขั้ว ไม่มีขั้วและโครงผลึกร่างตาข่ายได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกเหตุผลที่แสดงว่ามีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารหรือพันธะเคมีได้
2. อธิบายการสร้างพันธะโคเวเลนต์ และระบุชนิดของพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลได้
3. เขียนสูตรโครงสร้าง สูตรโมเลกุลและเรียกชื่อสารโคเวเลนต์ได้
4. บอกความหมายของความยาวพันธะ และพลังงานพันธะได้
5. คานวณหาพลังงานพันธะในโมเลกุลโคเวเลนต์ได้
6. บอกรูปร่างของโมเลกุลโคเวเลนต์ และทานายรูปร่างโมเลกุล เมื่อทราบจานวนอิเล็กตรอนคู่ร่วม
พันธะ และอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวได้
7. บอกมุมระหว่างพันธะของโมเลกุลโคเวเลนต์ได้
8. บอกสภาพขั้วพันธะโคเวเลนต์ได้
9. จาแนกโมเลกุลโคเวเลนต์เป็นโมเลกุลมีขั้วกับโมเลกุลไม่มีขั้วได้
10. อภิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือด หรือจุดหลอมเหลวกับแรงยึดเหนี่ยวของสารประกอบ
โคเวเลนต์ได้
11. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเกิดพันธะไฮโดรเจนในสารประกอบโคเวเลนต์ได้
12. บอกความสัมพันธ์ระหว่างพันธะโครงผลึกร่างตาข่าย กับจุดเดือด และจุดหลอมเหลวได้
2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
เวลาที่ใช้ในการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : พันธะโคเวเลนต์ จานวน 10 ชั่วโมง
เรื่องที่ 1 การเกิดพันธะโคเวเลนต์ จานวน 3 ชั่วโมง
เรื่องที่ 2 ความยาวพันธะ และพลังงานพันธะ จานวน 2 ชั่วโมง
เรื่องที่ 3 รูปร่างและมุมของโมเลกุลโคเวเลนต์ จานวน 3 ชั่วโมง
เรื่องที่ 4 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
จานวน 2 ชั่วโมง
สื่อ-อุปกรณ์
1. สีไม้หรือสีอื่น ๆ
2. ปากกาแดง ปากกาน้าเงิน ดินสอ
3. กาว
4. กรรไกร
5. กล้องถ่ายภาพดิจิตอล
6. เครื่องพิมพ์เอกสาร
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. การทากิจกรรมตามชุดกิจกรรม
2. ความสมบูรณ์ของชุดกิจกรรม
3. ผลการทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
4. การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของตนเอง
3
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
เรื่องที่ 1 การเกิดพันธะโคเวเลนต์
เรื่องที่ 2 ความยาวพันธะ และพลังงานพันธะ
เรื่องที่ 3 รูปร่างและมุมของโมเลกุลโคเวเลนต์
เรื่องที่ 4 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ และ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
4
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง พันธะโคเวเลนต์
1. พันธะเคมี หมายถึง อะไร
ก. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม ข. พลังงานที่ทาให้อะตอมสลายตัว
ค. การอยู่รวมกันของอะตอม ง. การอยู่รวมกันของโมเลกุล
2. เพราะเหตุใด อโลหะจึงยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ก. อโลหะมีค่า EN สูงเสียอิเล็กตรอนง่าย ข. อโลหะมีค่า EN สูงเสียอิเล็กตรอนยาก
ค. อโลหะมีค่า EN ต่าเสียอิเล็กตรอนยาก ง. อโลหะมีค่า EN ต่าเสียอิเล็กตรอนง่าย
3. สารประกอบใดมีพันธะคู่ระหว่างอะตอม
ก. O2 ข. Cl2
ค. H2 ง. N2
4. สารประกอบโคเวเลนต์ใดต่อไปนี้ ที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวเหลือ 2 คู่
ก. NH3 ข. PCl3
ค. H2S ง. SO2
5.ในการรวมตัวกันเป็นสารประกอบต่อไปนี้ ข้อใดไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
ก CCl4 ข. SiH4
ค. PCl5 ง. PH3
6. ธาตุ X มีเลขอะตอมเท่ากับ 17 เมื่อรวมตัวกับ Cl เกิดเป็นสารประกอบโคเวเลนต์มีสูตรอย่างไร
ก. XCl ข. X2Cl
ค. XCl2 ง. XCl3
7. ข้อใดอ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ได้ถูกต้อง
ก. P4O10 อ่านว่า ไตรฟอสฟอรัสเฮกซะออกไซด์ ข. Cl2O10 อ่านว่า ไดคลอรีนเพนตะออกไซด์
ค. PCl5 อ่านว่า ฟอสฟอรัสเฮกซะคลอไรด์ ง. Cl2O อ่านว่า ไดคลอรีนมอนอกไซด์
8. สาร X , Y , Z มีพลังงานพันธะเป็น 120 , 200 , 90 kJ/mol ตามลาดับ จงเรียงความยาวพันธะจากน้อยไป
มาก
ก. X , Y , Z ข. Z , Y , X
ค. Y , X , Z ง. Z , X , Y
9. กาหนดพลังงานพันธะให้ดังนี้ H-H = 436kJ/mol Cl-Cl =242 kJ/mol H-Cl = 431kJ/mol
จงคานวณปริมาณความร้อนที่เปลี่ยนไปเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้
H2 (g) + Cl2 (g) 2HCl
ก.ดูดความร้อนเท่ากับ174 kJ ข.คายความร้อนเท่ากับ174 kJ
ค.ดูดความร้อนเท่ากับ184 kJ ง.คายความร้อนเท่ากับ184 kJ
5
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
10. มุมระหว่างพันธะโมเลกุลใดมีมุมน้อยสุด
ก. CH4 ข. BF3
ค. NH3 ง. CO2
11. สารประกอบ PCl3 ควรมีรูปร่างอย่างไร
ก. สามเหลี่ยมแบราบ ข. ปิรามิดฐานสามเหลี่ยม
ค. รูปตัวที ง. ทรงสี่หน้า
12. ถ้า A , B และ C เป็นสารโคเวเลนต์ มีสถานะเป็นของเหลว โมเลกุลของสาร A และ B มีขั้ว ส่วนโมเลกุล
ของสาร C ไม่มีขั้ว สารใดสามารถละลายน้าได้
ก. สาร C ข. สาร A และ C
ค. สาร B และ C ง. สาร A เเละ B
13. สารใดต่อไปนี้เป็นโมเลกุลโคเวเลนต์มีขั้ว
ก. BF3 ข. SF6
ค. CO2 ง. CH3F
14. ข้อใดเป็นแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล
ก.พันธะโคเวเลนต์ ข. พันธะไฮโดรเจน
ค. พันธะโลหะ ง. พันธะไอออนิก
15. เหตุใดสารโคเวเลนต์ จึงมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่า
ก. มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย ข. สลายตัวได้ง่าย
ค. ไม่มีประจุไฟฟ้า ง. มีโมเลกุลขนาดเล็ก
6
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
พันธะเคมี (Chemical Bond) หมายถึง แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม ตั้งแต่2 อะตอม หรือ
ไอออนเข้าไว้ด้วยกันเป็นโมเลกุลหรือเป็นกลุ่มของอะตอม ทั้งนี้ แรงยึดเหนี่ยวจะขึ้นอยู่กับ อิเล็กตรอนวงนอก
ของอะตอม (Valence Electron) เท่านั้น มีการถ่ายโอนหรือการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันทาให้เกิดพันธะเคมีที่มี
การจัดเรียงอิเล็กตรอนให้เกิดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะขึ้นมา ทาให้โมเลกุลที่เกิดขึ้นมีความเสถียรขึ้น
โดยทั่วไปอะตอมของธาตุเมื่ออยู่ลาพังจะพยายามจัดตัวเอง อาจมีการรวมกับอะตอมของ ธาตุชนิด
เดียวกัน หรือรวมกับอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน เพื่อให้มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดให้เหมือน กับแก๊สเฉื่อย ซึ่งมี
การจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในลักษณะที่มีความเสถียร กล่าวคือ จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอม
เท่ากับ 8 (ยกเว้น He ที่มีจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 ที่มีความเสถียรแล้ว) ซึ่งอะตอมอาจทาได้ดังนี้
1. ให้อิเล็กตรอนแก่อะตอมอื่น
2. รับอิเล็กตรอนจากอะตอมอื่น
3. ใช้อิเล็กตรอนร่วมกับอะตอมอื่น
พันธะเคมีที่จะกล่าวถึงในหน่วยนี้ได้แก่พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ พันธะโลหะและอิเล็กตรอนที่กล่าวถึง
จะเป็นอิเล็กตรอนที่อยู่วงนอกสุดเท่านั้น
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น
กิจกรรม: เขียนผังมโนทัศน์
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนผังมโนทัศนความรู้เกี่ยวกับพันธะเคมีลงในช่องว่างที่กาหนดแล้วพูดให้เพื่อนฟัง1 คน
 รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี 
นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น
สร้างจุดเด่นให้ข้อความ
7
ทาสัญลักษณ์สร้างจุดเด่นให้ข้อความนะค่ะ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) เกิดจากอะตอมของธาตุอโลหะ รวมกับอะตอมของธาตุอโลหะเป็นโมเลกุล
โดยการนาเวเลนซ์อิเล็กตรอน(Valence electron) มาใช้ร่วมกันเป็นคู่ๆ เพื่อให้อิเล็กตรอนวงนอกสุดเท่ากับ 8
หรือเป็นไปตามกฎออกเตต คล้ายกับการจัดเรียงตัวของแก๊สเฉื่อย โดยจะเกิดกับธาตุอโลหะกับธาตุอโลหะ ซึ่ง
เป็นธาตุที่มีค่าENสูง
ภาพอะตอมของไฮโดรเจน ภาพแรงดึงดูดระหว่างอะตอมของไฮโดรเจน
การเกิดพันธะโคเวเลนต์
ภาพตารางธาตุแสดงค่าอิเล็กโทรเนกาติวีตี (EN)
ที่มา: http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/2/4/atom/Table-2.htm
การเกิดพันธะของธาตุไฮโดรเจน
อะตอมเข้าใกล้กันจะมีแรงดึงดูดทาให้เกิดเป็นโมเลกุลของแก๊สไฮโดรเจนเมืออะตอมเข้าใกล้กันจะมี
แรงที่เกี่ยวข้องกันระหว่างอะตอม แรงดึงดูดระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับนิวเคลียสของอีกอะตอม
หนึ่ง แรงผลักของอิเล็กตรอนทั้ง 2 อะตอมแรงผลักระหว่างนิวเคลียสทั้ง 2 อะตอม
ที่มา: http://www.4shared.com/web/preview/doc
 รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี 
นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น
สร้างจุดเด่นให้ข้อความ
อิเล็กโทรเนกาติวีตี (EN)
อิเล็กโทรเนกาติวิตี คือ ค่าความสามารถใน
การดึงอิเล็กตรอนของอะตอมที่รวมกันเป็น
สารประกอบ ธาตุที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวีตีสูง
จะดึงอิเล็กตรอนดีกว่าธาตุที่มีค่าอิเล็กโทรเนกา
ติวีตีต่ากว่า ไลนัส พอลิง( Linus Pauling) นัก
เคมีชาวอเมริกา เป็นคนแรกที่ได้กาหนดค่าอิ
เล็กโทรเนกาติวีตีของธาตุขึ้น แต่พอลิงไม่ได้
คานวณหาค่าอิเล็กโทรเนกาติวีตีของก๊าซเฉื่อย
ไว้ เพราะก๊าซเฉื่อยทาปฏิกิริยาเกิดเป็น
สารประกอบได้ยาก
8
อย่าลืมทาสัญลักษณ์สร้างจุดเด่นให้ข้อความนะค่ะ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
ขณะที่อะตอมเคลื่อนที่เข้าหากันพลังงานศักย์ของอะตอมจะลดต่าลงเรื่อยๆ จนกระทั่งอะตอมเข้าใกล้กัน
มากที่สุด มีพลังงานลดลงจากเดิม 436 กิโลจูล และระยะห่างระหว่างนิวเคลียสเท่ากับ 148 พิโกเมตร หรือ
รัศมีโคเวเลนต์ เท่ากับ 74 พิโกเมตร จะอยู่ในภาวะที่เสถียรที่สุด เป็นภาวะที่มีความสมดุลระหว่างแรง
ดึงดูดกับแรงผลัก และใช้อิเล็กตรอนคู่ร่วมกันในการส่งแรงไปดึงดูดนิวเคลียส ซึ่งกันและกัน เรียกว่า
การเกิดพันธะโคเวเลนต์
ภาพแสดงพลังงานศักย์กับระยะห่างระหว่างนิวเคลียสของไฮโดรเจน
ที่มา: http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1171
ทบทวนความรู้เดิม ให้นักเรียนเขียนวงกลมล้อมธาตุที่มีสมบัติเป็นอโลหะ
F Na Cl O K C S Br Co P
ตอบถูก…........ตัว
เฉลยคาตอบข้อ1=7,2=7,3=6,4=45=6,6=5
1. F มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ..........................
2. Cl มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ..........................
3. O มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ..........................
4. C มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ..........................
5. S มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ..........................
6. P มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ..........................
ทาด้วยตัวเอง
ก่อนอย่าพึ่งดู
เฉลยนะครับ
ถ้านิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจนทั้ง 2 อะตอมเข้าใกล้กันมากกว่านี้จะมีผลอย่างไร?
9
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
การเกิดโมเลกุลโคเวเลนต์
1. เกิดจากอะตอมของธาตุประเภทอโลหะ ซึ่งส่วนใหญ่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 4-7 หรือธาตุที่มีค่าอิเล็กโทร
เนกาตีวิตีสูงมีค่ามากกว่า 2 ขึ้นไป นาเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาใช้ร่วมกันเป็นคู่ๆ เรียกว่า “อิเล็กตรอนคู่ร่วม
พันธะ (bonded pair electrons) เพื่อให้มีอิเล็กตรอนวงนอกสุด ครบ 8 ส่วนอิเล็กตรอนคู่ที่ไม่ได้ใช้สร้าง
พันธะเรียกว่า “อิเล็กตรอนคู่โดดเดียว (lone pair electrons)
2. จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน ที่แต่ละอะตอมใช้สร้างพันธะ คือจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่ไม่ครบ 8
3. ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ แบ่งตามจานวนอิเล็กตรอนที่ใช้สร้างพันธะได้ 3 ชนิด
1) พันธะเดี่ยว (Single bond) เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนสร้างพันธะร่วมกัน 1 คู่
2) พันธะคู่ ( Double bond ) เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนสร้างพันธะร่วมกัน 2 คู่
3) พันธะสาม ( Triple bond ) เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนสร้างพันธะร่วมกัน 3 คู่
4. โมเลกุลโคเวเลนต์มีทั้งโมเลกุลของธาตุและสารประกอบ
1.1 โมเลกุลของธาตุ เช่น O2 , N2 , H2 , Cl2
1.2 โมเลกุลของสารประกอบ เช่น HCl , NH3 , CO2
5. ความเป็นโคเวเลนต์ของโมเลกุล โมเลกุลจะมีความเป็นโคเวเลนต์มากเมื่อธาตุที่มาสร้างพันธะต่อกันมี
ความเป็นอโลหะมาก หรือมีผลต่างของค่าEN น้อย เช่น Cl2 เป็นโคเวเลนต์มากกว่า HCl เพราะ Cl2 มี
ผลต่างค่าEN =0 HCl ผลต่างของค่า EN = 0.96
การเขียนสูตรสารประกอบโคเวเลนต์
 สูตรโมเลกุล เขียนแสดงจานวนอะตอมของธาตุ
เช่น H2O ประกอบด้วย ธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม ธาตุออกซิเจน 1 อะตอม
PCl3 ประกอบด้วย ธาตุฟอสฟอรัส 1 อะตอม ธาตุคลอรีน 3 อะตอม
 โครงสร้างลิวอิสแบบจุด เขียนจุดรอบสัญลักษณ์แสดงจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน โดยเขียนเวเลนซ์
อิเล็กตรอนคู่ทีสร้างพันธะไว้ระหว่างอะตอม ส่วนอิเล็กตรอนที่ไม่ได้สร้างพันธะเขียนเป็นคู่ๆรอบสัญลักษณ์ของ
ธาตุโดยใช้จุด () แทนอิเล็กตรอน 1 ตัว C มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 4 เขียนสัญลักษณ์แบบจุดคือ
ตัวอย่าง
 รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี 
นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น
สร้างจุดเด่นให้ข้อความ
โมเลกุลของออกซิเจน(O2) โมเลกุลคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) โมเลกุลเอทิลีน (C2H4 )
10
ให้วงรอบคาว่า “โคเวเลนต์ ”ด้วยสีแดง
ขีดส้นใต้คาว่า “อิเล็กตรอน”ด้วยสีน้าเงิน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
ในการเขียนสูตรโครงสร้างเขียนธาตุที่สร้างพันธะได้หลายพันธะ เป็นอะตอมกลาง
ธาตุ H หรือธาตุหมู่ VIIA เขียนเป็นอันดับสุดท้าย
ให้นักเรียนเขียนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุโดยใช้สัญลักษณ์แบบจุดล้อมรอบธาตุที่กาหนดให้
Li Be B C N O F
Na Mg Al Si P S Cl
 โครงสร้างลิวอิสแบบเส้น เขียนเส้นตรง 1 เส้น แทนจานวนอิเล็กตรอนที่ใช้รวมกัน 1 คู่ เขียนเส้นตรง 2
เส้น แทนจานวนอิเล็กตรอนที่ใช้รวมกัน 2 คู่ เขียนเส้นตรง 3 เส้น แทนจานวนอิเล็กตรอนที่ใช้รวมกัน 3 คู่
เช่น
ตัวอย่าง สูตรโครงสร้างแบบเส้นของ PCl3 สูตรโครงสร้างแบบเส้นของ HCl
โมเลกุลคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) โมเลกุลเอทิลีน (C2H4 )โมเลกุลไฮโดรเจน
โครงสร้างลิวอิสแบบจุด
โครงสร้างลิวอิสแบบเส้น
11
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น
กิจกรรม : เขียนสูตรโครงสร้างลิวอิสของสารประกอบโคเวเลนต์
คาชี้แจง: ให้นักเรียนเขียนสูตรโครงสร้างลิวอิสของสารประกอบโคเวเลนต์ ทั้งโครงสร้างแบบจุด และ
โครงสร้างแบบเส้นในช่องว่าง
ตัวอย่าง
CO2
CH4
PCl5
N2
ศึกษาจากตัวอย่างให้เข้าใจก่อน
นะครับ แล้วเขียนลงในกรอบที่
กาหนดให้
12
โครงสร้างแบบจุด โครงสร้างแบบเส้น
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น
อะตอมที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต โมเลกุลส่วนใหญ่ที่
อะตอมภายในโมเลกุล มีการสร้างแบบโคเวเลนต์ธรรมดา
แต่มีบางชนิดสร้างพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์
(Coordinate covalent bond)
โคเวเลนต์ กับโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์
แตกต่างกันอย่างไร?
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
โมเลกุลโคเวเลนต์ที่การรวมตัวไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
โมเลกุลโคเวเลนต์ที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต มี 2 ลักษณะ คือ
⊗ อะตอมกลางไม่ครบออกเตตเกิดจากธาตุหมู่ 2 ,3 ได้แก่ Be, B เช่น BeCl2 ,BCl3
⊗ อะตอมกลางมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเกินออกเตตเกิดจากธาตุหมู่ 5 ,6 ได้แก่ เช่น PCl5, SF6
คาชี้แจง: ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆเรื่องพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์
นามาเขียนสรุปใจความสาคัญแล้วให้เพื่อนอ่านอย่างน้อย 1 คน
13
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
 เขียนสัญลักษณ์ของธาตุที่มีค่าENต่าก่อน (H เขียนไว้หลัง ธาตุหมู่ IIIA,IVA,VA)
 เขียนอิเล็กตรอนที่ใช้สร้างพันธะบนสัญลักษณ์แต่ละธาตุ เช่น H1
,O2
 นาตัวเลขด้านบนของธาตุมาไขว้ไว้ด้านล่างของธาตุที่เกิดพันธะ เช่น
H1
O2
H1
O2
H2O
เทคนิคการเขียนสูตรโมเลกุล
ตัวอย่าง
ธาตุคู่สร้างพันธะ สูตรโมเลกุล
C4
+ S2
CS2
P3
+ Cl1
PCl3
N3
+ O2
N2O3
P3
+ H1
PH3
Si4
+ H1
SiH4
สรุปจานวนพันธะของธาตุอโลหะบางชนิด
ธาตุ หมู่A โครงสร้างแบบเส้น
H - H-
C IV - C - , = C= , - C=
N V N= , N= , - N-
O VI - O - , O=
Cl VII Cl-
 รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี 
นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น
สร้างจุดเด่นให้ข้อความ
X Y มีเลขอะตอม 15 และ 35 ตามลาดับ ถ้าเกิดกับ Cl จะมีสูตรอย่างไร
วิธีทา
X มีเลขอะตอม 15 จัดเรียงอิเล็กตรอน 2,8,5 อยู่หมู่ 5 ต้องการอิเล็กตรอนที่ใช้สร้าง
พันธะ 3 Cl อยู่หมู่ 7 ต้องการอิเล็กตรอนที่ใช้สร้างพันธะ 1
ดังนั้น X3
Cl1
นาตัวเลขมาคูณไขว้ จะได้ XCl3
Y มีเลขอะตอม 35 จัดเรียงอิเล็กตรอน 2,8,18,7 อยู่หมู่ 7 ต้องการอิเล็กตรอนที่ใช้
สร้างพันธะ 1 Cl อยู่หมู่ 7 ต้องการอิเล็กตรอนที่ใช้สร้างพันธะ 1
ดังนั้น Y1
Cl1
นาตัวเลขมาคูณไขว้ จะได้ YCl
ตอบ X Y มีสูตร XCl3 และ YCl
14
วงรอบสูตรโมเลกุลของ
สารประกอบด้วยปากกาสีแดง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
1. ให้อ่านจานวนอะตอมของธาตุตัวแรกเป็นภาษากรีก
(ถ้าอะตอมเท่ากับ 1 ไม่ต้องอ่าน)
2. อ่านชื่อธาตุตัวแรก
3. อ่านจานวนอะตอมของธาตุที่2เป็นภาษากรีก (ถ้าอะตอมเท่ากับ 1
ต้องอ่านด้วย)
4.อ่านชื่อธาตุที่2 แล้วเปลี่ยนท้ายเสียงเป็น ไ-ด์ (-ide)
จานวน
อะตอม
ภาษากรีก คาอ่าน
1 mono มอนอ
2 di ได
3 tri ไตร
4 tetra เตตระ
5 penta เพนตะ
6 hexa เฮกซะ
7 hepta เฮปตะ
8 octa ออกตะ
9 nona โนนะ
10 deca เดคะ
สูตรโมเลกุล ชื่อสารประกอบโคเวเลนต์
CO2 คาร์บอนไดออกไซด์
SF6 ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์
N2O ไดไนโตรเจนมอนอกไซด์
BF3 โบรอนไตรฟลูออไรด์
SiCl4 ซิลิคอนเตตระคลอไรด์
N2O3 ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์
GeH4 เจอร์เมเนียมเตตระไฮไดรด์
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น
กิจกรรม : เขียนสูตรโมเลกุลโคเวเลนต์
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์
1. เติมคาตอบที่ถูกต้องลงในตาราง
ธาตุ โมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์
H กับ S
C กับ F
Si กับ Cl
2. X และ Y มีเลขอะตอม 16 และ 35 เกิดสารประกอบกับ ออกซิเจน (O) จะมีสูตรอย่างไร
 ...................................................................................................................
...................................................................................................................
การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ประเภทธาตุคู่
ขั้นตอนการอ่านชื่อ
15
ระบายสีที่ชื่อสารประกอบโคเวเลนต์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น
กิจกรรม : อ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์
คาชี้แจง : ให้นักเรียนวงกลมคาอ่านจานวนอะตอมที่ผิดแล้วแก้ไขด้วยปากกาสีแดง วงกลม
จานวนอะตอมที่ถูกต้อง ด้วยปากกาสีน้าเงิน
ตัวอย่าง N2O อ่านว่า ไตรไนโตรเจนมอนอกไซด์
ได
 P4O10 อ่านว่า ไตรฟอสฟอรัสเฮกซะออกไซด์
 Cl2O10 อ่านว่า ไดคลอรีนเพนตะออกไซด์
 SI2 อ่านว่า ซัลเฟอร์ไดไอโดไดด์
 PCl5 อ่านว่า ฟอสฟอรัสเฮกซะออกไซด์
 Cl2O อ่านว่า ไดคลอรีนไดออกไซด์
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้แล้วอ่านให้เพื่อนฟังอย่างน้อย 1 คน
N2O5 อ่านว่า ……………………………………………………………………………………………
P4O10 อ่านว่า ……………………………………………………………………………………………
OF2 อ่านว่า ……………………………………………………………………………………………
CCl4 อ่านว่า ……………………………………………………………………………………………
PCl3 อ่านว่า ………………………………………………………………………………………..……
NO อ่านว่า ……………………………………………………………………………………………
NO2 อ่านว่า ……………………………………………………………………………………………
เอ!ตอบถูกหรือ
เปล่า ทบทวน
อีกครั้งดีกว่า
16
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
ภาพพลังงานศักย์กับระยะห่างระหว่างนิวเคลียสของไฮโดรเจน
ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ
ที่มา: http://www.vcharkarn.com/lesson/1171
ตารางแสดงความยาวพันธะระหว่าง O - H ในโมเลกุลของสารต่างชนิดกัน
สาร สูตรโมเลกุล ความยาวพันธะ O-H (pm)
น้า H2O 95.8
เมทานอล CH3OH 95.6
เมื่อพิจารณาข้อมูลในตารางจะพบว่า ความยาวพันธะระหว่างอะตอม O และ H ในโมเลกุลของสาร
ต่างชนิดกันจะมีค่าแตกต่างกัน เพราะฉะนั้นความยาวพันธะระหว่างอะตอมคู่หนึ่งหาได้จากค่าเฉลี่ยของความ
ยาวพันธะระหว่างอะตอมคู่เดียวกันในโมเลกุลต่างๆดังนั้นเมื่อกล่าวถึงความยาวพันธะ โดยทั่วไปจึงหมายถึง
“ความยาวพันธะเฉลี่ย”
จากรูปการเกิดโมเลกุลของก๊าซไฮโดรเจน
นั้นอะตอมของไฮโดรเจนจะเคลื่อนที่ใกล้กันได้
มากที่สุดและจะเกิดสมดุลระหว่างแรงดึงดูด
กับแรงผลักที่ระยะ 74 พิโกเมตร ถ้าเข้าใกล้
กันมากกว่านี้ แรงผลักจะเพิ่มมากขึ้นและ
โมเลกุลจะไม่เสถียร ระยะ 74 พิโกเมตรจึง
เป็นระยะที่สั้นที่สุดที่นิวเคลียสของอะตอมทั้ง
สองสร้างพันธะกันในโมเลกุล ระยะนี้จึง
เรียกว่า “ความยาวพันธะ” ความยาวพันธะ
หาได้จากการศึกษาการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์
(X-ray diffraction) ผ่านโครงผลึกของสาร
หรือจากการศึกษาวิเคราะห์สเปกตรัมของ
โมเลกุลของสาร
ความยาวพันธะ (bond length) เป็นระยะห่าง
ระหว่างนิวเคลียสของธาตุ 2 อะตอม ที่สร้าง
พันธะต่อกันเกิดเป็นโมเลกุล
 รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี 
นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น
สร้างจุดเด่นให้ข้อความ
17
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น
กิจกรรม : เรียงลาดับความยาวพันธะโคเวเลนต์
ตารางแสดงความยาวพันธะเฉลี่ย (ในหน่วย pm) ระหว่างอะตอมคู่ต่างๆ
ที่มา: http://writer.dekd.com/kpmynpm/story/viewlongc.php?id
คาชี้แจง : ให้เรียงลาดับความยาวพันธะโคเวเลนต์โดยใส่หมายเลข 1-2 หรือ3 ลงในช่อง
แสดงขนาดอะตอม ใหญ่ เล็ก
ใหญ่
1.
2.
3.
C-P C-C C-N
C=C C=O
C=C N=N
C N O
Si P
C=N
O=O
18
S
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
พลังงานพันธะ
พลังงานปริมาณน้อยที่สุดที่ใช้เพื่อสลายพันธะระหว่างอะตอมภายในโมเลกุลที่อยู่ภายในสถานะแก๊ส
ให้เป็นอะตอมเดี่ยวในสถานะแก๊ส เรียกว่า พลังงานพันธะ ( bond energy )
สาหรับโมเลกุลที่ประกอบด้วยอะตอมมากกว่าสองอะตอมจะมีพันธะในโมเลกุลมากกว่าหนึ่งพันธะ
การทาให้โมเลกุลสลายเป็นอะตอมเดี่ยวจึงต้องใช้พลังงานสูงเพื่อสลายพันธะจานวนหลายพันธะ เช่นการสลาย
พันธะ C-H ในโมเลกุลของมีเทน (CH4) ใช้พลังงาน ดังนี้
CH4 (g) + 435 kJ CH3 (g) + H (g)
CH3 (g) + 453 kJ CH2 (g) + H (g)
CH2 (g) + 425 kJ CH (g) + H (g)
CH (g) + 339 kJ C (g) + H (g)
การสลายพันธะ C-H ในโมเลกุลมีเทนแต่ละพันธะใช้พลังงานไม่เท่ากัน ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงพลังงาน
พันธะใดจึงหมายถึง “พลังงานพันธะเฉลี่ย”
ตารางแสดงพลังงานพันธะเฉลี่ย (ในหน่วย kJ/mol) ระหว่างอะตอมคู่ต่างๆ
ที่มา: http://writer.dek-d.com/kpmynpm/story/
 รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี 
นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น
สร้างจุดเด่นให้ข้อความ
19
วาดรูปสี่เหลี่ยมที่
พลังงานพันธะค่ะ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น
กิจกรรม : เปรียบเทียบความยาวและพลังงานพันธะ
ภาพความยาวพันธะ และพลังงานพันธะของโมเลกุลโคเวเลนต์
สรุปความยาวพันธะและพลังงานพันธะ
ถ้าความยาวพันธะยิ่งสั้น พลังงานพันธะก็จะยิ่งมาก หรือพันธะนั้นเสถียรภาพหรือแข็งแรงมาก
สาหรับพันธะชนิดเดียวกัน พันธะเดี่ยวจะมีความยาวพันธะมากที่สุด
ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ จะเปรียบเทียบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นพันธะที่เกิดจากอะตอมของธาตุ
คู่เดียวกัน ถ้าเป็นอะตอมต่างคู่กันเทียบกันไม่ได้
ที่มา: http://writer.dek-d.com/kpmynpm/story/
คาชี้แจง : ให้เขียนสัญลักษณ์ มากกว่า > หรือน้อยกว่า < ลงในช่องว่าง
1. เปรียบเทียบความยาวพันธะ ดังนี้
พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม
2. เปรียบเทียบพลังงานพันธะ ดังนี้
พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม
3. เปรียบเทียบความยาวพันธะ ระหว่างอะตอมคาร์บอนดังนี้
C2H2 C2H4 C2H6
4. เปรียบเทียบพลังงานพันธะระหว่างอะตอมคาร์บอน ดังนี้
C2H2 C2H4 C2H6
20
เขียนสรุปความสั้นๆให้จาได้นะค่ะ
.........................................................
.........................................................
........................................................
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
การคานวณพลังงานพันธะ
พลังงานพันธะ ซึ่งหมายถึง พลังงานเพื่อใช้เพื่อการสลายโมเลกุลให้แตกแยกออกเป็นอะตอม พลังงาน
ที่เกี่ยวข้องในที่นี้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. พลังงานสลายพันธะ
2. พลังงานสร้างพันธะ
พลังงานสลายพันธะ หมายถึง พลังงานที่ใช้ในการสลายพันธะภายในโมเลกุลที่อยู่ในภาวะก๊าซให้
กลายเป็นอะตอมในสภาวะก๊าซ
เช่น Cl2 (g) + 242 kJ 2Cl (g)
โมเลกุล อะตอม
หรือ Cl2 (g) 2Cl (g) ; H = +242 kJ/mol
พลังงานสร้างพันธะ หมายถึง พลังงานที่คายออกมาเพื่อใช้ในการสร้างพันธะ โดยเกิดจากอะตอม
รวมกันกลายเป็นโมเลกุลในสภาวะก๊าซ
เช่น 2Cl (g) Cl2 (g) + 242 kJ
อะตอม โมเลกุล
หรือ 2Cl (g) Cl2 (g) ; H = -242 kJ/mol
สร้างพันธะ : คายพลังงาน : H มีเครื่องหมายลบ (-)
สลายพันธะ : ดูดพลังงาน : H มีเครื่องหมายบวก (+)
พิจารณาโครงสร้างโมเลกุล ให้นับจานวนพันธะที่ต้องสลายพันธะโดยใส่เป็นจานวนตัวเลข
จานวนพันธะ CH4 C2H6 C3H8
C-H
C-C
 รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี 
นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น
สร้างจุดเด่นให้ข้อความ
21
ขีดเส้นใต้สมการเคมี
ด้วยปากกาสีแดง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
การคานวณหาค่าพลังงานของปฏิกิริยา
หลักการ
1. เขียนสูตรโครงสร้างแบบเส้นของสารทั้งหมด
2. หาค่าพลังงานรวมทั้งหมดของสารตั้งต้น และสารผลิตภัณฑ์
3. นามาหาผลต่างของค่าพลังงานรวมทั้งสอง (พลังงานรวมของสารตั้งต้นลบ พลังงานรวมของสาร
ผลิตภัณฑ์)
4. ถ้าผลต่างเป็นบวก (สารตั้งต้นมากกว่าผลิตภัณฑ์) จะเป็นปฏิกิริยาแบบดูดพลังงาน
5. ถ้าผลต่างเป็นลบ (ผลิตภัณฑ์มากกว่าสารตั้งต้น) จะเป็นปฏิกิริยาแบบคายพลังงาน
ขวามาก - คาย / ซ้ายมาก - ดูด หรือ สร้าง – คาย / สลาย - ดูด
ตัวอย่าง จงคานวณหาพลังงานพันธะ จากสมการ ว่าดูดหรือคายพลังงาน
CH4 (g) + Cl2 (g) CH3Cl (g) + HCl (g)
วิธีทา
H H
H – C – H + Cl – Cl H – C – H + H – Cl
H Cl
4(C – H ) + (Cl – Cl) 3(C – H) + (C – Cl) + (H – Cl)
4(413) + 242 3(413) + 339 + 431
 สลาย 1,894 kJ < สร้าง 2,009 kJ
 1,894 –2,009 = -115 kJ ค่าพลังงานติดลบ แสดงว่าเป็นประเภทคายพลังงาน 115 kJหรือ
การสร้างพันธะมีค่ามากกว่าจะคายพลังงาน 2,009 - 1,894 = 115 kJ
 รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี 
นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น
สร้างจุดเด่นให้ข้อความ
เขียนสูตรแบบเส้น
นับจานวนพันธะ
ใส่ค่าพลังงานพันธะ
คานวณค่าพลังงานพันธะ
หาผลต่างของพลังงาน
22
ระบายสีอ่อนๆที่กล่องข้อความ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น
กิจกรรม : เขียนแสดงวิธีการคานวณพลังงานของปฏิกิริยา
คาชี้แจง : ให้แสดงวิธีการคานวณหาพลังงานของปฏิกิริยา
โจทย์ : จงคานวณค่าพลังงานของปฏิกิริยาและประเภทของการเกิดปฏิกิริยาเคมีของปฏิกิริยาต่อไปนี้
CH4 (g) + 3 Cl2(g) CHCl3 (g) + 3HCl (g) กาหนดให้ค่าพลังงานพันธะเป็น kJ/mol
ดังนี้ ( C-H=413 , Cl-Cl =243 ,
C-Cl =327 , H-Cl =431)
อย่าลืมตรวจสอบความถูกต้องก่อนนะค่ะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
23
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น
กิจกรรม : การทดลองรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
รูปร่างและขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
รูปร่างโมเลกุล สามารถทานายได้จากแบบจาลองการผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอนที่อยู่ในวงเวเลนซ์
(Valence Shell Electron Pair Repulsion Model : VSEPR) ซึ่งอิเล็กตรอนเหล่านี้จะเกี่ยวข้องกับการเกิด
พันธะเคมี และมีการจัดตัวให้ห่างกันมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้เพื่อลดแรงผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอน โดย
พิจารณาจากจานวนอิเล็กตรอนรอบอะตอมกลางเฉพาะที่อยู่ในระดับพลังงานนอกสุด โดยแบ่งเป็นโมเลกุลที่
อะตอมกลางไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวและโมเลกุลที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ขึ้นอยู่กับ ทิศทางของพันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะและมุมระหว่างพันธะ
โคเวเลนต์รอบอะตอมกลาง
ทิศทางของพันธะขึ้นอยู่กับ
• แรงผลักระหว่างพันธะรอบอะตอมกลาง เพื่อให้ห่างกันมากที่สุด
• แรงผลักของอิเล็กตรอนคู่อิสระของอะตอมกลางที่มีต่อพันธะรอบอะตอมกลางแรงนี้มีค่ามากกว่า
แรงที่พันธะผลักกันเอง
จุดประสงค์
1. บอกรูปทรงเรขาคณิตที่เกิดจากการมัดลูกโป่งเข้าด้วยกันจานวน 2 3 4 5 และ 6 ลูก
2. เปรียบเทียบรูปร่างของลูกโป่งกับรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ได้
สมมติฐาน
ถ้าลูกโป่ง 1 ลุกแทนกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนของอะตอม ดังนั้นเมื่อนาลูกโป่งมาผูกกันในจานวนที่
แตกต่างกัน จะทาให้เกิดแรงผลักซึ่งกันและกันเป็นรูปร่างต่างกัน
อุปกรณ์
ลูกโป่งขนาดเล็ก 6 ลูก
ยางวง 6 เส้น
วิธีการทดลอง
1. นักเรียนเป่าลูกโป่งให้พองจนตึงทั้ง 6 ลูก
2. ผูกขั้วลูกโป่ง2 ลูกติดกัน สังเกตรูปร่าง บันทึกผล
3. ผูกขั้วลูกโป่ง 3 ลูกติดกัน สังเกตรูปร่าง บันทึกผล
4. ผูกขั้วลูกโป่ง 4 ลูก 5 ลูก และ 6 ลูก จัดให้เป็นรูปทรงเรขาคณิต สังเกตรูปร่างบันทึกผลในตาราง
 รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี 
นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น
สร้างจุดเด่นให้ข้อความ
24
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
ตารางบันทึกผล
จานวนลูกโป่งที่
มัดขั้วติดกัน
วาดภาพรูปร่างลูกโป่ง/
ภาพถ่าย
รูปทรงเรขาคณิต มุมระหว่างลูกโป่ง
2
3
4
5
6
คาถาม
1. สาเหตุใดที่ทาให้รูปทรงของลูกโป่งผูกรวมกันเปลี่ยนแปลงไป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. แรงผลักของลูกโป่งเปรียบเทียบกับแรงผลักของสิ่งใดในโมเลกุลโคเวเลนต์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
25
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
โมเลกุลที่อะตอมกลางไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
พิจารณาโมเลกุลที่ประกอบไปด้วยอะตอม 2 ชนิด คือ A และX โดยกาหนดให้
 A เป็นอะตอมกลาง
 X เป็นอะตอมที่ล้อมรอบ
m เป็นจานวนอะตอม
 โมเลกุลมีสูตรทั่วไปเป็น AXm ถ้าจานวนอะตอมของ X ในสูตรทั่วไปแตกต่างกันจะทาให้มีรูปร่าง
แตกต่างกัน ดังนี้
1) รูปร่างเส้นตรง (Linear) : AX2 เป็นรูปร่างของสารโคเวเลนต์ใด ๆ ที่มีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 2
คู่ รอบอะตอมกลาง เพื่อให้แรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนมีค่าน้อยที่สุด แต่ละคู่จึงอยู่ที่ปลายด้านตรงข้ามของ
แนวเส้นตรงมีมุมระหว่างพันธะ180๐
2) รูปร่างสามเหลี่ยมแบนราบ (Trigonal planar) : AX3 เป็นรูปร่างของสารโคเวเลนต์ใดๆ ที่
อะตอมกลางมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 3 และเป็นอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้งหมด (ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดด
เดี่ยว) พันธะผลักกันให้ห่างกันมากที่สุด ทาให้โมเลกุลเป็นรูปสามเหลี่ยมแบนราบ มีมุมระหว่างพันธะเป็น
120๐
3) รูปร่างทรงสี่หน้า (Tetarhedarl) : AX4 เป็นรูปร่างของสารโคเวเลนต์ใด ๆ ที่ อะตอมกลางมี
เวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 4 และเป็นอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้งหมด เกิดการผลักกันระหว่างพันธะเพื่อให้ห่าง
กันมากที่สุด ทาให้โมเลกุลมีรูปร่างเป็นรูปทรงสี่หน้า มีมุมระหว่างพันธะเป็น 109.5๐
 รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี 
นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น
สร้างจุดเด่นให้ข้อความ
26
วาดรูปสี่เหลี่ยม ที่สูตรทั่วไปของโมเลกุลทุก
รูปร่าง แล้ววงกลมล้อมรอบภาพรูปร่างโมเลกุล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
4) รูปร่างพีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม (Trigonal bipyramidal) : AX5 เป็นรูปร่างของสารโคเวเลนต์
ใด ๆ ที่อะตอมกลางมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 5 และเป็นอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้งหมด (ไม่มีอิเล็กตรอนคู่
โดดเดี่ยว) เกิดการผลักกันระหว่างพันธะเพื่อให้ห่างกันมากที่สุด ทาให้โมเลกุลมีรูปร่างเป็นรูป พีระมิดคู่ฐาน
สามเหลี่ยม มีมุมระหว่างพันธะเป็น 120๐
และ 90๐
5) ทรงแปดหน้า (Octahedral) : AX6 เป็นรูปร่างของสารโคเวเลนต์ใด ๆ ที่อะตอมกลางมีเวเลนซ์
อิเล็กตรอนเท่ากับ 5 และเป็นอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้งหมด (ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว) เกิดการผลักกัน
ระหว่างพันธะเพื่อให้ห่างกันมากที่สุด ทาให้โมเลกุลมีรูปร่างเป็นรูปทรงแปดหน้า มีมุมระหว่างพันธะ 90
ตารางสรุปสูตรทั่วไป จานวนพันธะ รูปร่างโมเลกุลที่ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
สูตรทั่วไป จานวนพันธะ รูปร่างของโมเลกุล ตัวอย่าง
AX2 2 เส้นตรง (linear) HgCl2, BeCl2
AX3 3 สามเหลี่ยมแบนราบ
(trigonal planar)
BCl3, BF3, GaI3
AX4 4 ทรงสี่หน้า (tetrahedral) CH4, CHCl3, SnCl4
AX5 5 พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม
(trigonal bipyramidal)
PCl5, PF5, PF3Cl2
AX6 6 ทรงแปดหน้า (octahedral) SF6
27
ลากเส้นโยงสูตรทั่วไปกับรูปร่างโมเลกุลด้วยปากกาสีแดง
แล้วระบายสีที่ช่องรูปร่างโมกุล และตัวอย่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น
กิจกรรม : เกมปริศนาอักษรไขว้
คาชี้แจง : ให้นักเรียนหาคาศัพท์รูปร่างโมเลกุล แล้ววงรอบคาศัพท์ด้วยปากกาสีแดง
แล้วนาคาศัพท์ไปเขียนด้านล่างพร้อมบอกรูปร่างโมเลกุล
A T E T R A H E D R A L
C R D L E A E S E C D A
Y I F T I S D A N F A S
E G H Q F N A K T E U T
K O C T A H E D R A L D
L N O A S U L A A L D E
I A K S A G F G R G C B
N L E D H D A A A H A E
H P A I L S S D D L R N
R L T U P A K O I E L T
E A N G U L A R E A I D
A N W S E A L E A E N E
S A R A R N A R N R E R
คาศัพท์ รูปร่างโมเลกุล
28
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
โมเลกุลที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
ตามปกติอิเล็กตรอนแต่ละคู่จะออกแรงผลักกัน แรงผลักของอิเล็กตรอนแต่ละคู่จะไม่เท่ากัน ซึ่งสามารถ
เขียนแรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนคู่ต่างๆ จากมากไปหาน้อยได้ดังนี้
กาหนดให้โมเลกุลมีสูตรทั่วไปเป็น AXmEn
 A เป็นอะตอมกลาง
 X เป็นอะตอมที่ล้อมรอบอะตอมกลาง
 E แทนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
m เป็นจานวนอะตอม
n เป็นจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
1) รูปร่างมุมงอ (Bent) : AX2E เช่น โมเลกุล NO2
-
เป็นรูปร่างที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วม
พันธะ 3 คู่ และอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 1 คู่ การจัดให้อิเล็กตรอนทั้งหมดอยู่ห่างกันมากที่สุดจะมีรูปคล้าย
สามเหลี่ยมแบนราบ แต่เนื่องจากมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวหนึ่งคู่ซึ่งมีแรงผลักมากกว่าแรงผลักระหว่าง
อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะด้วยกัน จึงผลักพันธะ N-O เข้าใกล้กันมุมระหว่างพันธะ O-N-O จึงน้อยกว่า 120˚ จาก
การทดลองพบว่ามุม O-N-O เท่ากับ 119.5˚
2) รูปร่างมุมงอ(Bent) : AX2E2 เช่น โมเลกุลของ H2O เป็นรูปร่างที่อะตอมกลางมีเวเลนซ์
อิเล็กตรอนเท่ากับ 6 สร้างพันธะเดี่ยวกับอะตอมของ H 2 พันธะ จึงมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 2 คู่ (4 อะตอม)
ซึ่งอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 2 คู่นี้ จะมีแรงผลักอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะมากกว่าแรงผลักกันของอิเล็กตรอนคู่ร่วม
พันธะ ทาให้มุมระหว่างพันธะ H-O มีค่าลดลงเหลือ 105º
 รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี 
นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น
สร้างจุดเด่นให้ข้อความ
29
วาดวงกลมล้อมรอบที่สูตรทั่วไปของโมเลกุล
แล้วระบายสีรูปร่างโมเลกุลให้สวยงาม
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
3) รูปร่างพีระมิดฐานสามเหลี่ยม (Trigonal pyramidal) : AX2E เช่น โมเลกุลของ NH3 เป็น
รูปร่างที่อะตอมกลางมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 5 สร้างพันธะเดี่ยวกับอะตอมของ H 3 พันธะ เหลือ
อิเล็กตรอนไม่ได้ร่วมพันธะ 1 คู่ (อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว) อิเล็กตรอนทั้ง 4 คู่รอบอะตอมกลาง (N) จะผลักกันให้
ห่างกันมากที่สุด แต่เนื่องจากแรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวกับอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ มีค่ามากกว่า
แรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะผลักกันเอง จึงทาให้มุมระหว่างพันธะ H – N ลดลงเหลือ 107.3๐
ตารางสรุปรูปร่างโมเลกุลและไอออนที่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
สูตร
จานวนคู่
อิเล็กตรอน
โดดเดี่ยว
รูปทรงที่ได้จาก
ไฮบริดออร์บิทัล
รูปร่างของโมเลกุล ตัวอย่าง
AX2E 1 สามเหลี่ยม รูป V SnCl2, SO2
AX3E 1 ทรงสี่หน้า พีระมิดฐานสามเหลี่ยม NH3, PCl3
AX4E 1 พีระมิดคู่ฐาน
สามเหลี่ยม
กระดานหก SF4, TeCl4
AX5E 1 ทรงแปดหน้า พีระมิดฐานจัตุรัส BrF3, IF5
AX2E2 2 ทรงสี่หน้า รูป V H2O, SCl2
AX3E2 2 พีระมิดคู่ฐาน
สามเหลี่ยม
รูป T BrF3, ClF3
AX4E2 2 ทรงแปดหน้า จัตุรัสระนาบ XeF4, ICl4
-
AX2E3 3 พีระมิดคู่ฐาน
สามเหลี่ยม
เส้นตรง I3
-
, XeF2
30
วาดแบบจาลองรูปร่างโมเลกุลด้านหลังชื่อรูปร่างโมเลกุล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น
เขียนรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
คาชี้แจง : ให้นักเรียนวาดรูปร่างโมเลกุล บอกจานวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ อิเล็กตรอนคู่โดดเดียว
สูตรทั่วไป และรูปร่างโมเลกุล ลงในตารางที่กาหนด
วาดโครงสร้างลิวอิส
PF3 CO2 SCl2
จานวนอิเล็กตรอนคู่
ร่วมพันธะ
จานวนอิเล็กตรอนคู่
โดดเดียว
สูตรทั่วไป
รูปร่างโมเลกุล
คาชี้แจง : เขียนตัวเลข จับคู่ความสัมพันธ์รูปร่างพันธะกับโมเลกุลโคเวเลนต์
........เส้นตรง 1. PF6
+
........สามเหลี่ยมแบนราบ 2. AsF5
........ทรงสี่หน้า 3. NH4
+
........พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม 4. CO2
........ทรงแปดหน้า 5. SO3
........มุมงอ 6. ICl3
........พีระมิดฐานสามเหลี่ยม 7. PCl3
........รูปตัวที 8. NO2
31
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....
การเกิดมุมระหว่างพันธะ
มุมระหว่างพันธะเกิดจากแรงผลักของอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะด้วยกัน หรืออิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
ด้วยกัน หรืออิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะกับอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว มีผลทาให้อะตอมมีทิศทางไปตามแรงผลัก
ทาให้ขนาดของมุมมีค่าต่างกัน
มุมระหว่างพันธะ มุมจะแคบหรือกว้างขึ้นอยู่กับแรงดึงดูดระหว่างอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะของธาตุ
และค่าของแรงดึงดูดอิเล็กตรอนเรียกว่า ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี หรือEN ของอะตอมกลาง ถ้ามีค่ามากกว่า
อะตอมที่ล้อมรอบมุมจะกว้าง ค่าEN ของอะตอมกลางมีค่าน้อยกว่าอะตอมที่มาล้อมรอบ มุมจะแคบ
ที่มา: http://www.kme10.com/chemicalbond/index.html
สรุปการเกิดมุมระหว่างพันธะโคเวเลนซ์ได้ดังนี้
 มุมระหว่างพันธะพิจารณาที่ระยะห่างของอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะเป็นเกณฑ์ กล่าวคือ ถ้าอิเล็กตรอนคู่
ร่วมพันธะอยู่ห่างอะตอมมากมุมแคบ และอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะอยู่ใกล้อะตอมกลางมุมกว้าง
 มุมระหว่างพันธะเปลี่ยนแปลงตามค่า EN ของอะตอมกลาง ค่าEN ของอะตอมกลางมีค่ามากกว่าอะตอม
ที่ล้อมรอบมุมกว้าง ค่าEN ของอะตอมกลางมีค่าน้อยกว่าอะตอมที่มาล้อมรอบ มุมแคบ
 รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี 
นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น
สร้างจุดเด่นให้ข้อความ
รู้หรือเปล่า ว่าแต่ละ
ธาตุมีค่าEN เท่าไหร่
32
ภาพตัวอย่างมุมพันธะโคเวเลนต์
ลากเส้นหยักใต้คาว่า มุมแคบ ลากเส้นโค้งใต้คาว่า มุมกว้าง สร้างจุดเด่นให้ข้อความ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx

Contenu connexe

Tendances

ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกPat Jitta
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfKatewaree Yosyingyong
 

Tendances (20)

ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 

Similaire à ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx

แบบทดสอบสังเคราะห์แสง
แบบทดสอบสังเคราะห์แสงแบบทดสอบสังเคราะห์แสง
แบบทดสอบสังเคราะห์แสงWichai Likitponrak
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตAey Usanee
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์Worawalanyrc
 
วิทย์ทั่วไป
วิทย์ทั่วไปวิทย์ทั่วไป
วิทย์ทั่วไปshanesha
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าJiraporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าJiraporn
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)Thitaree Samphao
 

Similaire à ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx (15)

Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
แบบทดสอบสังเคราะห์แสง
แบบทดสอบสังเคราะห์แสงแบบทดสอบสังเคราะห์แสง
แบบทดสอบสังเคราะห์แสง
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
Bibliography language
Bibliography languageBibliography language
Bibliography language
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
วิทย์ทั่วไป
วิทย์ทั่วไปวิทย์ทั่วไป
วิทย์ทั่วไป
 
Sci
SciSci
Sci
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st centuryToolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
 

Plus de พนภาค ผิวเกลี้ยง

มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรีแบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรีพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมแบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมพนภาค ผิวเกลี้ยง
 

Plus de พนภาค ผิวเกลี้ยง (14)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
 
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรีแบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
 
รายละเอียดการเข้าประกวด pbl
รายละเอียดการเข้าประกวด pblรายละเอียดการเข้าประกวด pbl
รายละเอียดการเข้าประกวด pbl
 
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมแบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
 
ประกาศผลโควตา
ประกาศผลโควตาประกาศผลโควตา
ประกาศผลโควตา
 
การใช้Wordpress
การใช้Wordpressการใช้Wordpress
การใช้Wordpress
 

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx

  • 3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... คานา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้น ชุดที่ 1 เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ เล่มนี้ จัดทามีจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และมุ่งหวังให้นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจ เรื่องพันธะ โคเวเลนต์ โดยนักเรียนจะได้เรียนรู้จากกิจกรรมที่หลากหลาย ซึ่งกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนได้ ปฏิบัติเองตามความถนัด คือ กิจกรรม รู้ จา ด้วยภาพ เส้น และสี เนื่องจากการสร้างรูปภาพ สัญลักษณ์ ต่าง ๆ ทาให้นักเรียนเกิดความเข้าใจได้มากกว่าตัวอักษรจานวนมาก และกิจกรรมส่งเสริม การเรียนรู้ให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเรียนที่เกี่ยวเนื่องกับสาระการเรียนรู้ ซึ่งกิจกรรมที่ กาหนดให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติมีทั้งส่งเสริม การอ่าน การเขียน การพูด และการคิดวิเคราะห์ และมีรูปแบบการทากิจกรรมด้วยตนเองและเป็นกลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับพฤติกรรมและความสามารถ ของนักเรียนที่มีความหลากหลาย ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดนี้สาเร็จลงได้ ต้องขอขอบคุณ ผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน คณะครูและนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระปิยมหาราชรมณียเขตที่มีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็น หวัง เป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการ เรียนรู้ของนักเรียนและอาจเป็นแนวทางในการออกแบบสื่อการเรียนรู้สาหรับคุณครู อรอุมา อัญชลีสถาพร
  • 4. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... สารบัญ หน้า คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรม 1 สาระการเรียนรู้ เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ 3 แบบทดสอบก่อนเรียน 5 พันธะเคมี 7 การเกิดพันธะโคเวเลนต์ 8 ความยาวพันธะ และพลังงานพันธะ 17 รูปร่างและขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ 24 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ 37 แบบประเมินตนเองเกี่ยวกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้น 40 แบบทดสอบหลังเรียน 41 เฉลยกิจกรรม 43 บรรณานุกรม
  • 5. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... โครงสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้น ชุดที่ 1 : เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ 1. ชุดกิจกรรมนี้ประกอบด้วย กิจกรรม 1.1 การทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน 1.2 การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของตนเอง 1.3 กิจกรรม รู้ – จา ด้วยเส้นสี : เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนใช้สีในการขีดเส้น เน้นข้อความ วาดรูปทาสัญลักษณ์เพื่อให้เห็นข้อมูลที่นักเรียนคิดว่าสาคัญ โดยมีสัญลักษณ์ ดังนี้ และสัญลักษณ์ จะช่วยเตือนให้นักเรียนทาสัญลักษณ์สร้างจุดเด่นให้ข้อความตามคาสั่งต่างๆ 1.4 กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น : เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนทากิจกรรมตามคา บอกเล่าโดยมีสัญลักษณ์ดังนี้ 1.5 กิจกรรมลองคิด..ลองทา : เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดเพื่อฝึกทักษะการคิดและ ทดสอบความเข้าใจของนักเรียนเอง 2. อ่าน เขียน ปฏิบัติ อย่างรอบคอบในทุกกิจกรรม 3. ใช้เวลาในการเรียนรู้อย่างคุ้มค่า 4. เมื่อนักเรียนทากิจกรรมในชุดกิจกรรมนี้สมบูรณ์แล้วให้นักเรียนไปรับเอกสารเฉลยคาตอบของ กิจกรรมต่าง ๆ ในชุดกิจกรรมนี้ ขอให้นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์จากชุดกิจกรรมนี้อย่างมีความสุข เกิดความรู้ที่คงทน ตลอดไป ครูอรอุมา อัญชลีสถาพร นักเรียนควรศึกษาผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลาที่ใช้ก่อน เพื่อนักเรียนจะได้ทราบจุดมุ่งหมาย ในการเรียน อ่านและทาความเข้าใจ ข้อแนะนาการเรียนรู้จาก ชุดกิจกรรมนี้ให้ชัดเจนคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรม ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบ กระตือรือร้นที่จัดทาขึ้นนี้มีจุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และมุ่งหวังให้ นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจ เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ โดยนักเรียนจะได้เรียนรู้ จากกิจกรรมที่หลากหลาย 1
  • 6. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึด เหนี่ยวระหว่างอนุภาคมีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายการเกิดพันธะโคเวเลนต์และระบุชนิดของพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลพร้อมทั้งแสดง โครงสร้างของโมเลกุลโคเวเลนต์ด้วยโครงสร้างลิวอีส 2. เขียนสูตรและเรียกชื่อสารโคเวเลนต์ได้ 3. ใช้ความรู้เรื่องความยาวพันธะและพลังงานพันธะระบุชนิดของพันธะโคเวเลนต์และใช้ค่าพลังงาน พันธะคานวณหาพลังงานที่เปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาได้ 4. ทานายรูปร่างของโมเลกุลโคเวเลนต์ เมื่อทราบจานวนพันธะและจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบ อะตอมกลางได้ 5. อธิบายสภาพขั้วและทิศทางของขั้วของพันธะโคเวเลนต์และของโมเลกุลโคเวเลนต์ได้ 6. ระบุชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างแรงยึด เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลกับจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารโคเวเลนต์ได้ 7. บอกสมบัติที่แตกต่างกันของสารโคเวเลนต์ประเภทโมเลกุลมีขั้ว ไม่มีขั้วและโครงผลึกร่างตาข่ายได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกเหตุผลที่แสดงว่ามีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารหรือพันธะเคมีได้ 2. อธิบายการสร้างพันธะโคเวเลนต์ และระบุชนิดของพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลได้ 3. เขียนสูตรโครงสร้าง สูตรโมเลกุลและเรียกชื่อสารโคเวเลนต์ได้ 4. บอกความหมายของความยาวพันธะ และพลังงานพันธะได้ 5. คานวณหาพลังงานพันธะในโมเลกุลโคเวเลนต์ได้ 6. บอกรูปร่างของโมเลกุลโคเวเลนต์ และทานายรูปร่างโมเลกุล เมื่อทราบจานวนอิเล็กตรอนคู่ร่วม พันธะ และอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวได้ 7. บอกมุมระหว่างพันธะของโมเลกุลโคเวเลนต์ได้ 8. บอกสภาพขั้วพันธะโคเวเลนต์ได้ 9. จาแนกโมเลกุลโคเวเลนต์เป็นโมเลกุลมีขั้วกับโมเลกุลไม่มีขั้วได้ 10. อภิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือด หรือจุดหลอมเหลวกับแรงยึดเหนี่ยวของสารประกอบ โคเวเลนต์ได้ 11. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเกิดพันธะไฮโดรเจนในสารประกอบโคเวเลนต์ได้ 12. บอกความสัมพันธ์ระหว่างพันธะโครงผลึกร่างตาข่าย กับจุดเดือด และจุดหลอมเหลวได้ 2
  • 7. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... เวลาที่ใช้ในการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : พันธะโคเวเลนต์ จานวน 10 ชั่วโมง เรื่องที่ 1 การเกิดพันธะโคเวเลนต์ จานวน 3 ชั่วโมง เรื่องที่ 2 ความยาวพันธะ และพลังงานพันธะ จานวน 2 ชั่วโมง เรื่องที่ 3 รูปร่างและมุมของโมเลกุลโคเวเลนต์ จานวน 3 ชั่วโมง เรื่องที่ 4 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ จานวน 2 ชั่วโมง สื่อ-อุปกรณ์ 1. สีไม้หรือสีอื่น ๆ 2. ปากกาแดง ปากกาน้าเงิน ดินสอ 3. กาว 4. กรรไกร 5. กล้องถ่ายภาพดิจิตอล 6. เครื่องพิมพ์เอกสาร การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. การทากิจกรรมตามชุดกิจกรรม 2. ความสมบูรณ์ของชุดกิจกรรม 3. ผลการทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน 4. การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของตนเอง 3
  • 8. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... เรื่องที่ 1 การเกิดพันธะโคเวเลนต์ เรื่องที่ 2 ความยาวพันธะ และพลังงานพันธะ เรื่องที่ 3 รูปร่างและมุมของโมเลกุลโคเวเลนต์ เรื่องที่ 4 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ และ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ 4
  • 9. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ 1. พันธะเคมี หมายถึง อะไร ก. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม ข. พลังงานที่ทาให้อะตอมสลายตัว ค. การอยู่รวมกันของอะตอม ง. การอยู่รวมกันของโมเลกุล 2. เพราะเหตุใด อโลหะจึงยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ ก. อโลหะมีค่า EN สูงเสียอิเล็กตรอนง่าย ข. อโลหะมีค่า EN สูงเสียอิเล็กตรอนยาก ค. อโลหะมีค่า EN ต่าเสียอิเล็กตรอนยาก ง. อโลหะมีค่า EN ต่าเสียอิเล็กตรอนง่าย 3. สารประกอบใดมีพันธะคู่ระหว่างอะตอม ก. O2 ข. Cl2 ค. H2 ง. N2 4. สารประกอบโคเวเลนต์ใดต่อไปนี้ ที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวเหลือ 2 คู่ ก. NH3 ข. PCl3 ค. H2S ง. SO2 5.ในการรวมตัวกันเป็นสารประกอบต่อไปนี้ ข้อใดไม่เป็นไปตามกฎออกเตต ก CCl4 ข. SiH4 ค. PCl5 ง. PH3 6. ธาตุ X มีเลขอะตอมเท่ากับ 17 เมื่อรวมตัวกับ Cl เกิดเป็นสารประกอบโคเวเลนต์มีสูตรอย่างไร ก. XCl ข. X2Cl ค. XCl2 ง. XCl3 7. ข้อใดอ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ได้ถูกต้อง ก. P4O10 อ่านว่า ไตรฟอสฟอรัสเฮกซะออกไซด์ ข. Cl2O10 อ่านว่า ไดคลอรีนเพนตะออกไซด์ ค. PCl5 อ่านว่า ฟอสฟอรัสเฮกซะคลอไรด์ ง. Cl2O อ่านว่า ไดคลอรีนมอนอกไซด์ 8. สาร X , Y , Z มีพลังงานพันธะเป็น 120 , 200 , 90 kJ/mol ตามลาดับ จงเรียงความยาวพันธะจากน้อยไป มาก ก. X , Y , Z ข. Z , Y , X ค. Y , X , Z ง. Z , X , Y 9. กาหนดพลังงานพันธะให้ดังนี้ H-H = 436kJ/mol Cl-Cl =242 kJ/mol H-Cl = 431kJ/mol จงคานวณปริมาณความร้อนที่เปลี่ยนไปเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ H2 (g) + Cl2 (g) 2HCl ก.ดูดความร้อนเท่ากับ174 kJ ข.คายความร้อนเท่ากับ174 kJ ค.ดูดความร้อนเท่ากับ184 kJ ง.คายความร้อนเท่ากับ184 kJ 5
  • 10. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... 10. มุมระหว่างพันธะโมเลกุลใดมีมุมน้อยสุด ก. CH4 ข. BF3 ค. NH3 ง. CO2 11. สารประกอบ PCl3 ควรมีรูปร่างอย่างไร ก. สามเหลี่ยมแบราบ ข. ปิรามิดฐานสามเหลี่ยม ค. รูปตัวที ง. ทรงสี่หน้า 12. ถ้า A , B และ C เป็นสารโคเวเลนต์ มีสถานะเป็นของเหลว โมเลกุลของสาร A และ B มีขั้ว ส่วนโมเลกุล ของสาร C ไม่มีขั้ว สารใดสามารถละลายน้าได้ ก. สาร C ข. สาร A และ C ค. สาร B และ C ง. สาร A เเละ B 13. สารใดต่อไปนี้เป็นโมเลกุลโคเวเลนต์มีขั้ว ก. BF3 ข. SF6 ค. CO2 ง. CH3F 14. ข้อใดเป็นแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล ก.พันธะโคเวเลนต์ ข. พันธะไฮโดรเจน ค. พันธะโลหะ ง. พันธะไอออนิก 15. เหตุใดสารโคเวเลนต์ จึงมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่า ก. มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย ข. สลายตัวได้ง่าย ค. ไม่มีประจุไฟฟ้า ง. มีโมเลกุลขนาดเล็ก 6
  • 11. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... พันธะเคมี (Chemical Bond) หมายถึง แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม ตั้งแต่2 อะตอม หรือ ไอออนเข้าไว้ด้วยกันเป็นโมเลกุลหรือเป็นกลุ่มของอะตอม ทั้งนี้ แรงยึดเหนี่ยวจะขึ้นอยู่กับ อิเล็กตรอนวงนอก ของอะตอม (Valence Electron) เท่านั้น มีการถ่ายโอนหรือการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันทาให้เกิดพันธะเคมีที่มี การจัดเรียงอิเล็กตรอนให้เกิดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะขึ้นมา ทาให้โมเลกุลที่เกิดขึ้นมีความเสถียรขึ้น โดยทั่วไปอะตอมของธาตุเมื่ออยู่ลาพังจะพยายามจัดตัวเอง อาจมีการรวมกับอะตอมของ ธาตุชนิด เดียวกัน หรือรวมกับอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน เพื่อให้มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดให้เหมือน กับแก๊สเฉื่อย ซึ่งมี การจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในลักษณะที่มีความเสถียร กล่าวคือ จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอม เท่ากับ 8 (ยกเว้น He ที่มีจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 ที่มีความเสถียรแล้ว) ซึ่งอะตอมอาจทาได้ดังนี้ 1. ให้อิเล็กตรอนแก่อะตอมอื่น 2. รับอิเล็กตรอนจากอะตอมอื่น 3. ใช้อิเล็กตรอนร่วมกับอะตอมอื่น พันธะเคมีที่จะกล่าวถึงในหน่วยนี้ได้แก่พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ พันธะโลหะและอิเล็กตรอนที่กล่าวถึง จะเป็นอิเล็กตรอนที่อยู่วงนอกสุดเท่านั้น กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น กิจกรรม: เขียนผังมโนทัศน์ คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนผังมโนทัศนความรู้เกี่ยวกับพันธะเคมีลงในช่องว่างที่กาหนดแล้วพูดให้เพื่อนฟัง1 คน  รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี  นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น สร้างจุดเด่นให้ข้อความ 7 ทาสัญลักษณ์สร้างจุดเด่นให้ข้อความนะค่ะ
  • 12. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) เกิดจากอะตอมของธาตุอโลหะ รวมกับอะตอมของธาตุอโลหะเป็นโมเลกุล โดยการนาเวเลนซ์อิเล็กตรอน(Valence electron) มาใช้ร่วมกันเป็นคู่ๆ เพื่อให้อิเล็กตรอนวงนอกสุดเท่ากับ 8 หรือเป็นไปตามกฎออกเตต คล้ายกับการจัดเรียงตัวของแก๊สเฉื่อย โดยจะเกิดกับธาตุอโลหะกับธาตุอโลหะ ซึ่ง เป็นธาตุที่มีค่าENสูง ภาพอะตอมของไฮโดรเจน ภาพแรงดึงดูดระหว่างอะตอมของไฮโดรเจน การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ภาพตารางธาตุแสดงค่าอิเล็กโทรเนกาติวีตี (EN) ที่มา: http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/2/4/atom/Table-2.htm การเกิดพันธะของธาตุไฮโดรเจน อะตอมเข้าใกล้กันจะมีแรงดึงดูดทาให้เกิดเป็นโมเลกุลของแก๊สไฮโดรเจนเมืออะตอมเข้าใกล้กันจะมี แรงที่เกี่ยวข้องกันระหว่างอะตอม แรงดึงดูดระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับนิวเคลียสของอีกอะตอม หนึ่ง แรงผลักของอิเล็กตรอนทั้ง 2 อะตอมแรงผลักระหว่างนิวเคลียสทั้ง 2 อะตอม ที่มา: http://www.4shared.com/web/preview/doc  รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี  นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น สร้างจุดเด่นให้ข้อความ อิเล็กโทรเนกาติวีตี (EN) อิเล็กโทรเนกาติวิตี คือ ค่าความสามารถใน การดึงอิเล็กตรอนของอะตอมที่รวมกันเป็น สารประกอบ ธาตุที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวีตีสูง จะดึงอิเล็กตรอนดีกว่าธาตุที่มีค่าอิเล็กโทรเนกา ติวีตีต่ากว่า ไลนัส พอลิง( Linus Pauling) นัก เคมีชาวอเมริกา เป็นคนแรกที่ได้กาหนดค่าอิ เล็กโทรเนกาติวีตีของธาตุขึ้น แต่พอลิงไม่ได้ คานวณหาค่าอิเล็กโทรเนกาติวีตีของก๊าซเฉื่อย ไว้ เพราะก๊าซเฉื่อยทาปฏิกิริยาเกิดเป็น สารประกอบได้ยาก 8 อย่าลืมทาสัญลักษณ์สร้างจุดเด่นให้ข้อความนะค่ะ
  • 13. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... ขณะที่อะตอมเคลื่อนที่เข้าหากันพลังงานศักย์ของอะตอมจะลดต่าลงเรื่อยๆ จนกระทั่งอะตอมเข้าใกล้กัน มากที่สุด มีพลังงานลดลงจากเดิม 436 กิโลจูล และระยะห่างระหว่างนิวเคลียสเท่ากับ 148 พิโกเมตร หรือ รัศมีโคเวเลนต์ เท่ากับ 74 พิโกเมตร จะอยู่ในภาวะที่เสถียรที่สุด เป็นภาวะที่มีความสมดุลระหว่างแรง ดึงดูดกับแรงผลัก และใช้อิเล็กตรอนคู่ร่วมกันในการส่งแรงไปดึงดูดนิวเคลียส ซึ่งกันและกัน เรียกว่า การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ภาพแสดงพลังงานศักย์กับระยะห่างระหว่างนิวเคลียสของไฮโดรเจน ที่มา: http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1171 ทบทวนความรู้เดิม ให้นักเรียนเขียนวงกลมล้อมธาตุที่มีสมบัติเป็นอโลหะ F Na Cl O K C S Br Co P ตอบถูก…........ตัว เฉลยคาตอบข้อ1=7,2=7,3=6,4=45=6,6=5 1. F มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ.......................... 2. Cl มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ.......................... 3. O มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ.......................... 4. C มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ.......................... 5. S มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ.......................... 6. P มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ.......................... ทาด้วยตัวเอง ก่อนอย่าพึ่งดู เฉลยนะครับ ถ้านิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจนทั้ง 2 อะตอมเข้าใกล้กันมากกว่านี้จะมีผลอย่างไร? 9
  • 14. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... การเกิดโมเลกุลโคเวเลนต์ 1. เกิดจากอะตอมของธาตุประเภทอโลหะ ซึ่งส่วนใหญ่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 4-7 หรือธาตุที่มีค่าอิเล็กโทร เนกาตีวิตีสูงมีค่ามากกว่า 2 ขึ้นไป นาเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาใช้ร่วมกันเป็นคู่ๆ เรียกว่า “อิเล็กตรอนคู่ร่วม พันธะ (bonded pair electrons) เพื่อให้มีอิเล็กตรอนวงนอกสุด ครบ 8 ส่วนอิเล็กตรอนคู่ที่ไม่ได้ใช้สร้าง พันธะเรียกว่า “อิเล็กตรอนคู่โดดเดียว (lone pair electrons) 2. จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน ที่แต่ละอะตอมใช้สร้างพันธะ คือจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่ไม่ครบ 8 3. ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ แบ่งตามจานวนอิเล็กตรอนที่ใช้สร้างพันธะได้ 3 ชนิด 1) พันธะเดี่ยว (Single bond) เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนสร้างพันธะร่วมกัน 1 คู่ 2) พันธะคู่ ( Double bond ) เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนสร้างพันธะร่วมกัน 2 คู่ 3) พันธะสาม ( Triple bond ) เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนสร้างพันธะร่วมกัน 3 คู่ 4. โมเลกุลโคเวเลนต์มีทั้งโมเลกุลของธาตุและสารประกอบ 1.1 โมเลกุลของธาตุ เช่น O2 , N2 , H2 , Cl2 1.2 โมเลกุลของสารประกอบ เช่น HCl , NH3 , CO2 5. ความเป็นโคเวเลนต์ของโมเลกุล โมเลกุลจะมีความเป็นโคเวเลนต์มากเมื่อธาตุที่มาสร้างพันธะต่อกันมี ความเป็นอโลหะมาก หรือมีผลต่างของค่าEN น้อย เช่น Cl2 เป็นโคเวเลนต์มากกว่า HCl เพราะ Cl2 มี ผลต่างค่าEN =0 HCl ผลต่างของค่า EN = 0.96 การเขียนสูตรสารประกอบโคเวเลนต์  สูตรโมเลกุล เขียนแสดงจานวนอะตอมของธาตุ เช่น H2O ประกอบด้วย ธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม ธาตุออกซิเจน 1 อะตอม PCl3 ประกอบด้วย ธาตุฟอสฟอรัส 1 อะตอม ธาตุคลอรีน 3 อะตอม  โครงสร้างลิวอิสแบบจุด เขียนจุดรอบสัญลักษณ์แสดงจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน โดยเขียนเวเลนซ์ อิเล็กตรอนคู่ทีสร้างพันธะไว้ระหว่างอะตอม ส่วนอิเล็กตรอนที่ไม่ได้สร้างพันธะเขียนเป็นคู่ๆรอบสัญลักษณ์ของ ธาตุโดยใช้จุด () แทนอิเล็กตรอน 1 ตัว C มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 4 เขียนสัญลักษณ์แบบจุดคือ ตัวอย่าง  รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี  นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น สร้างจุดเด่นให้ข้อความ โมเลกุลของออกซิเจน(O2) โมเลกุลคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) โมเลกุลเอทิลีน (C2H4 ) 10 ให้วงรอบคาว่า “โคเวเลนต์ ”ด้วยสีแดง ขีดส้นใต้คาว่า “อิเล็กตรอน”ด้วยสีน้าเงิน
  • 15. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... ในการเขียนสูตรโครงสร้างเขียนธาตุที่สร้างพันธะได้หลายพันธะ เป็นอะตอมกลาง ธาตุ H หรือธาตุหมู่ VIIA เขียนเป็นอันดับสุดท้าย ให้นักเรียนเขียนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุโดยใช้สัญลักษณ์แบบจุดล้อมรอบธาตุที่กาหนดให้ Li Be B C N O F Na Mg Al Si P S Cl  โครงสร้างลิวอิสแบบเส้น เขียนเส้นตรง 1 เส้น แทนจานวนอิเล็กตรอนที่ใช้รวมกัน 1 คู่ เขียนเส้นตรง 2 เส้น แทนจานวนอิเล็กตรอนที่ใช้รวมกัน 2 คู่ เขียนเส้นตรง 3 เส้น แทนจานวนอิเล็กตรอนที่ใช้รวมกัน 3 คู่ เช่น ตัวอย่าง สูตรโครงสร้างแบบเส้นของ PCl3 สูตรโครงสร้างแบบเส้นของ HCl โมเลกุลคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) โมเลกุลเอทิลีน (C2H4 )โมเลกุลไฮโดรเจน โครงสร้างลิวอิสแบบจุด โครงสร้างลิวอิสแบบเส้น 11
  • 16. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น กิจกรรม : เขียนสูตรโครงสร้างลิวอิสของสารประกอบโคเวเลนต์ คาชี้แจง: ให้นักเรียนเขียนสูตรโครงสร้างลิวอิสของสารประกอบโคเวเลนต์ ทั้งโครงสร้างแบบจุด และ โครงสร้างแบบเส้นในช่องว่าง ตัวอย่าง CO2 CH4 PCl5 N2 ศึกษาจากตัวอย่างให้เข้าใจก่อน นะครับ แล้วเขียนลงในกรอบที่ กาหนดให้ 12 โครงสร้างแบบจุด โครงสร้างแบบเส้น
  • 17. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น อะตอมที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต โมเลกุลส่วนใหญ่ที่ อะตอมภายในโมเลกุล มีการสร้างแบบโคเวเลนต์ธรรมดา แต่มีบางชนิดสร้างพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ (Coordinate covalent bond) โคเวเลนต์ กับโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ แตกต่างกันอย่างไร? ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… โมเลกุลโคเวเลนต์ที่การรวมตัวไม่เป็นไปตามกฎออกเตต โมเลกุลโคเวเลนต์ที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต มี 2 ลักษณะ คือ ⊗ อะตอมกลางไม่ครบออกเตตเกิดจากธาตุหมู่ 2 ,3 ได้แก่ Be, B เช่น BeCl2 ,BCl3 ⊗ อะตอมกลางมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเกินออกเตตเกิดจากธาตุหมู่ 5 ,6 ได้แก่ เช่น PCl5, SF6 คาชี้แจง: ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆเรื่องพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ นามาเขียนสรุปใจความสาคัญแล้วให้เพื่อนอ่านอย่างน้อย 1 คน 13
  • 18. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์.....  เขียนสัญลักษณ์ของธาตุที่มีค่าENต่าก่อน (H เขียนไว้หลัง ธาตุหมู่ IIIA,IVA,VA)  เขียนอิเล็กตรอนที่ใช้สร้างพันธะบนสัญลักษณ์แต่ละธาตุ เช่น H1 ,O2  นาตัวเลขด้านบนของธาตุมาไขว้ไว้ด้านล่างของธาตุที่เกิดพันธะ เช่น H1 O2 H1 O2 H2O เทคนิคการเขียนสูตรโมเลกุล ตัวอย่าง ธาตุคู่สร้างพันธะ สูตรโมเลกุล C4 + S2 CS2 P3 + Cl1 PCl3 N3 + O2 N2O3 P3 + H1 PH3 Si4 + H1 SiH4 สรุปจานวนพันธะของธาตุอโลหะบางชนิด ธาตุ หมู่A โครงสร้างแบบเส้น H - H- C IV - C - , = C= , - C= N V N= , N= , - N- O VI - O - , O= Cl VII Cl-  รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี  นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น สร้างจุดเด่นให้ข้อความ X Y มีเลขอะตอม 15 และ 35 ตามลาดับ ถ้าเกิดกับ Cl จะมีสูตรอย่างไร วิธีทา X มีเลขอะตอม 15 จัดเรียงอิเล็กตรอน 2,8,5 อยู่หมู่ 5 ต้องการอิเล็กตรอนที่ใช้สร้าง พันธะ 3 Cl อยู่หมู่ 7 ต้องการอิเล็กตรอนที่ใช้สร้างพันธะ 1 ดังนั้น X3 Cl1 นาตัวเลขมาคูณไขว้ จะได้ XCl3 Y มีเลขอะตอม 35 จัดเรียงอิเล็กตรอน 2,8,18,7 อยู่หมู่ 7 ต้องการอิเล็กตรอนที่ใช้ สร้างพันธะ 1 Cl อยู่หมู่ 7 ต้องการอิเล็กตรอนที่ใช้สร้างพันธะ 1 ดังนั้น Y1 Cl1 นาตัวเลขมาคูณไขว้ จะได้ YCl ตอบ X Y มีสูตร XCl3 และ YCl 14 วงรอบสูตรโมเลกุลของ สารประกอบด้วยปากกาสีแดง
  • 19. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... 1. ให้อ่านจานวนอะตอมของธาตุตัวแรกเป็นภาษากรีก (ถ้าอะตอมเท่ากับ 1 ไม่ต้องอ่าน) 2. อ่านชื่อธาตุตัวแรก 3. อ่านจานวนอะตอมของธาตุที่2เป็นภาษากรีก (ถ้าอะตอมเท่ากับ 1 ต้องอ่านด้วย) 4.อ่านชื่อธาตุที่2 แล้วเปลี่ยนท้ายเสียงเป็น ไ-ด์ (-ide) จานวน อะตอม ภาษากรีก คาอ่าน 1 mono มอนอ 2 di ได 3 tri ไตร 4 tetra เตตระ 5 penta เพนตะ 6 hexa เฮกซะ 7 hepta เฮปตะ 8 octa ออกตะ 9 nona โนนะ 10 deca เดคะ สูตรโมเลกุล ชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ CO2 คาร์บอนไดออกไซด์ SF6 ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ N2O ไดไนโตรเจนมอนอกไซด์ BF3 โบรอนไตรฟลูออไรด์ SiCl4 ซิลิคอนเตตระคลอไรด์ N2O3 ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ GeH4 เจอร์เมเนียมเตตระไฮไดรด์ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น กิจกรรม : เขียนสูตรโมเลกุลโคเวเลนต์ คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ 1. เติมคาตอบที่ถูกต้องลงในตาราง ธาตุ โมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ H กับ S C กับ F Si กับ Cl 2. X และ Y มีเลขอะตอม 16 และ 35 เกิดสารประกอบกับ ออกซิเจน (O) จะมีสูตรอย่างไร  ................................................................................................................... ................................................................................................................... การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ประเภทธาตุคู่ ขั้นตอนการอ่านชื่อ 15 ระบายสีที่ชื่อสารประกอบโคเวเลนต์
  • 20. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น กิจกรรม : อ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ คาชี้แจง : ให้นักเรียนวงกลมคาอ่านจานวนอะตอมที่ผิดแล้วแก้ไขด้วยปากกาสีแดง วงกลม จานวนอะตอมที่ถูกต้อง ด้วยปากกาสีน้าเงิน ตัวอย่าง N2O อ่านว่า ไตรไนโตรเจนมอนอกไซด์ ได  P4O10 อ่านว่า ไตรฟอสฟอรัสเฮกซะออกไซด์  Cl2O10 อ่านว่า ไดคลอรีนเพนตะออกไซด์  SI2 อ่านว่า ซัลเฟอร์ไดไอโดไดด์  PCl5 อ่านว่า ฟอสฟอรัสเฮกซะออกไซด์  Cl2O อ่านว่า ไดคลอรีนไดออกไซด์ คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้แล้วอ่านให้เพื่อนฟังอย่างน้อย 1 คน N2O5 อ่านว่า …………………………………………………………………………………………… P4O10 อ่านว่า …………………………………………………………………………………………… OF2 อ่านว่า …………………………………………………………………………………………… CCl4 อ่านว่า …………………………………………………………………………………………… PCl3 อ่านว่า ………………………………………………………………………………………..…… NO อ่านว่า …………………………………………………………………………………………… NO2 อ่านว่า …………………………………………………………………………………………… เอ!ตอบถูกหรือ เปล่า ทบทวน อีกครั้งดีกว่า 16
  • 21. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... ภาพพลังงานศักย์กับระยะห่างระหว่างนิวเคลียสของไฮโดรเจน ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ ที่มา: http://www.vcharkarn.com/lesson/1171 ตารางแสดงความยาวพันธะระหว่าง O - H ในโมเลกุลของสารต่างชนิดกัน สาร สูตรโมเลกุล ความยาวพันธะ O-H (pm) น้า H2O 95.8 เมทานอล CH3OH 95.6 เมื่อพิจารณาข้อมูลในตารางจะพบว่า ความยาวพันธะระหว่างอะตอม O และ H ในโมเลกุลของสาร ต่างชนิดกันจะมีค่าแตกต่างกัน เพราะฉะนั้นความยาวพันธะระหว่างอะตอมคู่หนึ่งหาได้จากค่าเฉลี่ยของความ ยาวพันธะระหว่างอะตอมคู่เดียวกันในโมเลกุลต่างๆดังนั้นเมื่อกล่าวถึงความยาวพันธะ โดยทั่วไปจึงหมายถึง “ความยาวพันธะเฉลี่ย” จากรูปการเกิดโมเลกุลของก๊าซไฮโดรเจน นั้นอะตอมของไฮโดรเจนจะเคลื่อนที่ใกล้กันได้ มากที่สุดและจะเกิดสมดุลระหว่างแรงดึงดูด กับแรงผลักที่ระยะ 74 พิโกเมตร ถ้าเข้าใกล้ กันมากกว่านี้ แรงผลักจะเพิ่มมากขึ้นและ โมเลกุลจะไม่เสถียร ระยะ 74 พิโกเมตรจึง เป็นระยะที่สั้นที่สุดที่นิวเคลียสของอะตอมทั้ง สองสร้างพันธะกันในโมเลกุล ระยะนี้จึง เรียกว่า “ความยาวพันธะ” ความยาวพันธะ หาได้จากการศึกษาการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ (X-ray diffraction) ผ่านโครงผลึกของสาร หรือจากการศึกษาวิเคราะห์สเปกตรัมของ โมเลกุลของสาร ความยาวพันธะ (bond length) เป็นระยะห่าง ระหว่างนิวเคลียสของธาตุ 2 อะตอม ที่สร้าง พันธะต่อกันเกิดเป็นโมเลกุล  รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี  นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น สร้างจุดเด่นให้ข้อความ 17
  • 22. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น กิจกรรม : เรียงลาดับความยาวพันธะโคเวเลนต์ ตารางแสดงความยาวพันธะเฉลี่ย (ในหน่วย pm) ระหว่างอะตอมคู่ต่างๆ ที่มา: http://writer.dekd.com/kpmynpm/story/viewlongc.php?id คาชี้แจง : ให้เรียงลาดับความยาวพันธะโคเวเลนต์โดยใส่หมายเลข 1-2 หรือ3 ลงในช่อง แสดงขนาดอะตอม ใหญ่ เล็ก ใหญ่ 1. 2. 3. C-P C-C C-N C=C C=O C=C N=N C N O Si P C=N O=O 18 S
  • 23. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... พลังงานพันธะ พลังงานปริมาณน้อยที่สุดที่ใช้เพื่อสลายพันธะระหว่างอะตอมภายในโมเลกุลที่อยู่ภายในสถานะแก๊ส ให้เป็นอะตอมเดี่ยวในสถานะแก๊ส เรียกว่า พลังงานพันธะ ( bond energy ) สาหรับโมเลกุลที่ประกอบด้วยอะตอมมากกว่าสองอะตอมจะมีพันธะในโมเลกุลมากกว่าหนึ่งพันธะ การทาให้โมเลกุลสลายเป็นอะตอมเดี่ยวจึงต้องใช้พลังงานสูงเพื่อสลายพันธะจานวนหลายพันธะ เช่นการสลาย พันธะ C-H ในโมเลกุลของมีเทน (CH4) ใช้พลังงาน ดังนี้ CH4 (g) + 435 kJ CH3 (g) + H (g) CH3 (g) + 453 kJ CH2 (g) + H (g) CH2 (g) + 425 kJ CH (g) + H (g) CH (g) + 339 kJ C (g) + H (g) การสลายพันธะ C-H ในโมเลกุลมีเทนแต่ละพันธะใช้พลังงานไม่เท่ากัน ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงพลังงาน พันธะใดจึงหมายถึง “พลังงานพันธะเฉลี่ย” ตารางแสดงพลังงานพันธะเฉลี่ย (ในหน่วย kJ/mol) ระหว่างอะตอมคู่ต่างๆ ที่มา: http://writer.dek-d.com/kpmynpm/story/  รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี  นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น สร้างจุดเด่นให้ข้อความ 19 วาดรูปสี่เหลี่ยมที่ พลังงานพันธะค่ะ
  • 24. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น กิจกรรม : เปรียบเทียบความยาวและพลังงานพันธะ ภาพความยาวพันธะ และพลังงานพันธะของโมเลกุลโคเวเลนต์ สรุปความยาวพันธะและพลังงานพันธะ ถ้าความยาวพันธะยิ่งสั้น พลังงานพันธะก็จะยิ่งมาก หรือพันธะนั้นเสถียรภาพหรือแข็งแรงมาก สาหรับพันธะชนิดเดียวกัน พันธะเดี่ยวจะมีความยาวพันธะมากที่สุด ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ จะเปรียบเทียบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นพันธะที่เกิดจากอะตอมของธาตุ คู่เดียวกัน ถ้าเป็นอะตอมต่างคู่กันเทียบกันไม่ได้ ที่มา: http://writer.dek-d.com/kpmynpm/story/ คาชี้แจง : ให้เขียนสัญลักษณ์ มากกว่า > หรือน้อยกว่า < ลงในช่องว่าง 1. เปรียบเทียบความยาวพันธะ ดังนี้ พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม 2. เปรียบเทียบพลังงานพันธะ ดังนี้ พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม 3. เปรียบเทียบความยาวพันธะ ระหว่างอะตอมคาร์บอนดังนี้ C2H2 C2H4 C2H6 4. เปรียบเทียบพลังงานพันธะระหว่างอะตอมคาร์บอน ดังนี้ C2H2 C2H4 C2H6 20 เขียนสรุปความสั้นๆให้จาได้นะค่ะ ......................................................... ......................................................... ........................................................
  • 25. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... การคานวณพลังงานพันธะ พลังงานพันธะ ซึ่งหมายถึง พลังงานเพื่อใช้เพื่อการสลายโมเลกุลให้แตกแยกออกเป็นอะตอม พลังงาน ที่เกี่ยวข้องในที่นี้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. พลังงานสลายพันธะ 2. พลังงานสร้างพันธะ พลังงานสลายพันธะ หมายถึง พลังงานที่ใช้ในการสลายพันธะภายในโมเลกุลที่อยู่ในภาวะก๊าซให้ กลายเป็นอะตอมในสภาวะก๊าซ เช่น Cl2 (g) + 242 kJ 2Cl (g) โมเลกุล อะตอม หรือ Cl2 (g) 2Cl (g) ; H = +242 kJ/mol พลังงานสร้างพันธะ หมายถึง พลังงานที่คายออกมาเพื่อใช้ในการสร้างพันธะ โดยเกิดจากอะตอม รวมกันกลายเป็นโมเลกุลในสภาวะก๊าซ เช่น 2Cl (g) Cl2 (g) + 242 kJ อะตอม โมเลกุล หรือ 2Cl (g) Cl2 (g) ; H = -242 kJ/mol สร้างพันธะ : คายพลังงาน : H มีเครื่องหมายลบ (-) สลายพันธะ : ดูดพลังงาน : H มีเครื่องหมายบวก (+) พิจารณาโครงสร้างโมเลกุล ให้นับจานวนพันธะที่ต้องสลายพันธะโดยใส่เป็นจานวนตัวเลข จานวนพันธะ CH4 C2H6 C3H8 C-H C-C  รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี  นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น สร้างจุดเด่นให้ข้อความ 21 ขีดเส้นใต้สมการเคมี ด้วยปากกาสีแดง
  • 26. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... การคานวณหาค่าพลังงานของปฏิกิริยา หลักการ 1. เขียนสูตรโครงสร้างแบบเส้นของสารทั้งหมด 2. หาค่าพลังงานรวมทั้งหมดของสารตั้งต้น และสารผลิตภัณฑ์ 3. นามาหาผลต่างของค่าพลังงานรวมทั้งสอง (พลังงานรวมของสารตั้งต้นลบ พลังงานรวมของสาร ผลิตภัณฑ์) 4. ถ้าผลต่างเป็นบวก (สารตั้งต้นมากกว่าผลิตภัณฑ์) จะเป็นปฏิกิริยาแบบดูดพลังงาน 5. ถ้าผลต่างเป็นลบ (ผลิตภัณฑ์มากกว่าสารตั้งต้น) จะเป็นปฏิกิริยาแบบคายพลังงาน ขวามาก - คาย / ซ้ายมาก - ดูด หรือ สร้าง – คาย / สลาย - ดูด ตัวอย่าง จงคานวณหาพลังงานพันธะ จากสมการ ว่าดูดหรือคายพลังงาน CH4 (g) + Cl2 (g) CH3Cl (g) + HCl (g) วิธีทา H H H – C – H + Cl – Cl H – C – H + H – Cl H Cl 4(C – H ) + (Cl – Cl) 3(C – H) + (C – Cl) + (H – Cl) 4(413) + 242 3(413) + 339 + 431  สลาย 1,894 kJ < สร้าง 2,009 kJ  1,894 –2,009 = -115 kJ ค่าพลังงานติดลบ แสดงว่าเป็นประเภทคายพลังงาน 115 kJหรือ การสร้างพันธะมีค่ามากกว่าจะคายพลังงาน 2,009 - 1,894 = 115 kJ  รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี  นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น สร้างจุดเด่นให้ข้อความ เขียนสูตรแบบเส้น นับจานวนพันธะ ใส่ค่าพลังงานพันธะ คานวณค่าพลังงานพันธะ หาผลต่างของพลังงาน 22 ระบายสีอ่อนๆที่กล่องข้อความ
  • 27. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น กิจกรรม : เขียนแสดงวิธีการคานวณพลังงานของปฏิกิริยา คาชี้แจง : ให้แสดงวิธีการคานวณหาพลังงานของปฏิกิริยา โจทย์ : จงคานวณค่าพลังงานของปฏิกิริยาและประเภทของการเกิดปฏิกิริยาเคมีของปฏิกิริยาต่อไปนี้ CH4 (g) + 3 Cl2(g) CHCl3 (g) + 3HCl (g) กาหนดให้ค่าพลังงานพันธะเป็น kJ/mol ดังนี้ ( C-H=413 , Cl-Cl =243 , C-Cl =327 , H-Cl =431) อย่าลืมตรวจสอบความถูกต้องก่อนนะค่ะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 23
  • 28. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น กิจกรรม : การทดลองรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ รูปร่างและขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ รูปร่างโมเลกุล สามารถทานายได้จากแบบจาลองการผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอนที่อยู่ในวงเวเลนซ์ (Valence Shell Electron Pair Repulsion Model : VSEPR) ซึ่งอิเล็กตรอนเหล่านี้จะเกี่ยวข้องกับการเกิด พันธะเคมี และมีการจัดตัวให้ห่างกันมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้เพื่อลดแรงผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอน โดย พิจารณาจากจานวนอิเล็กตรอนรอบอะตอมกลางเฉพาะที่อยู่ในระดับพลังงานนอกสุด โดยแบ่งเป็นโมเลกุลที่ อะตอมกลางไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวและโมเลกุลที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ขึ้นอยู่กับ ทิศทางของพันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะและมุมระหว่างพันธะ โคเวเลนต์รอบอะตอมกลาง ทิศทางของพันธะขึ้นอยู่กับ • แรงผลักระหว่างพันธะรอบอะตอมกลาง เพื่อให้ห่างกันมากที่สุด • แรงผลักของอิเล็กตรอนคู่อิสระของอะตอมกลางที่มีต่อพันธะรอบอะตอมกลางแรงนี้มีค่ามากกว่า แรงที่พันธะผลักกันเอง จุดประสงค์ 1. บอกรูปทรงเรขาคณิตที่เกิดจากการมัดลูกโป่งเข้าด้วยกันจานวน 2 3 4 5 และ 6 ลูก 2. เปรียบเทียบรูปร่างของลูกโป่งกับรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ได้ สมมติฐาน ถ้าลูกโป่ง 1 ลุกแทนกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนของอะตอม ดังนั้นเมื่อนาลูกโป่งมาผูกกันในจานวนที่ แตกต่างกัน จะทาให้เกิดแรงผลักซึ่งกันและกันเป็นรูปร่างต่างกัน อุปกรณ์ ลูกโป่งขนาดเล็ก 6 ลูก ยางวง 6 เส้น วิธีการทดลอง 1. นักเรียนเป่าลูกโป่งให้พองจนตึงทั้ง 6 ลูก 2. ผูกขั้วลูกโป่ง2 ลูกติดกัน สังเกตรูปร่าง บันทึกผล 3. ผูกขั้วลูกโป่ง 3 ลูกติดกัน สังเกตรูปร่าง บันทึกผล 4. ผูกขั้วลูกโป่ง 4 ลูก 5 ลูก และ 6 ลูก จัดให้เป็นรูปทรงเรขาคณิต สังเกตรูปร่างบันทึกผลในตาราง  รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี  นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น สร้างจุดเด่นให้ข้อความ 24
  • 29. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... ตารางบันทึกผล จานวนลูกโป่งที่ มัดขั้วติดกัน วาดภาพรูปร่างลูกโป่ง/ ภาพถ่าย รูปทรงเรขาคณิต มุมระหว่างลูกโป่ง 2 3 4 5 6 คาถาม 1. สาเหตุใดที่ทาให้รูปทรงของลูกโป่งผูกรวมกันเปลี่ยนแปลงไป ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. แรงผลักของลูกโป่งเปรียบเทียบกับแรงผลักของสิ่งใดในโมเลกุลโคเวเลนต์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 25
  • 30. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โมเลกุลที่อะตอมกลางไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว พิจารณาโมเลกุลที่ประกอบไปด้วยอะตอม 2 ชนิด คือ A และX โดยกาหนดให้  A เป็นอะตอมกลาง  X เป็นอะตอมที่ล้อมรอบ m เป็นจานวนอะตอม  โมเลกุลมีสูตรทั่วไปเป็น AXm ถ้าจานวนอะตอมของ X ในสูตรทั่วไปแตกต่างกันจะทาให้มีรูปร่าง แตกต่างกัน ดังนี้ 1) รูปร่างเส้นตรง (Linear) : AX2 เป็นรูปร่างของสารโคเวเลนต์ใด ๆ ที่มีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 2 คู่ รอบอะตอมกลาง เพื่อให้แรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนมีค่าน้อยที่สุด แต่ละคู่จึงอยู่ที่ปลายด้านตรงข้ามของ แนวเส้นตรงมีมุมระหว่างพันธะ180๐ 2) รูปร่างสามเหลี่ยมแบนราบ (Trigonal planar) : AX3 เป็นรูปร่างของสารโคเวเลนต์ใดๆ ที่ อะตอมกลางมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 3 และเป็นอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้งหมด (ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดด เดี่ยว) พันธะผลักกันให้ห่างกันมากที่สุด ทาให้โมเลกุลเป็นรูปสามเหลี่ยมแบนราบ มีมุมระหว่างพันธะเป็น 120๐ 3) รูปร่างทรงสี่หน้า (Tetarhedarl) : AX4 เป็นรูปร่างของสารโคเวเลนต์ใด ๆ ที่ อะตอมกลางมี เวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 4 และเป็นอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้งหมด เกิดการผลักกันระหว่างพันธะเพื่อให้ห่าง กันมากที่สุด ทาให้โมเลกุลมีรูปร่างเป็นรูปทรงสี่หน้า มีมุมระหว่างพันธะเป็น 109.5๐  รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี  นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น สร้างจุดเด่นให้ข้อความ 26 วาดรูปสี่เหลี่ยม ที่สูตรทั่วไปของโมเลกุลทุก รูปร่าง แล้ววงกลมล้อมรอบภาพรูปร่างโมเลกุล
  • 31. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... 4) รูปร่างพีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม (Trigonal bipyramidal) : AX5 เป็นรูปร่างของสารโคเวเลนต์ ใด ๆ ที่อะตอมกลางมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 5 และเป็นอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้งหมด (ไม่มีอิเล็กตรอนคู่ โดดเดี่ยว) เกิดการผลักกันระหว่างพันธะเพื่อให้ห่างกันมากที่สุด ทาให้โมเลกุลมีรูปร่างเป็นรูป พีระมิดคู่ฐาน สามเหลี่ยม มีมุมระหว่างพันธะเป็น 120๐ และ 90๐ 5) ทรงแปดหน้า (Octahedral) : AX6 เป็นรูปร่างของสารโคเวเลนต์ใด ๆ ที่อะตอมกลางมีเวเลนซ์ อิเล็กตรอนเท่ากับ 5 และเป็นอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้งหมด (ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว) เกิดการผลักกัน ระหว่างพันธะเพื่อให้ห่างกันมากที่สุด ทาให้โมเลกุลมีรูปร่างเป็นรูปทรงแปดหน้า มีมุมระหว่างพันธะ 90 ตารางสรุปสูตรทั่วไป จานวนพันธะ รูปร่างโมเลกุลที่ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว สูตรทั่วไป จานวนพันธะ รูปร่างของโมเลกุล ตัวอย่าง AX2 2 เส้นตรง (linear) HgCl2, BeCl2 AX3 3 สามเหลี่ยมแบนราบ (trigonal planar) BCl3, BF3, GaI3 AX4 4 ทรงสี่หน้า (tetrahedral) CH4, CHCl3, SnCl4 AX5 5 พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม (trigonal bipyramidal) PCl5, PF5, PF3Cl2 AX6 6 ทรงแปดหน้า (octahedral) SF6 27 ลากเส้นโยงสูตรทั่วไปกับรูปร่างโมเลกุลด้วยปากกาสีแดง แล้วระบายสีที่ช่องรูปร่างโมกุล และตัวอย่างโมเลกุลโคเวเลนต์
  • 32. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น กิจกรรม : เกมปริศนาอักษรไขว้ คาชี้แจง : ให้นักเรียนหาคาศัพท์รูปร่างโมเลกุล แล้ววงรอบคาศัพท์ด้วยปากกาสีแดง แล้วนาคาศัพท์ไปเขียนด้านล่างพร้อมบอกรูปร่างโมเลกุล A T E T R A H E D R A L C R D L E A E S E C D A Y I F T I S D A N F A S E G H Q F N A K T E U T K O C T A H E D R A L D L N O A S U L A A L D E I A K S A G F G R G C B N L E D H D A A A H A E H P A I L S S D D L R N R L T U P A K O I E L T E A N G U L A R E A I D A N W S E A L E A E N E S A R A R N A R N R E R คาศัพท์ รูปร่างโมเลกุล 28
  • 33. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... โมเลกุลที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ตามปกติอิเล็กตรอนแต่ละคู่จะออกแรงผลักกัน แรงผลักของอิเล็กตรอนแต่ละคู่จะไม่เท่ากัน ซึ่งสามารถ เขียนแรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนคู่ต่างๆ จากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ กาหนดให้โมเลกุลมีสูตรทั่วไปเป็น AXmEn  A เป็นอะตอมกลาง  X เป็นอะตอมที่ล้อมรอบอะตอมกลาง  E แทนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว m เป็นจานวนอะตอม n เป็นจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 1) รูปร่างมุมงอ (Bent) : AX2E เช่น โมเลกุล NO2 - เป็นรูปร่างที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วม พันธะ 3 คู่ และอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 1 คู่ การจัดให้อิเล็กตรอนทั้งหมดอยู่ห่างกันมากที่สุดจะมีรูปคล้าย สามเหลี่ยมแบนราบ แต่เนื่องจากมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวหนึ่งคู่ซึ่งมีแรงผลักมากกว่าแรงผลักระหว่าง อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะด้วยกัน จึงผลักพันธะ N-O เข้าใกล้กันมุมระหว่างพันธะ O-N-O จึงน้อยกว่า 120˚ จาก การทดลองพบว่ามุม O-N-O เท่ากับ 119.5˚ 2) รูปร่างมุมงอ(Bent) : AX2E2 เช่น โมเลกุลของ H2O เป็นรูปร่างที่อะตอมกลางมีเวเลนซ์ อิเล็กตรอนเท่ากับ 6 สร้างพันธะเดี่ยวกับอะตอมของ H 2 พันธะ จึงมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 2 คู่ (4 อะตอม) ซึ่งอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 2 คู่นี้ จะมีแรงผลักอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะมากกว่าแรงผลักกันของอิเล็กตรอนคู่ร่วม พันธะ ทาให้มุมระหว่างพันธะ H-O มีค่าลดลงเหลือ 105º  รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี  นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น สร้างจุดเด่นให้ข้อความ 29 วาดวงกลมล้อมรอบที่สูตรทั่วไปของโมเลกุล แล้วระบายสีรูปร่างโมเลกุลให้สวยงาม
  • 34. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... 3) รูปร่างพีระมิดฐานสามเหลี่ยม (Trigonal pyramidal) : AX2E เช่น โมเลกุลของ NH3 เป็น รูปร่างที่อะตอมกลางมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 5 สร้างพันธะเดี่ยวกับอะตอมของ H 3 พันธะ เหลือ อิเล็กตรอนไม่ได้ร่วมพันธะ 1 คู่ (อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว) อิเล็กตรอนทั้ง 4 คู่รอบอะตอมกลาง (N) จะผลักกันให้ ห่างกันมากที่สุด แต่เนื่องจากแรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวกับอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ มีค่ามากกว่า แรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะผลักกันเอง จึงทาให้มุมระหว่างพันธะ H – N ลดลงเหลือ 107.3๐ ตารางสรุปรูปร่างโมเลกุลและไอออนที่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว สูตร จานวนคู่ อิเล็กตรอน โดดเดี่ยว รูปทรงที่ได้จาก ไฮบริดออร์บิทัล รูปร่างของโมเลกุล ตัวอย่าง AX2E 1 สามเหลี่ยม รูป V SnCl2, SO2 AX3E 1 ทรงสี่หน้า พีระมิดฐานสามเหลี่ยม NH3, PCl3 AX4E 1 พีระมิดคู่ฐาน สามเหลี่ยม กระดานหก SF4, TeCl4 AX5E 1 ทรงแปดหน้า พีระมิดฐานจัตุรัส BrF3, IF5 AX2E2 2 ทรงสี่หน้า รูป V H2O, SCl2 AX3E2 2 พีระมิดคู่ฐาน สามเหลี่ยม รูป T BrF3, ClF3 AX4E2 2 ทรงแปดหน้า จัตุรัสระนาบ XeF4, ICl4 - AX2E3 3 พีระมิดคู่ฐาน สามเหลี่ยม เส้นตรง I3 - , XeF2 30 วาดแบบจาลองรูปร่างโมเลกุลด้านหลังชื่อรูปร่างโมเลกุล
  • 35. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น เขียนรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ คาชี้แจง : ให้นักเรียนวาดรูปร่างโมเลกุล บอกจานวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ อิเล็กตรอนคู่โดดเดียว สูตรทั่วไป และรูปร่างโมเลกุล ลงในตารางที่กาหนด วาดโครงสร้างลิวอิส PF3 CO2 SCl2 จานวนอิเล็กตรอนคู่ ร่วมพันธะ จานวนอิเล็กตรอนคู่ โดดเดียว สูตรทั่วไป รูปร่างโมเลกุล คาชี้แจง : เขียนตัวเลข จับคู่ความสัมพันธ์รูปร่างพันธะกับโมเลกุลโคเวเลนต์ ........เส้นตรง 1. PF6 + ........สามเหลี่ยมแบนราบ 2. AsF5 ........ทรงสี่หน้า 3. NH4 + ........พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม 4. CO2 ........ทรงแปดหน้า 5. SO3 ........มุมงอ 6. ICl3 ........พีระมิดฐานสามเหลี่ยม 7. PCl3 ........รูปตัวที 8. NO2 31
  • 36. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระตือรือร้นชุดที่1 เรื่องพันธะโคเวเลนต์..... การเกิดมุมระหว่างพันธะ มุมระหว่างพันธะเกิดจากแรงผลักของอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะด้วยกัน หรืออิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ด้วยกัน หรืออิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะกับอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว มีผลทาให้อะตอมมีทิศทางไปตามแรงผลัก ทาให้ขนาดของมุมมีค่าต่างกัน มุมระหว่างพันธะ มุมจะแคบหรือกว้างขึ้นอยู่กับแรงดึงดูดระหว่างอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะของธาตุ และค่าของแรงดึงดูดอิเล็กตรอนเรียกว่า ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี หรือEN ของอะตอมกลาง ถ้ามีค่ามากกว่า อะตอมที่ล้อมรอบมุมจะกว้าง ค่าEN ของอะตอมกลางมีค่าน้อยกว่าอะตอมที่มาล้อมรอบ มุมจะแคบ ที่มา: http://www.kme10.com/chemicalbond/index.html สรุปการเกิดมุมระหว่างพันธะโคเวเลนซ์ได้ดังนี้  มุมระหว่างพันธะพิจารณาที่ระยะห่างของอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะเป็นเกณฑ์ กล่าวคือ ถ้าอิเล็กตรอนคู่ ร่วมพันธะอยู่ห่างอะตอมมากมุมแคบ และอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะอยู่ใกล้อะตอมกลางมุมกว้าง  มุมระหว่างพันธะเปลี่ยนแปลงตามค่า EN ของอะตอมกลาง ค่าEN ของอะตอมกลางมีค่ามากกว่าอะตอม ที่ล้อมรอบมุมกว้าง ค่าEN ของอะตอมกลางมีค่าน้อยกว่าอะตอมที่มาล้อมรอบ มุมแคบ  รู้-จา ด้วยรูป เส้น สี  นักเรียนอ่านแล้ววาดรูป ระบายสี ขีดเส้น สร้างจุดเด่นให้ข้อความ รู้หรือเปล่า ว่าแต่ละ ธาตุมีค่าEN เท่าไหร่ 32 ภาพตัวอย่างมุมพันธะโคเวเลนต์ ลากเส้นหยักใต้คาว่า มุมแคบ ลากเส้นโค้งใต้คาว่า มุมกว้าง สร้างจุดเด่นให้ข้อความ