SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
Télécharger pour lire hors ligne
บทเรียนวิชาเคมี
                  โปรตีน
                    หน้ าที่โปรตีน

                         โครงสร้ างโปรตีน

                            โปรตีนคอนจูเกต

                               การแปลงสภาพ

                                     สมาชิกในกลุม
                                               ่
HOME




        โปรตีน (protein) เป็ นสารประกอบชีวเคมี ซึ่งประกอบด้วยพอลิเพปไทด์
หนึ่งสายหรือมากกว่า ที่พบกันเป็ นรู ปทรงกลมหรือเส้นใย โดยทาหน้าที่อานวย
                           ั
กระบวนการทางชีววิทยา พอลิเพปไทด์เป็ นพอลิเมอร์สายเดี่ยวที่เป็ นเส้นตรงของ
กรดอะมิโนที่เชื่อมเข้ากันด้วยพันธะเพปไทด์ระหว่างหมู่คาร์บอกซิลและหมู่อะมิโน
ของกรดอะมิโนเหลือค้าง (residue) ทีอยู่ตดกัน ลาดับกรดอะมิโนในโปรตีนกาหนด
                                    ่ ิ
โดยลาดับของยีน


                                        ◄ ภาพสามมิติของฮีโมกโกลบิน(โปรตีนชนิดหนึ่ง)
ซึ่งเข้ารหัสในรหัสพันธุกรรม โดยทัวไป รหัสพันธุกรรมประกอบด้วย
                                          ่
กรดอะมิโนมาตรฐาน 20 ชนิด อย่างไรก็ดี สิงมีชวตบางชนิดอาจมีซลโี นซิสตีอน
                                         ่ ีิ               ี        ี
และไพร์โรไลซีนในกรณีของสิ่งมีชวตโดเมนอาร์เคียบางชนิด ในรหัสพันธุกรรม
                                 ีิ
ด้วย ไม่นานหรือระหว่างการสังเคราะห์ สารเหลือค้างในโปรตีนมักมีขนปรับแต่ง
                                                              ั้
ทางเคมีโดยกระบวนการการปรับแต่ ง หลัง ทรานสเลชัน (posttranslational
modification) ซึงเปลียนแปลงคุณสมบัตทางกายภาพและทางเคมี การจัดเรียง
                  ่ ่                  ิ
ความเสถียร กิจกรรม
และสาคัญที่สุด หน้าที่ของโปรตีนนัน บางครังโปรตีนมีกลุ่มที่ไม่ใช่
                                          ้         ้
เพปไทด์ติดอยู่ดวย ซึ่งสามารถเรียกว่า โปรสทีติกกรุป (prosthetic group)
               ้
หรือโคแฟกเตอร์ โปรตีนยังสามารถทางานร่ วมกันเพื่อบรรลุหน้าที่บางอย่าง
และบ่อยครังทีโปรตีนมากกว่าหนึ่งชนิดรวมกันเพือสร้างโปรตีนเชิงซ้อนทีมความ
          ้ ่                               ่                    ่ ี
เสถียร
หนึ่งในลักษณะอันโดดเด่นที่สุดของพอลิเพปไทด์คือความสามารถ
จัดเรียงเป็ นขันก้อนกลมได้ ขอบเขตซึงโปรตีนพับเข้าไปเป็ นโครงสร้างตามนิยาม
               ้                   ่
นัน แตกต่างกันไปมาก โปรตีนบางชนิดพับตัวไปเป็ นโครงสร้างแข็งอย่างยิ่งโดย
  ้
มีการผันแปรเล็กน้อย เป็ นแบบที่เรียกว่า โครงสร้างปฐมภูมิ ส่วนโปรตีนชนิด
อืนนันมีการจัดเรียงใหม่ขนานใหญ่จากโครงสร้างหนึ่งไปยังอีกโครงสร้างหนึ่ง
 ่ ้
การเปลียนแปลงโครงสร้างนี้มกเกี่ยวของกับการส่งต่อสัญญาณ ดังนัน
                ่                     ั     ้                                  ้
โครงสร้างโปรตีนจึงเป็ นสื่อกลางซึ่งกาหนดหน้าที่ของโปรตีนหรือกิจกรรมของ
เอนไซม์ โปรตีนทุกชนิดไม่จาเป็ นต้องอาศัยกระบวนการจัดเรียงก่อนทาหน้าที่
เพราะยัง มีโ ปรตีน บางชนิ ด ท างานในสภาพที่ย ง ไม่ไ ด้จ ด เรีย ง เช่ น เดีย วกับ
                                              ั         ั
โมเลกุลใหญ่ (macromolecules) อืน   ่
ดังเช่น พอลิแซกคาไรด์และกรดนิวคลีอก โปรตีนเป็ นส่วนสาคัญของ
                                                ิ
สิงมีชวตและมีส่วนเกี่ยวข้องในแทบทุกกระบวนการในเซลล์ โปรตีนจานวนมาก
  ่ ีิ
เป็ นเอนไซม์ซ่ึงเร่ งปฏิกิริยาทางชีวเคมี และสาคัญต่ อกระบวนการเมตาบอลิ
ซึม โปรตีนยังมีหน้าที่ดา้ นโครงสร้างหรือเชิงกล อาทิ แอกตินและไมโอซินใน
กล ้ามเนื้อและโปรตีนในไซโทสเกเลตอน
ซึ่งสร้างเป็ นระบบโครงสร้างคาจุนรู ปร่างของเซลล์ โปรตีนอื่นสาคัญใน
                                     ้
การส่งสัญญาณของเซลล์ การตอบสนองของภูมคุมกัน การยึดติดกันของเซลล์
                                               ิ ้
และวัฏจักรเซลล์ โปรตีนยังจาเป็ นในการกินอาหารของสัตว์ เพราะสัตว์ไม่สามารถ
สังเคราะห์กรดอะมิโนทังหมดตามทีตองการได้ และต้องได้รบกรดอะมิโน ทีสาคัญ
                       ้         ่ ้                  ั              ่
จากอาหาร ผ่านกระบวนการย่อยอาหาร สัตว์จะแตกโปรตีนทีถูกย่อยเป็ นกรดอะมิ
                                                        ่
โนอิสระซึงจะถูกใช้ในเมตาบอลิซมต่อไป
         ่                     ึ
โปรตีน อธิบายเป็ นครังแรกโดยนักเคมีชาวดัตช์ Gerardus Johannes
                                  ้
Mulder และถูกตังชื่อโดยนักเคมีชาวสวีเดน Jöns Jacob Berzelius ใน ค.ศ.
                     ้
1838 นักวิทยาศาสตร์ดา้ นอาหารยุคแรกอย่าง Carl von Voit ชาวเยอรมัน เชื่อ
ว่าโปรตีนเป็ นสารอาหารที่สาคัญที่สุดในการคงโครงสร้างของร่างกาย เพราะมีการ
เชื่อกันทัวไปว่า "เนื้อสร้างเนื้อ" บทบาทศูนย์กลางของโปรตีนในฐานะเอนไซม์ใน
           ่
สิ่งมีชีวิตยังไม่ได้รบการยอมรับจนกระทัง ค.ศ. 1926 เมื่อ เจมส์ บี. ซัมเนอร์
                       ั                    ่
แสดงให้เห็นว่าเอนไซม์ยูรีเอสแท้จริงแล ้วเป็ นโปรตีน
โปรตีนชนิดแรกทีถกจัดลาดับคือ อินซูลน โดยเฟรเดอริก แซงเจอร์
                ู่                 ิ
      ผูซงได้รบรางวัลโนเบลจากความสาเร็จนี้ใน ค.ศ. 1958
        ้ ่ึ ั
โครงสร้างโปรตีนแบบแรกทีสามารถอธิบายได้คอ ฮีโมโกลบินและไมโอโกลบิน โดย
                       ่               ื
  Max Perutz และเซอร์ John Cowdery Kendrew ตามลาดับ ใน ค.ศ. 1958




              ฮีโมโกลบิน                         ไมโอโกลบิน
โครงสร้างสามมิติของโปรตีนทังสองเดิมพิจารณาโดยการวิเคราะห์การ
                                    ้
เลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ Perutz และ Kendrew ได้รบรางวัลโนเบลสาขาเคมี
                                                  ั
ประจา ค.ศ. 1962 ร่วมกันสาหรับการค้นพบเหล่านี้
HOME




• โปรตีนหลายชนิดทาหน้าทีเ่ ป็ นเอนไซม์หรือหน่วยย่อยของเอนไซม์

• โปรตีนทาหน้าทีทางด้านโครงสร้าง
               ่
    เช่น ระบบเส้นใยของเซลล์ (cytoskeleton) ผม เส้นไหม

• โปรตีนทีควบคุมการเคลือนไหว เช่น แอกติน ไมโอซิน
         ่             ่
• เป็ นภูมคมกันคอยปกป้ องร่างกายจากสิงแวดล ้อม เช่น แอนติบอดี
          ิ ุ้                       ่

• ขนส่งสารภายในระบบร่างกาย เช่น ฮีโมโกลบิน

• เป็ นแหล่งสารองพลังงานยามขาดแคลน เช่นโปรตีนในเมล็ดข้าวและ
นา้ นม
• โปรตีนทีเ่ ป็ นฮอร์โมน

• โปรตีนให้ความหวานในพืช

• โปรตีนป้ องกันการแข็งตัวของเลือดในปลาทีอยู่ในแถบขัวโลก
                                         ่          ้

• โปรตีนช่วยสร้างเซลล์เนื้อเยือใหม่
                             ่
HOME




      ลาดับของกรดอะมิโนจะเป็ นตัวกาหนดโครงสร้างและการทางาน
ของโปรตีนนันๆ โดยทัวไป โปรตีนมีโครงสร้างสามมิตสระดับด้วยกันคือ
           ้       ่                          ิ ่ี

        1. โครงสร้างปฐมภูมิ เป็ นโครงสร้างทีแสดงพันธะระหว่างกรดอะ
                                            ่
มิโนแต่ละตัว
2. โครงสร้า งทุติย ภู มิ เป็ น โครงสร้า งที่แ สดงการจัด ตัว ของ
กรดอะมิโนทีอยู่ใกลกน โปรตีนทุกชนิดจะมีโครงสร้างระดับนี้ โดยทัวไป
           ่       ้ั                                              ่
มีสองแบบคือ แบบ อัลฟาเฮลิก สายเพปไทด์ขดเป็ นเกลียว กับแบบเบตา
สายเพปไทด์อยู่ในรูปซิกแซก
3. โครงสร้างตติยภูมิ แสดงการจัดตัวของกรดอะมิโนตลอดทัง  ้
สาย พบในโปรตีนที่เป็ นก้อน การจับตัวเป็ นกลุ่มก้อนของสายโพลี เพป
ไทด์นนขึ้นกับลาดับกรดอะมิโนและสารอืนๆทีเ่ ข้ามาจับ
     ั้                             ่
HOME




         โปรตีนบางชนิดจะมีหมู่อ่ืนๆนอกจากกรดอะมิโนเข้ามาจับ
โปรตีนนี้เรียกว่าโปรตีนคอนจูเกต (conjugated protein) ส่วนหมู่
ทีมาจับเรียกว่าหมูพรอสทีตก (prosthetic group) ตัวอย่างโปรตีน
  ่                ่      ิ
เหล่านี้ได้แก่
ไลโปโปรตีน โปรตีนจับกับไขมัน
ไกลโคโปรตีน โปรตีนจับกับคาร์โบไฮเดรต
ฟอสโฟโปรตีน โปรตีนจับกับหมูฟอสเฟต
                           ่
ฮีโมโปรตีน โปรตีนจับกับฮีม (heme)
ฟลาโวโปรตีน โปรตีนจับกับฟลาวิน นิวคลีโอไทด์ (Flavin nucleotide)
    เช่น ซักซิเนต ดีไฮโดรจีเนส (succinate dehydrogenase)
เมทัลโลโปรตีน โปรตีนจับกับโลหะ
เช่น เฟอร์รทน (จับกับ Fe) อัลกอฮอล์ ดีไฮโดรจีเนส (จับกับ Zn)
           ิิ
HOME




       โปรตีนแต่ ล ะชนิ ดมีโครงสร้างสามมิติท่ีจาเพาะต่ อ การทางานที่
แตกต่างกัน ถ้าแรงยึดเหนี่ยวในโครงสร้างสามมิตของโปรตีนถูกทาลาย จะ
                                            ิ
ทาให้โครงสร้างของโปรตีนเปลี่ยนแปลงไป โดยการคลายตัวออกและไม่
สามารถทาหน้าทีทางชีวภาพได้ เรียกว่า การแปลงสภาพโปรตีน ซึง ปัจจัยที่
                ่                                           ่
ทาให้โปรตีนเกิดเปลียนสภาพ ได้แก่ ความร้อน pH เติมเอทานอล การเติม
                   ่
Pb(NO3)2
ลักษณะการแปลงสภาพของโปรตีน ได้แก่ การแข็งตัว ไม่ละลาย
นา้ เกิดตะกอนขุนขาวจับตัวเป็ นก้อนขุนขาว เนื่องจากเสียสภาพทางชีวภาพ
               ่                   ่
และความเป็ นระเบียบของโครงสร้างกลไกการเสียสภาพโปรตีนในสภาวะที่
เป็ นกรด-เบส ได้แก่ โปรตีนจะให้หรือรับ H+ แล ้วเกิดเป็ นไอออน สามารถ
จับไอออนอืนได้และไอออนลบทีแตกตัวออกจากสารละลายกรดเป็ นไอออน
            ่                 ่
ขนาดใหญ่ จึงทาให้ไอออนของโปรตีนรวมตัวกันเป็ นก้อนได้
การแปลงสภาพโปรตีนโดยความร้อน
http://th.wikipedia.org/wiki/โปรตีน

http://www.thaigoodview.com/library/contest2
552/type2/science04/28/P_Untitled-21.html
แ




    HOME

Contenu connexe

Tendances

โปรตีน
โปรตีนโปรตีน
โปรตีนpannnnnn
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลkruaoijaipcccr
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet CreusGarsiet Creus
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลmaechai17
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2nattapong01
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1sailom
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกTANIKAN KUNTAWONG
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลBiomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลJusmistic Jusmistic
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดTANIKAN KUNTAWONG
 

Tendances (20)

Protein
ProteinProtein
Protein
 
โปรตีน
โปรตีนโปรตีน
โปรตีน
 
Protein
Protein Protein
Protein
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
Biochem 5ed
Biochem 5edBiochem 5ed
Biochem 5ed
 
385
385385
385
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
Lipid
LipidLipid
Lipid
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลBiomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิด
 
ชีวเคมี
ชีวเคมีชีวเคมี
ชีวเคมี
 

Similaire à Protein

The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesIssara Mo
 
amino acid metabolism_mai2021.pdf
amino acid metabolism_mai2021.pdfamino acid metabolism_mai2021.pdf
amino acid metabolism_mai2021.pdfmai Vijit
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยาwisita42
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)kasidid20309
 
Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4off5230
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2kasidid20309
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48Unity' Aing
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์Issara Mo
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)pitsanu duangkartok
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 

Similaire à Protein (20)

สมร
สมรสมร
สมร
 
สมร
สมรสมร
สมร
 
The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromolecules
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
amino acid metabolism_mai2021.pdf
amino acid metabolism_mai2021.pdfamino acid metabolism_mai2021.pdf
amino acid metabolism_mai2021.pdf
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
Chemical acr56
Chemical acr56Chemical acr56
Chemical acr56
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
 
Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
04 ok 48
04 ok 4804 ok 48
04 ok 48
 
พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์
พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์
พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 

Plus de สุรัชนี ภัทรเบญจพล (8)

Ray
RayRay
Ray
 
Equilibrium mahidol
Equilibrium mahidolEquilibrium mahidol
Equilibrium mahidol
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครูรายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
 
ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์
 
Assessment
AssessmentAssessment
Assessment
 

Protein

  • 1. บทเรียนวิชาเคมี โปรตีน หน้ าที่โปรตีน โครงสร้ างโปรตีน โปรตีนคอนจูเกต การแปลงสภาพ สมาชิกในกลุม ่
  • 2. HOME โปรตีน (protein) เป็ นสารประกอบชีวเคมี ซึ่งประกอบด้วยพอลิเพปไทด์ หนึ่งสายหรือมากกว่า ที่พบกันเป็ นรู ปทรงกลมหรือเส้นใย โดยทาหน้าที่อานวย ั กระบวนการทางชีววิทยา พอลิเพปไทด์เป็ นพอลิเมอร์สายเดี่ยวที่เป็ นเส้นตรงของ กรดอะมิโนที่เชื่อมเข้ากันด้วยพันธะเพปไทด์ระหว่างหมู่คาร์บอกซิลและหมู่อะมิโน ของกรดอะมิโนเหลือค้าง (residue) ทีอยู่ตดกัน ลาดับกรดอะมิโนในโปรตีนกาหนด ่ ิ โดยลาดับของยีน ◄ ภาพสามมิติของฮีโมกโกลบิน(โปรตีนชนิดหนึ่ง)
  • 3. ซึ่งเข้ารหัสในรหัสพันธุกรรม โดยทัวไป รหัสพันธุกรรมประกอบด้วย ่ กรดอะมิโนมาตรฐาน 20 ชนิด อย่างไรก็ดี สิงมีชวตบางชนิดอาจมีซลโี นซิสตีอน ่ ีิ ี ี และไพร์โรไลซีนในกรณีของสิ่งมีชวตโดเมนอาร์เคียบางชนิด ในรหัสพันธุกรรม ีิ ด้วย ไม่นานหรือระหว่างการสังเคราะห์ สารเหลือค้างในโปรตีนมักมีขนปรับแต่ง ั้ ทางเคมีโดยกระบวนการการปรับแต่ ง หลัง ทรานสเลชัน (posttranslational modification) ซึงเปลียนแปลงคุณสมบัตทางกายภาพและทางเคมี การจัดเรียง ่ ่ ิ ความเสถียร กิจกรรม
  • 4. และสาคัญที่สุด หน้าที่ของโปรตีนนัน บางครังโปรตีนมีกลุ่มที่ไม่ใช่ ้ ้ เพปไทด์ติดอยู่ดวย ซึ่งสามารถเรียกว่า โปรสทีติกกรุป (prosthetic group) ้ หรือโคแฟกเตอร์ โปรตีนยังสามารถทางานร่ วมกันเพื่อบรรลุหน้าที่บางอย่าง และบ่อยครังทีโปรตีนมากกว่าหนึ่งชนิดรวมกันเพือสร้างโปรตีนเชิงซ้อนทีมความ ้ ่ ่ ่ ี เสถียร
  • 5. หนึ่งในลักษณะอันโดดเด่นที่สุดของพอลิเพปไทด์คือความสามารถ จัดเรียงเป็ นขันก้อนกลมได้ ขอบเขตซึงโปรตีนพับเข้าไปเป็ นโครงสร้างตามนิยาม ้ ่ นัน แตกต่างกันไปมาก โปรตีนบางชนิดพับตัวไปเป็ นโครงสร้างแข็งอย่างยิ่งโดย ้ มีการผันแปรเล็กน้อย เป็ นแบบที่เรียกว่า โครงสร้างปฐมภูมิ ส่วนโปรตีนชนิด อืนนันมีการจัดเรียงใหม่ขนานใหญ่จากโครงสร้างหนึ่งไปยังอีกโครงสร้างหนึ่ง ่ ้
  • 6. การเปลียนแปลงโครงสร้างนี้มกเกี่ยวของกับการส่งต่อสัญญาณ ดังนัน ่ ั ้ ้ โครงสร้างโปรตีนจึงเป็ นสื่อกลางซึ่งกาหนดหน้าที่ของโปรตีนหรือกิจกรรมของ เอนไซม์ โปรตีนทุกชนิดไม่จาเป็ นต้องอาศัยกระบวนการจัดเรียงก่อนทาหน้าที่ เพราะยัง มีโ ปรตีน บางชนิ ด ท างานในสภาพที่ย ง ไม่ไ ด้จ ด เรีย ง เช่ น เดีย วกับ ั ั โมเลกุลใหญ่ (macromolecules) อืน ่
  • 7. ดังเช่น พอลิแซกคาไรด์และกรดนิวคลีอก โปรตีนเป็ นส่วนสาคัญของ ิ สิงมีชวตและมีส่วนเกี่ยวข้องในแทบทุกกระบวนการในเซลล์ โปรตีนจานวนมาก ่ ีิ เป็ นเอนไซม์ซ่ึงเร่ งปฏิกิริยาทางชีวเคมี และสาคัญต่ อกระบวนการเมตาบอลิ ซึม โปรตีนยังมีหน้าที่ดา้ นโครงสร้างหรือเชิงกล อาทิ แอกตินและไมโอซินใน กล ้ามเนื้อและโปรตีนในไซโทสเกเลตอน
  • 8. ซึ่งสร้างเป็ นระบบโครงสร้างคาจุนรู ปร่างของเซลล์ โปรตีนอื่นสาคัญใน ้ การส่งสัญญาณของเซลล์ การตอบสนองของภูมคุมกัน การยึดติดกันของเซลล์ ิ ้ และวัฏจักรเซลล์ โปรตีนยังจาเป็ นในการกินอาหารของสัตว์ เพราะสัตว์ไม่สามารถ สังเคราะห์กรดอะมิโนทังหมดตามทีตองการได้ และต้องได้รบกรดอะมิโน ทีสาคัญ ้ ่ ้ ั ่ จากอาหาร ผ่านกระบวนการย่อยอาหาร สัตว์จะแตกโปรตีนทีถูกย่อยเป็ นกรดอะมิ ่ โนอิสระซึงจะถูกใช้ในเมตาบอลิซมต่อไป ่ ึ
  • 9. โปรตีน อธิบายเป็ นครังแรกโดยนักเคมีชาวดัตช์ Gerardus Johannes ้ Mulder และถูกตังชื่อโดยนักเคมีชาวสวีเดน Jöns Jacob Berzelius ใน ค.ศ. ้ 1838 นักวิทยาศาสตร์ดา้ นอาหารยุคแรกอย่าง Carl von Voit ชาวเยอรมัน เชื่อ ว่าโปรตีนเป็ นสารอาหารที่สาคัญที่สุดในการคงโครงสร้างของร่างกาย เพราะมีการ เชื่อกันทัวไปว่า "เนื้อสร้างเนื้อ" บทบาทศูนย์กลางของโปรตีนในฐานะเอนไซม์ใน ่ สิ่งมีชีวิตยังไม่ได้รบการยอมรับจนกระทัง ค.ศ. 1926 เมื่อ เจมส์ บี. ซัมเนอร์ ั ่ แสดงให้เห็นว่าเอนไซม์ยูรีเอสแท้จริงแล ้วเป็ นโปรตีน
  • 10. โปรตีนชนิดแรกทีถกจัดลาดับคือ อินซูลน โดยเฟรเดอริก แซงเจอร์ ู่ ิ ผูซงได้รบรางวัลโนเบลจากความสาเร็จนี้ใน ค.ศ. 1958 ้ ่ึ ั
  • 11. โครงสร้างโปรตีนแบบแรกทีสามารถอธิบายได้คอ ฮีโมโกลบินและไมโอโกลบิน โดย ่ ื Max Perutz และเซอร์ John Cowdery Kendrew ตามลาดับ ใน ค.ศ. 1958 ฮีโมโกลบิน ไมโอโกลบิน
  • 12. โครงสร้างสามมิติของโปรตีนทังสองเดิมพิจารณาโดยการวิเคราะห์การ ้ เลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ Perutz และ Kendrew ได้รบรางวัลโนเบลสาขาเคมี ั ประจา ค.ศ. 1962 ร่วมกันสาหรับการค้นพบเหล่านี้
  • 13. HOME • โปรตีนหลายชนิดทาหน้าทีเ่ ป็ นเอนไซม์หรือหน่วยย่อยของเอนไซม์ • โปรตีนทาหน้าทีทางด้านโครงสร้าง ่ เช่น ระบบเส้นใยของเซลล์ (cytoskeleton) ผม เส้นไหม • โปรตีนทีควบคุมการเคลือนไหว เช่น แอกติน ไมโอซิน ่ ่
  • 14. • เป็ นภูมคมกันคอยปกป้ องร่างกายจากสิงแวดล ้อม เช่น แอนติบอดี ิ ุ้ ่ • ขนส่งสารภายในระบบร่างกาย เช่น ฮีโมโกลบิน • เป็ นแหล่งสารองพลังงานยามขาดแคลน เช่นโปรตีนในเมล็ดข้าวและ นา้ นม
  • 15. • โปรตีนทีเ่ ป็ นฮอร์โมน • โปรตีนให้ความหวานในพืช • โปรตีนป้ องกันการแข็งตัวของเลือดในปลาทีอยู่ในแถบขัวโลก ่ ้ • โปรตีนช่วยสร้างเซลล์เนื้อเยือใหม่ ่
  • 16. HOME ลาดับของกรดอะมิโนจะเป็ นตัวกาหนดโครงสร้างและการทางาน ของโปรตีนนันๆ โดยทัวไป โปรตีนมีโครงสร้างสามมิตสระดับด้วยกันคือ ้ ่ ิ ่ี 1. โครงสร้างปฐมภูมิ เป็ นโครงสร้างทีแสดงพันธะระหว่างกรดอะ ่ มิโนแต่ละตัว
  • 17. 2. โครงสร้า งทุติย ภู มิ เป็ น โครงสร้า งที่แ สดงการจัด ตัว ของ กรดอะมิโนทีอยู่ใกลกน โปรตีนทุกชนิดจะมีโครงสร้างระดับนี้ โดยทัวไป ่ ้ั ่ มีสองแบบคือ แบบ อัลฟาเฮลิก สายเพปไทด์ขดเป็ นเกลียว กับแบบเบตา สายเพปไทด์อยู่ในรูปซิกแซก
  • 18. 3. โครงสร้างตติยภูมิ แสดงการจัดตัวของกรดอะมิโนตลอดทัง ้ สาย พบในโปรตีนที่เป็ นก้อน การจับตัวเป็ นกลุ่มก้อนของสายโพลี เพป ไทด์นนขึ้นกับลาดับกรดอะมิโนและสารอืนๆทีเ่ ข้ามาจับ ั้ ่
  • 19. HOME โปรตีนบางชนิดจะมีหมู่อ่ืนๆนอกจากกรดอะมิโนเข้ามาจับ โปรตีนนี้เรียกว่าโปรตีนคอนจูเกต (conjugated protein) ส่วนหมู่ ทีมาจับเรียกว่าหมูพรอสทีตก (prosthetic group) ตัวอย่างโปรตีน ่ ่ ิ เหล่านี้ได้แก่
  • 24. ฟลาโวโปรตีน โปรตีนจับกับฟลาวิน นิวคลีโอไทด์ (Flavin nucleotide) เช่น ซักซิเนต ดีไฮโดรจีเนส (succinate dehydrogenase)
  • 25. เมทัลโลโปรตีน โปรตีนจับกับโลหะ เช่น เฟอร์รทน (จับกับ Fe) อัลกอฮอล์ ดีไฮโดรจีเนส (จับกับ Zn) ิิ
  • 26. HOME โปรตีนแต่ ล ะชนิ ดมีโครงสร้างสามมิติท่ีจาเพาะต่ อ การทางานที่ แตกต่างกัน ถ้าแรงยึดเหนี่ยวในโครงสร้างสามมิตของโปรตีนถูกทาลาย จะ ิ ทาให้โครงสร้างของโปรตีนเปลี่ยนแปลงไป โดยการคลายตัวออกและไม่ สามารถทาหน้าทีทางชีวภาพได้ เรียกว่า การแปลงสภาพโปรตีน ซึง ปัจจัยที่ ่ ่ ทาให้โปรตีนเกิดเปลียนสภาพ ได้แก่ ความร้อน pH เติมเอทานอล การเติม ่ Pb(NO3)2
  • 27. ลักษณะการแปลงสภาพของโปรตีน ได้แก่ การแข็งตัว ไม่ละลาย นา้ เกิดตะกอนขุนขาวจับตัวเป็ นก้อนขุนขาว เนื่องจากเสียสภาพทางชีวภาพ ่ ่ และความเป็ นระเบียบของโครงสร้างกลไกการเสียสภาพโปรตีนในสภาวะที่ เป็ นกรด-เบส ได้แก่ โปรตีนจะให้หรือรับ H+ แล ้วเกิดเป็ นไอออน สามารถ จับไอออนอืนได้และไอออนลบทีแตกตัวออกจากสารละลายกรดเป็ นไอออน ่ ่ ขนาดใหญ่ จึงทาให้ไอออนของโปรตีนรวมตัวกันเป็ นก้อนได้
  • 30. HOME