SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
ความหมายของคอมพิวเตอร์

       คอมพิวเตอร์ (Computer) หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "สมองกล" ใช้ในการรับ-ส่ง
ข้อมูลข่าวสารและใช้ในด้านการศึกษา ความบันเทิง ใช้ในราชการ การเงิน- การธนาคารฯลฯ
อีกทั้งยังมีผลลัพธ์ถูกต้อง และแม่นยาและทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน




     ประโยชน์ ของคอมพิวเตอร์

    1. ด้านการศึกษา
    ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เสริมทักษะความรู้ การสืบค้นข้อมูล การค้นคว้า
นอกจากนี้ยังมีเกมการศึกษาที่ให้ทั้งความรู้ ความสนุกที่สามารถบูรณาการกับวิชาต่างๆ
        2. ด้านความบันเทิง
        ใช้ในการชมภาพยนตร์ ฟังเพลง ร้องเพลงจากแผ่น CD , VCD และ MP3 พร้อม
ทั้งสามารถเล่นเกมเพื่อความสนุกสนาน และแข่งขันเพื่อทดสอบความสามารถระหว่าง
ผู้เล่นกับคอมพิวเตอร์ หรือผู้เล่นกับผู้เล่นด้วยกัน
     3. ด้านการเงินการธนาคาร
     ใช้ในการเบิก - ถอนเงินผ่านเครื่อง ATM
     การดูข้อมูลตลาดหุ้น การทากราฟ
      4. ด้านการสื่อสารและคมนาคม
      ใช้ในการสื่อสารและถ่ายทอดผ่านดาวเทียม การติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารผ่านโทรศัพท์ การคมนาคมทางเรือ เครื่องบินและรถไฟฟ้า BIS ฯลฯ
5. ด้านศิลปะและการออกแบบ
     ใช้ในการออกแบบป้าย อาคาร หรือ สถานที่จาลองต่างๆ ออกแบบเสื้อผ้า ลายผ้า
การปักในรูปแบบต่างๆ การออกแบบปกรายงาน ปกหนังสือ ฯลฯ
      6. ด้านการแพทย์
      ใช้ในการตรวจคลื่นหัวใจ การผ่าตัด การเอ็กเชย์ การตรวจคลื่นสมอง และการตรวจ
ไวรัสในอวัยะต่างๆ ฯลฯ
       7. ด้านวิทยาศาสตร์และเคมี
       ใช้ในการวิเคราะห์สูตรทางเคมีการค้นคว้าทดลองในห้องวิทยาศาสตร์ การคานวณ
สูตรทางวิทยาศาสตร์ การคานวณเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล และการเกิดปรากฏการณ์
เกี่ยวกับดวงดาวต่างๆ เช่น ดาวตก ดาวหาง กลุ่มดาวเคราะห์ ฝนดาวตก

ส่วนประกอบของคอมพิ วเตอร์

1. ตัวเครื่อง(Case) เป็นหน่วยที่สาคัญสาหรับคอมพิวเตอร์
เปรียบเสมือนหัวใจของเครื่อง และทาหน้าที่ห่อหุ้มอุปกรณ์
ภายในไม่ให้ได้รับความเสียหายประกอบด้วย
หน่วยสาคัญ 3 หน่วยคือ
       หน่วยคานวณทาหน้าที่เกี่ยวกับตัวเลขและเปรียบเทียบข้อมูลตามคาสั่งที่ได้รับ
       หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ควบคุมการทางานส่วนต่างๆ ให้สามารถทางานได้ถูกต้อง
       หน่วยความจา ทาหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและผลลัพธต่างๆ ไว้ก่อนจะถูกนาไป
ทางานของหน่วยต่างๆ ต่อไป

2. จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลออกมา
เป็นตัวเลข ตัวอักษร ข้อความ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว
มีลักษณะคล้ายจอโทรทัศน์
3. เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้บังคับตัวชี้เมาส์บนจอภาพ
เพื่อเลือกคาสั่งต่างๆ แทนการป้อนคาสั่งทางคีย์บอร์ดช่วยให้
การทางานสะดวกและรวดเร็วมีรูปร่างคล้ายกับหนู

4. แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์ที่นาเข้าข้อมูล
ใช้พิมพ์ได้ทั้งตัวอักษรไทย อังกฤษ และตัวเลขหรือ
คาสั่งต่างๆ เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์

5. เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผล
ข้อมูล ตัวอักษร รูปภาพด้วยการพิมพ์ลงกระดาษ



6. ลาโพง เป็นอุปกรณ์ที่ถ่ายทอดเสียง
และขยายเสียงจากเครื่องคอมพิวเตอร์


ขั้นตอนการ เปิด-ปิด เครื่องคอมพิวเตอร์
การเปิ ด เครื่ องคอมพิ ว เตอร์
1. กดสวิตซ์สาหรับเปิด - ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์กดปุ่ม Power ที่อยู่บนตัวเครื่องจะพบว่า
   มีไฟติดที่ตัวเครื่อง และแป้นพิมพ์
2. กดสวิตซ์จอภาพ
การปิ ด เครื่ องคอมพิ ว เตอร์
1. ออกจากโปรแกรมทุกโปรแกรมก่อน
2. คลิกเลือกเมาส์ที่ปุ่ม Start
3. เลือกคาสั่ง Shut Down
4. จะปรากฏกรอบ Diaiog Box ที่ชื่อว่า Shut Down ขึ้นมาเลือกคาสั่ง Shut Down
1. ปุ่ม Enter ใช้รับคาสั่งเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามที่พิมพ์ไว้
สาหรับการพิมพ์เอกสาร ใช้เมื่อต้องการขึ้นบรรทัดใหม่
2. ปุ่ม Backspace ใช้สาหรับลบตัวอักษรที่อยู่หน้าเคอร์เซอร์ ที่ละ 1 ตัวอักษร
3. ปุ่ม Esc ใช้สาหรับการยกเลิกคาสั่งที่ทาไปแล้ว หรือใช้ออกจากโปรแกรมนั้น
4. ปุ่ม Space Bar ใช้สาหรับการเว้นวรรคตัวอักษรทีละตัวอักษร
5. ปุ่ม Shift ใช้สาหรับพิมพ์ตวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ หรือ
                                ั
ตัวอักษรภาษาไทยที่อยู่ด้านบน
6. ปุ่ม Tiled ใช้สาหรับสลับภาษาในการพิมพ์ข้อมูล ระหว่าง ภาษาไทย
หรือภาษาอังกฤษ
7. ปุ่ม Caps Lock ใช้สาหรับพิมพ์อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่
หรือพิมพ์อักษรภาษาไทยที่อยูแถวบน  ่
8. ปุ่ม Tab ใช้สาหรับการจัดตาแหน่งของข้อความให้มีคอลัมน์ตรงกัน
9. ปุ่ม Delete ใช้สาหรับตัวอักษรที่อยู่ในตาแหน่งหลังเคอร์เซอร์ 1 ตัวอักษร
10.ปุ่มลูกศร (Arrow keys) ใช้สาหรับการควบคุมการเคลื่อนที่ของเคอร์เซอร์
11.ปุ่ม Num Lock ใช้เมื่อต้องการพิมพ์ตัวเลขในแผงปุ่มตัวเลข
12.ปุ่มแผงตัวเลข (Number keys) ใช้สาหรับป้อนข้อมูลที่เป็นตัวเลข
วิธีการดูแ ลรั กษาเครื่ องคอมพิวเตอร์
วิธีการดูแลรักษาแป้นพิมพ์ (keyboard)
    1. ปัดฝุ่นและทาความสะอาดเป็นประจา
    2. อย่าทาน้าหกถูกแผงแป้นพิมพ์
    3. คลุมผ้าทุกครั้งหลังการใช้งาน

วิธีการดูแลรักษาจอภาพ (Monitor)
    1. ทาความสะอาดหน้าจอ
    2. อย่านาแม่เหล็กเข้าใกล้จอภาพ

วิธีการดูแลรักษาเครื่องพิมพ์ (Printer)
    1. ปิดเครื่องพิมพ์ทุกครั้งหลังใช้งาน
    2. เมื่อกระดาษติดอย่ากระชากให้ค่อยๆ ดึงออก

วิธีการดูแลรักษาเมาส์ (Mouse)
    1. ควรวางเมาส์ไว้ที่แผ่นรองเมาส์ทุกครั้ง
    2. อย่ากระแทกเมาส์กับพื้น
    3. ทาความสะอาดเมาส์บริเวณลูกกลิ้ง

วิธีการดูแลรักษาตัวเครื่อง (Case)
    1. ไม่ควรให้เครื่องอยู่บริเวณที่มีอุณหภูมิสง
                                               ู
    2. ไม่ควรทาน้าหรืออาหารหกใส่เครื่อง
การดูแลรักษาแผ่นดิสก์ (Diskette)
   1. ไม่ควรนาแผ่นดิสก์ไปไว้ในที่ที่มความชืนสูงหรือเปียก
                                     ี      ้
   2. ไม่ควรนาแผ่นดิสก์ไปเข้าใหล้กับวัตถุที่มีสนามแม่เหล็ก
   3. ไม่ควรนาแผ่นดิสก์ไปวางไว้ในที่ที่มีอณภูมิสูงหรือที่ที่มีแสงแดดส่องถึง
                                          ุ
   4. ไม่ควรขีดหรือเขียนสิ่งใดลงบนแผ่นดิสก์ถ้าจะต้องเขียนให้เขียนลงบนป้าย
      ที่มีชื่อไว้สาหรับติดบนแผ่นดิสก์
   5. ไม่ควรงอแผ่นดิสก์ เพราะอาจจะทาให้แผ่นชารุดและอาจจะทาให้ไม่สามารถ
      เก็บบันทึกข้อมูลได้
   6. ห้ามนาแผ่นดิสก์ออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ในขณะที่กาลังอ่านข้อมูล

การดูแลรักษาแผ่นซีดี (Cd)
   1. ควรเก็บแผ่นซีดีไว้ในกล่อง เพื่อป้องกัน
      ฝุ่นละอองหรือสิ่งสกปรกอื่นๆ
   2. ไม่ควรขีดหรือเขียนสิ่งใดลงบนแผ่นซีดี
      เนื่องจากจะทาให้แผ่นซีดีเกิดรอยขีดข่วนและเสียหาย ใช้งานไม่ได้
   3. การจัดแผ่นซีดีที่ถูกต้อง ควรใช้น้วชี้หรือนิ้วกลางใส่ลงไปที่ช่องตรงกลางของแผ่น
      แล้วใช้นิ้วอื่นจับตรงส่วนขอบของแผ่น ไม่ควรใช้มือจับบริเวณด้านหน้าหรือ
      ด้านหลังของแผ่นซีดี เนื่องจากคราบน้ามันหรือสิ่งสรกปรกบนมืออาจทาให้
      แผ่นซีดีใช้งานไม่ดีเท่าที่ควร
   4. ไม่ควรงอแผ่นซีดี เนื่องจากแผ่นซีดีเป็นพลาสติดแข็งไม่มความยืดหยุ่นซึ่งอาจจะ
                                                              ี
      ทาให้แผ่นซีดีมีโอกาสแตกหักได้ง่าย

Contenu connexe

En vedette

1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์duanpen homkajuy
 
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงการบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงKrupreecha Krubaannok
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศBenjapron Seesukong
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)phatrinn555
 
หน้าที่ของแป้นพิมพ์
หน้าที่ของแป้นพิมพ์หน้าที่ของแป้นพิมพ์
หน้าที่ของแป้นพิมพ์laiad
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4nareerat inthukhahit
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศThanawut Rattanadon
 

En vedette (8)

1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
 
การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงการบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
 
หน้าที่ของแป้นพิมพ์
หน้าที่ของแป้นพิมพ์หน้าที่ของแป้นพิมพ์
หน้าที่ของแป้นพิมพ์
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Similaire à Pratom computer 01

Tablet2
Tablet2Tablet2
Tablet2jamrat
 
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลKriangx Ch
 
Take it easy 2015 april issue - no.1
Take it easy   2015 april issue - no.1Take it easy   2015 april issue - no.1
Take it easy 2015 april issue - no.1Karate Natdanaii
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์kruchanon2555
 
ความรู้เบื้องต้นการใช้ Tablet
ความรู้เบื้องต้นการใช้ Tabletความรู้เบื้องต้นการใช้ Tablet
ความรู้เบื้องต้นการใช้ TabletChutwitra F 'a' NG
 
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...ฐนกร คำเรือง
 
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...ฐนกร คำเรือง
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องAriya Soparux
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Kuroba Kaito
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิมYIMMIE89
 

Similaire à Pratom computer 01 (20)

Tablet2
Tablet2Tablet2
Tablet2
 
Tablet2
Tablet2Tablet2
Tablet2
 
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
 
Take it easy 2015 april issue - no.1
Take it easy   2015 april issue - no.1Take it easy   2015 april issue - no.1
Take it easy 2015 april issue - no.1
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นการใช้ Tablet
ความรู้เบื้องต้นการใช้ Tabletความรู้เบื้องต้นการใช้ Tablet
ความรู้เบื้องต้นการใช้ Tablet
 
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
 
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
work4-21
work4-21work4-21
work4-21
 
โอเน็ตคอม
โอเน็ตคอมโอเน็ตคอม
โอเน็ตคอม
 
3tablet jamrat
3tablet jamrat3tablet jamrat
3tablet jamrat
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 

Pratom computer 01

  • 1. ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ (Computer) หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "สมองกล" ใช้ในการรับ-ส่ง ข้อมูลข่าวสารและใช้ในด้านการศึกษา ความบันเทิง ใช้ในราชการ การเงิน- การธนาคารฯลฯ อีกทั้งยังมีผลลัพธ์ถูกต้อง และแม่นยาและทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน ประโยชน์ ของคอมพิวเตอร์ 1. ด้านการศึกษา ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เสริมทักษะความรู้ การสืบค้นข้อมูล การค้นคว้า นอกจากนี้ยังมีเกมการศึกษาที่ให้ทั้งความรู้ ความสนุกที่สามารถบูรณาการกับวิชาต่างๆ 2. ด้านความบันเทิง ใช้ในการชมภาพยนตร์ ฟังเพลง ร้องเพลงจากแผ่น CD , VCD และ MP3 พร้อม ทั้งสามารถเล่นเกมเพื่อความสนุกสนาน และแข่งขันเพื่อทดสอบความสามารถระหว่าง ผู้เล่นกับคอมพิวเตอร์ หรือผู้เล่นกับผู้เล่นด้วยกัน 3. ด้านการเงินการธนาคาร ใช้ในการเบิก - ถอนเงินผ่านเครื่อง ATM การดูข้อมูลตลาดหุ้น การทากราฟ 4. ด้านการสื่อสารและคมนาคม ใช้ในการสื่อสารและถ่ายทอดผ่านดาวเทียม การติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต การติดต่อสื่อสารผ่านโทรศัพท์ การคมนาคมทางเรือ เครื่องบินและรถไฟฟ้า BIS ฯลฯ
  • 2. 5. ด้านศิลปะและการออกแบบ ใช้ในการออกแบบป้าย อาคาร หรือ สถานที่จาลองต่างๆ ออกแบบเสื้อผ้า ลายผ้า การปักในรูปแบบต่างๆ การออกแบบปกรายงาน ปกหนังสือ ฯลฯ 6. ด้านการแพทย์ ใช้ในการตรวจคลื่นหัวใจ การผ่าตัด การเอ็กเชย์ การตรวจคลื่นสมอง และการตรวจ ไวรัสในอวัยะต่างๆ ฯลฯ 7. ด้านวิทยาศาสตร์และเคมี ใช้ในการวิเคราะห์สูตรทางเคมีการค้นคว้าทดลองในห้องวิทยาศาสตร์ การคานวณ สูตรทางวิทยาศาสตร์ การคานวณเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล และการเกิดปรากฏการณ์ เกี่ยวกับดวงดาวต่างๆ เช่น ดาวตก ดาวหาง กลุ่มดาวเคราะห์ ฝนดาวตก ส่วนประกอบของคอมพิ วเตอร์ 1. ตัวเครื่อง(Case) เป็นหน่วยที่สาคัญสาหรับคอมพิวเตอร์ เปรียบเสมือนหัวใจของเครื่อง และทาหน้าที่ห่อหุ้มอุปกรณ์ ภายในไม่ให้ได้รับความเสียหายประกอบด้วย หน่วยสาคัญ 3 หน่วยคือ หน่วยคานวณทาหน้าที่เกี่ยวกับตัวเลขและเปรียบเทียบข้อมูลตามคาสั่งที่ได้รับ หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ควบคุมการทางานส่วนต่างๆ ให้สามารถทางานได้ถูกต้อง หน่วยความจา ทาหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและผลลัพธต่างๆ ไว้ก่อนจะถูกนาไป ทางานของหน่วยต่างๆ ต่อไป 2. จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลออกมา เป็นตัวเลข ตัวอักษร ข้อความ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว มีลักษณะคล้ายจอโทรทัศน์
  • 3. 3. เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้บังคับตัวชี้เมาส์บนจอภาพ เพื่อเลือกคาสั่งต่างๆ แทนการป้อนคาสั่งทางคีย์บอร์ดช่วยให้ การทางานสะดวกและรวดเร็วมีรูปร่างคล้ายกับหนู 4. แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์ที่นาเข้าข้อมูล ใช้พิมพ์ได้ทั้งตัวอักษรไทย อังกฤษ และตัวเลขหรือ คาสั่งต่างๆ เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ 5. เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผล ข้อมูล ตัวอักษร รูปภาพด้วยการพิมพ์ลงกระดาษ 6. ลาโพง เป็นอุปกรณ์ที่ถ่ายทอดเสียง และขยายเสียงจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนการ เปิด-ปิด เครื่องคอมพิวเตอร์ การเปิ ด เครื่ องคอมพิ ว เตอร์ 1. กดสวิตซ์สาหรับเปิด - ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์กดปุ่ม Power ที่อยู่บนตัวเครื่องจะพบว่า มีไฟติดที่ตัวเครื่อง และแป้นพิมพ์ 2. กดสวิตซ์จอภาพ การปิ ด เครื่ องคอมพิ ว เตอร์ 1. ออกจากโปรแกรมทุกโปรแกรมก่อน 2. คลิกเลือกเมาส์ที่ปุ่ม Start 3. เลือกคาสั่ง Shut Down 4. จะปรากฏกรอบ Diaiog Box ที่ชื่อว่า Shut Down ขึ้นมาเลือกคาสั่ง Shut Down
  • 4. 1. ปุ่ม Enter ใช้รับคาสั่งเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามที่พิมพ์ไว้ สาหรับการพิมพ์เอกสาร ใช้เมื่อต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ 2. ปุ่ม Backspace ใช้สาหรับลบตัวอักษรที่อยู่หน้าเคอร์เซอร์ ที่ละ 1 ตัวอักษร 3. ปุ่ม Esc ใช้สาหรับการยกเลิกคาสั่งที่ทาไปแล้ว หรือใช้ออกจากโปรแกรมนั้น 4. ปุ่ม Space Bar ใช้สาหรับการเว้นวรรคตัวอักษรทีละตัวอักษร 5. ปุ่ม Shift ใช้สาหรับพิมพ์ตวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ หรือ ั ตัวอักษรภาษาไทยที่อยู่ด้านบน 6. ปุ่ม Tiled ใช้สาหรับสลับภาษาในการพิมพ์ข้อมูล ระหว่าง ภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ 7. ปุ่ม Caps Lock ใช้สาหรับพิมพ์อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ หรือพิมพ์อักษรภาษาไทยที่อยูแถวบน ่ 8. ปุ่ม Tab ใช้สาหรับการจัดตาแหน่งของข้อความให้มีคอลัมน์ตรงกัน 9. ปุ่ม Delete ใช้สาหรับตัวอักษรที่อยู่ในตาแหน่งหลังเคอร์เซอร์ 1 ตัวอักษร 10.ปุ่มลูกศร (Arrow keys) ใช้สาหรับการควบคุมการเคลื่อนที่ของเคอร์เซอร์ 11.ปุ่ม Num Lock ใช้เมื่อต้องการพิมพ์ตัวเลขในแผงปุ่มตัวเลข 12.ปุ่มแผงตัวเลข (Number keys) ใช้สาหรับป้อนข้อมูลที่เป็นตัวเลข
  • 5. วิธีการดูแ ลรั กษาเครื่ องคอมพิวเตอร์ วิธีการดูแลรักษาแป้นพิมพ์ (keyboard) 1. ปัดฝุ่นและทาความสะอาดเป็นประจา 2. อย่าทาน้าหกถูกแผงแป้นพิมพ์ 3. คลุมผ้าทุกครั้งหลังการใช้งาน วิธีการดูแลรักษาจอภาพ (Monitor) 1. ทาความสะอาดหน้าจอ 2. อย่านาแม่เหล็กเข้าใกล้จอภาพ วิธีการดูแลรักษาเครื่องพิมพ์ (Printer) 1. ปิดเครื่องพิมพ์ทุกครั้งหลังใช้งาน 2. เมื่อกระดาษติดอย่ากระชากให้ค่อยๆ ดึงออก วิธีการดูแลรักษาเมาส์ (Mouse) 1. ควรวางเมาส์ไว้ที่แผ่นรองเมาส์ทุกครั้ง 2. อย่ากระแทกเมาส์กับพื้น 3. ทาความสะอาดเมาส์บริเวณลูกกลิ้ง วิธีการดูแลรักษาตัวเครื่อง (Case) 1. ไม่ควรให้เครื่องอยู่บริเวณที่มีอุณหภูมิสง ู 2. ไม่ควรทาน้าหรืออาหารหกใส่เครื่อง
  • 6. การดูแลรักษาแผ่นดิสก์ (Diskette) 1. ไม่ควรนาแผ่นดิสก์ไปไว้ในที่ที่มความชืนสูงหรือเปียก ี ้ 2. ไม่ควรนาแผ่นดิสก์ไปเข้าใหล้กับวัตถุที่มีสนามแม่เหล็ก 3. ไม่ควรนาแผ่นดิสก์ไปวางไว้ในที่ที่มีอณภูมิสูงหรือที่ที่มีแสงแดดส่องถึง ุ 4. ไม่ควรขีดหรือเขียนสิ่งใดลงบนแผ่นดิสก์ถ้าจะต้องเขียนให้เขียนลงบนป้าย ที่มีชื่อไว้สาหรับติดบนแผ่นดิสก์ 5. ไม่ควรงอแผ่นดิสก์ เพราะอาจจะทาให้แผ่นชารุดและอาจจะทาให้ไม่สามารถ เก็บบันทึกข้อมูลได้ 6. ห้ามนาแผ่นดิสก์ออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ในขณะที่กาลังอ่านข้อมูล การดูแลรักษาแผ่นซีดี (Cd) 1. ควรเก็บแผ่นซีดีไว้ในกล่อง เพื่อป้องกัน ฝุ่นละอองหรือสิ่งสกปรกอื่นๆ 2. ไม่ควรขีดหรือเขียนสิ่งใดลงบนแผ่นซีดี เนื่องจากจะทาให้แผ่นซีดีเกิดรอยขีดข่วนและเสียหาย ใช้งานไม่ได้ 3. การจัดแผ่นซีดีที่ถูกต้อง ควรใช้น้วชี้หรือนิ้วกลางใส่ลงไปที่ช่องตรงกลางของแผ่น แล้วใช้นิ้วอื่นจับตรงส่วนขอบของแผ่น ไม่ควรใช้มือจับบริเวณด้านหน้าหรือ ด้านหลังของแผ่นซีดี เนื่องจากคราบน้ามันหรือสิ่งสรกปรกบนมืออาจทาให้ แผ่นซีดีใช้งานไม่ดีเท่าที่ควร 4. ไม่ควรงอแผ่นซีดี เนื่องจากแผ่นซีดีเป็นพลาสติดแข็งไม่มความยืดหยุ่นซึ่งอาจจะ ี ทาให้แผ่นซีดีมีโอกาสแตกหักได้ง่าย