SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
ชุดกิจกรรมฝึกทักษะการคิด
วิเคราะห์
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖
การอ่านคิดวิเคราะห์จากบทความ
โดย
นางเพ็ญศรี สังข์สุข
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
จังหวัดตรัง
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต ๑๓
คำานำา
ชุดกิจกรรมฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ชุดนี้ จัดทำาขึ้นเพื่อเป็น
เครื่องมือในการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ให้กับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ การคิดวิเคราะห์เป็นพื้นฐานสำาคัญของการ
พัฒนาผู้เรียนให้รู้จักคิดอย่างเป็นระบบ คิดอย่างมีเหตุผล มี
วิจารณญาณ มีการไตร่ตรอง มองเห็นการณ์ไกล และรู้จักนำาความ
สามารถในการคิดไปใช้ในการเผชิญสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
ชุดกิจกรรมฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ มีทั้งหมด ๖ ชุด
ชุดที่ ๑ เป็นการฝึกการคิดวิเคราะห์จากข่าว
ชุดที่ ๒ เป็นการฝึกการคิดวิเคราะห์จากบทความ
ชุดที่ ๓ เป็นการฝึกการคิดวิเคราะห์จากสารคดี
ชุดที่ ๔ เป็นการฝึกการคิดวิเคราะห์จากเรื่องสั้น นวนิยาย
ชุดที่ ๕ เป็นการฝึกการคิดวิเคราะห์จากร้อยกรอง
ชุดกิจกรรมแต่ละชุดจะมีแผนการจัดการเรียนรู้เป็นคู่มือใน
การฝึก ซึ่งเป็นการสอน
สอดแทรกในการเรียนการสอน กิจกรรมมี ๕ ขั้นตอน คือ เสนอ
สถานการณ์ กำาหนดปัญหา
กำาหนดหลักการ จำาแนกแยกแยะ และสรุปคำาตอบผู้จัดทำาหวังว่าชุด
กิจกรรมฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ชุดนี้ จะเป็นแนวทางหนึ่งในการ
จัดกระบวนการสอนคิดให้กับผู้เรียนได้ตามเจตนารมณ์ของ
2
หลักสูตร และเป็นประโยชน์ต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูใน
กลุ่มสาระภาษาไทยและกลุ่มสาระอื่นๆได้ตามสมควร
นางเพ็ญศรี สังข์สุข
ครู โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
สารบัญ
เรื่อง
หน้า
คำานำา………………………………………………………………
………………………………….๑
สารบัญ……………………………………………………………
………………………………....๒
คำา
ชี้แจง………………………………………………………………
………………… ……… .….๔
ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมฝึก
…………………………………………………………………….
....๕
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด......
……………………………………………………………………
…………...๖
แบบทดสอบก่อนเรียน
……………………………………………………………………
…………๗
3
เฉลยแบบทดสอบ
……………………………………………………………………
……………..๑๐
กรอบเนื้อหา
……………………………………………………………………
…………………..๑๑
กรอบกิจกรรม
……………………………………………………………………
………………...๑๕
เกม
……………………………………………………………………
……………………………๑๕
กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมกลุ่ม
…………………………………………………………………….
…...๑๖
กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมรายบุคคล
…………………………………………………………………..
๑๙
แบบทดสอบหลังเรียน
……………………………………………………………………
………..๒๑
เฉลยแบบทดสอบ
……………………………………………………………………
……………๒๔
บรรณานุกรม
……………………………………………………………………
………………...๒๕
4
คำาชี้แจง
ชุดกิจกรรมฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖จัดทำาขึ้นเพื่อใช้ฝึกทักษะการคิด
วิเคราะห์ให้กับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ชุดกิจกรรมฝึกทักษะ
การคิดวิเคราะห์ ในแต่ละชุดประกอบด้วย
๑. มาตรฐาน /ตัวชี้วัด
๒. กรอบเนื้อหา
๓. กรอบกิจกรรม ๓ กิจกรรม คือ
๓.๑ เกมกระตุ้นให้คิด
๓.๒ กิจกรรมกลุ่ม
๓.๓ กิจกรรมรายบุคคล
๔. กิจกรรมการฝึกคิดวิเคราะห์มี ๕ ขั้นตอน คือ
เสนอสถานการณ์
กำาหนดปัญหา
กำาหนดหลักการหรือกฎเกณฑ์
พิจารณาแยกแยะ
สรุปคำาตอบ
๕. แบบทดสอบก่อน-หลังฝึกกิจกรรม
5
ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทักษะการคิด
วิเคราะห์
๑. ศึกษามาตรฐาน /ตัวชี้วัด
๒. ทำาแบบทดสอบก่อนเรียน
๓. ศึกษาเนื้อหา
๔. ปฏิบัติกิจกรรม
๔.๑ เล่นเกมกระตุ้นให้คิด
๔.๒ ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานที่ ๑ เป็นกิจกรรมกลุ่ม
๔.๓ ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานที่ ๒ เป็นกิจกรรมราย
บุคคล
๕. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละกิจกรรมเสร็จแล้วประเมินผล
งานร่วมกับครู
๖. ทำาแบบทดสอบหลังเรียน
มาตรฐาน /ตัวชี้วัด
6
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด
เพื่อนำาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต และมีนิสัยรัก
การอ่าน
ม ๔-๖/๒ ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน
ม ๔-๖/๓ วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมี
เหตุผล
ม ๔-๖/๔ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน และประเมินค่าเพื่อ
นำาความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจ
แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต
ม ๔-๖/๖ ตอบคำาถามจากการอ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่
กำาหนด
ม ๔-๖/๗ อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิดผังความคิด
บันทึก ย่อความ และรายงาน
ม ๔-๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์
วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำามาประยุกต์ใช้
ในชีวิตจริง
ม ๔-๖/๑ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลัก
การวิจารณ์เบื้องต้น
ม ๔-๖/๔ สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำาไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรียนอธิบายลักษณะของบทความได้
๒. นักเรียนอ่านจับใจความและตอบคำาถามของบทความ
ที่อ่านได้
๓. นักเรียนบอกข้อคิดจากบทความที่อ่านได้
7
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการอ่านและ
พิจารณาบทความ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๔-๖
๑. แบบทดสอบหลังเรียน ฉบับนี้ใช้ทดสอบความสามารถใน
การคิดวิเคราะห์
ก่อนการฝึกกิจกรรม การคิดวิเคราะห์ชุดที่ ๒ เรื่องการอ่านและ
พิจารณาวิเคราะห์วิจารณ์บทความ เป็นแบบทดสอบปรนัยแบบ
เลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จำานวน ๒๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน ใช้เวลาใน
การทดสอบ ๕๐ นาที
๒. ให้นักเรียนอ่านข้อคำาถามและคำาตอบให้ละเอียด แล้วเลือก
คำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำาตอบ
เดียวแล้วนำาไปตอบลงในกระดาษคำาตอบ โดยทำาเครื่องหมาย X
ลงในช่องตัวเลือกที่ต้องการ
๓. ให้นักเรียนทำาแบบทดสอบให้ครบทุกข้อ
อ่านบทความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถาม ข้อ ๑-๕
ข้าวแต่ละเม็ดไม่ได้มาง่าย ๆ
ข้าวหนึ่งเม็ด ได้มา
ไม่ง่าย
ทานข้าวในจาน
นึกถึงที่มา
โปรดอย่าเหลือทิ้ง เป็น
บาปหนักหนา
ถางหญ้ากลางแดดจ้า
หลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน
เหงื่อไหลรินอาบหน้า
ความทุกข์จากชาวนา
พระอาทิตย์ พระจันทร์ต้องส่องแสง หล่อเลี้ยง
จากอากาศ
เติบโตได้กว่าร้อยวัน จึง
เก็บเกี่ยวยามสมควร
8
ดิฉันมีโอกาสได้อ่านข้อคิดคำาคมที่แปลจากสุภาษิต
จีนบทนี้แล้ว ก็อดตั้งคำาถามขึ้นมาใน
ใจไม่ได้ว่า . . . ถ้าวันหนึ่งข้างหน้าประเทศไทยไม่สามารถปลูก
ข้าวกินได้ อาจเพราะไม่มีพื้นที่ทำานา ไม่มีใครปลูกข้าว ชาวนารุ่น
หลังหันหลังให้ท้องนาหันหน้าเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ จน
เราต้องซื้อข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น อินเดีย เวียดนาม เพื่อ
นำามาบริโภค อยากรู้จริงๆ ว่าคนไทยกว่า ๖๐ ล้านคนจะรู้สึก
อย่างไร …?
หลายคนอาจจะหัวเราะที่ดิฉันถามคำาถามนี้ขึ้นมา
เพราะเป็นไปไม่ได้ที่เมืองไทยจะ
ไม่มีข้าวกิน แต่อย่าลืมว่าในอนาคตอะไรก็เป็นไปได้หมด ยิ่งโลก
ร้อน เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ นำ้าท่วมบ่อยๆ อาจทำาให้คำาถามที่คิด
ว่าไม่น่าถามนี้เป็นไปได้
และเชื่อว่าหากเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นจริงๆ หลายต่อ
หลายคนต้องโทษคนโน้นโทษคนนี้ ทั้งๆ ที่ไม่เคยมองหรือถามตัว
เองเลยว่า ทุกวันนี้เราทำาทุกอย่างดีพอหรือยัง เรากินข้าวหมดจาน
ไหม เรากินทิ้งกินขว้างหรือเปล่า
เคยจำาได้ว่าตอนเป็นเด็กคุณครูจะให้ท่องบทกลอนหนึ่ง
ก่อนกินข้าวทุกมื้อ ... ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง อย่ากินทิ้งขว้าง
เป็นของมีค่า พ่อแม่เหนื่อยยาก ลำาบากหนักหนา สงสารบรรดา คน
ยากคนจน ... แต่พอเวลาผ่านไปเมื่อเติบโตขึ้น กลอนบทนี้ก็
กลายเป็นเพียงความทรงจำาสีจางที่เข้าไปหลบอยู่ในซอก
เล็กๆ ของความทรงจำา จนทำาให้หลายๆ คนมักมองข้ามและ
ไม่เคยนึกถึง
ทุกวันนี้เรามีข้าวปลาอาหารกินครบ ๓ มื้อ เผลอๆ อาจจะมี
บ้างที่กินเหลือ กินขว้าง กินทิ้ง กินเล่น แต่ในทางกลับกันยังมี
อีกหลายคนไม่มีแม้แต่ข้าวสักเม็ดตกถึงท้อง นั่งรอคอยความหวังว่า
จะได้กินอาหารดีๆ สักมื้อในชีวิตก่อนหมดลมหายใจ …
๑. เรื่องนี้จัดเป็นบทความเพราะ
ก. ให้ความรู้ขนาดสั้น ทันสมัย น่าสนใจ
ข. เป็นการเสนอความคิดเห็นที่น่าสนใจอย่างสั้น ๆ
ค. เป็นการเสนอความคิดเห็นของผู้แต่งและเสนอความรู้ของผู้
มีชื่อเสียง
ง. การเสนอเหตุผลและตัวอย่างโน้มน้าวจูงใจ
๒. ควรเป็นบทความประเภทใดมากที่สุด
9
ก. บรรยาย ข. วิเคราะห์
ค. วิจารณ์ ง. ไม่มีข้อถูก
๓. จุดเด่นที่จูงใจให้ผู้อ่านเชื่อถือและเห็นจริงในเรื่องนี้มากที่สุดคือ
อะไร
ก. อ้างบุคคลที่มีชื่อเสียง ข. ให้เหตุผลที่น่าเชื่อถือ
ค. ยกตัวอย่างที่ชัดเจน ง. ให้ความรู้ใหม่ที่น่า
สนใจ
๔. ใจความสำาคัญของบทความคืออะไร
ก. ประโยชน์ของข้าว ข. ประเทศไทยกำาลังจะไม่มีข้าว
กิน
ค. หัวอกของชาวนา ง. อนาคตชาวนาไทย
๕. นำ้าเสียงของผู้แต่งเป็นอย่างไร
ก. เศร้าสลด ข. โกรธ เกลียด
ค. เวทนา สงสาร ง. ให้กำาลังใจ
อ่านบทความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถาม ข้อ ๖-๑๐
แด่เธอ… คนที่ฉัน ให้ความ
สำาคัญน้อยไป
ผมก็เป็นอีกคนที่เหมือนวัยรุ่นทั่วๆ ไป เรียน เที่ยว นอน
กิน . . . ดึกๆ ผมก็โทรคุยกับแฟนของผม ทั้งหมดเหล่านี้ มันก็เป็น
กิจวัตรประจำาวันของผม และผมก็เชื่อว่าวัยรุ่นสมัยนี้เค้าก็ทำาแบบนี้
กัน (ความเข้าใจของผมนะ) "จ้า ตัวเอง วันนี้กินข้าวรื้อยาง" "กิน
กับอะไรบ้าง แล้วตอนกินตัวเองคิดถึงเค้ามั้ยเนี่ย" "รู้มั้ยตัวเอง ถ้า
เค้าเป็นผีเนี่ย เค้าอยากเป็นกระสือที่รักจะได้เห็นใจไง"
"ตัวเองวางก่อนดิ ก่อนดิ" นี่คือประโยคต่างๆ ที่ผมได้คิด และคัดสรร
เตรียมพร้อมมาต่างๆ ก่อนโทรหาแฟน
ในตอนดึกของทุกๆ วัน . . . ผมยังคงใช้เวลาส่วนใหญ่ใน
การคุยโทรศัพท์
แต่ผมกลับรู้สึกว่า ระยะเวลาที่ผมใช้ไปนั้นไม่นานเลย แต่ . . . พอ
รู้สึกอีกที มันกลับผ่านไปหลายชั่วโมงแล้ว ผมก็ไม่ชอบนะ . . .
หากใครจะมาว่าผมไร้สาระ ก็ไม่เห็นเหรอคนส่วนใหญ่เค้าก็ทำากัน
10
ใครไม่ทำาก็เชยเป็นบ้าแล้ว . . . เอ้อ . . .เกือบลืมไปอีกอย่าง
กิจวัตรอีกอย่างหนึ่งของผมก็คือ
แม่ของผมมักชอบโทรหาผมทุกวัน "ตอนนี้ลูกอยู่หอรึยัง"
"เย็นนี้กินข้าวอิ่มมั้ย"
"วันนี้เรียนเป็นยังไงบ้าง"
"อย่าไปเที่ยวที่ไหนไกลนะ" โธ่! คำาถามเดิมๆ ผมก็ตอบไปแบบ
เดิมๆ
แม่ผมก็ไม่เบื่อซักที ยังคงโทรหาผมเป็นประจำา โชคดี . . . ที่ผม
พยายามตัดบทคุย
ผมกับแม่น่ะคุยกันไม่กี่นาทีก็วางแล้ว ก็มันไม่มีอะไรจะคุยจะให้ผม
ทำายังไง
จนกระทั่งวันนั้น . . .
"ตัวเองตอบเค้าได้รึยังว่ารักเค้ามั้ย" "เร็วๆ สิ เค้ายังอุตส่าห์
บอกรักตัวเองไปแล้วนะ"
"แล้วยังจะใจร้าย ไม่บอกรักเค้าอีกเหรอ" ติ๊ดๆ ติ๊ดๆ เสียงจาก
โทรศัพท์บอกผมว่ามีสายซ้อน
ผมมองไปที่หน้าจอมันขึ้นชื่อว่า "Home"
"โธ่ แม่โทรมาทำาไมตอนนี้เนี่ย กำาลังเข้าด้ายเข้าเข็มเลย"
ผมไม่สลับสาย . . . ผมยังคงคุยกับสุดที่รักของผมต่อไป
เพราะผมรู้ว่า สิ่งที่แม่จะคุยกับผมก็คงเป็นประโยคเดิมๆ และนั่น
เป็นการตัดสินใจ . . . ที่ผิดพลาดที่สุดในชีวิตของผม
หลังจากนั้นไม่นาน . . .
ทางญาติของผมโทรมาแจ้งผมว่า . . . เมื่อคืนนี้บ้านของผมถูก
ขโมยเข้า และแม่ของผมขัดขืน
และได้ต่อสู้กับโจร จึงถูกโจรใช้มีดแทงเข้าที่ท้อง
แม่เสียชีวิต เพราะทนพิษบาดแผลไม่ไหว
ญาติของผมเล่าอีกว่า . . . ตอนไปพบศพแม่นั้น
ในมือของแม่กำาโทรศัพท์ไว้แน่น
และเบอร์โทรออกล่าสุดของเธอ ไม่ใช่โทรแจ้งตำารวจ
หรือเรียกรถพยาบาล แต่แม่เลือกที่จะโทรหาผม
สิ่งสุดท้ายในชีวิต ที่แม่ผมเลือกที่จะทำาคือ . . .
โทรศัพท์หาผมเพื่อฟังเสียงของผม
วินาทีนั้นนำ้าตาของผมไหลอาบแก้ม ผมพูดอะไรไม่ออก มือและตัว
ของผมสั่น
11
วันนั้น . . . ผมเลือกที่จะคุยกับแฟนผม ดีกว่าที่จะคุยกับ
แม่ของผม
ผู้หญิงคนเดียวในโลก ที่คุยกับผมเป็นคนแรกในชีวิต ผู้หญิงคน
เดียวที่ผมสามารถที่จะคุยกับเธอได้ทุกเวลา โดยที่ผมไม่ต้องเตรียม
บทพูดใดๆ ไม่ต้องกังวลว่าเธอจะประทับใจหรือไม่
ไม่ต้องมีมุข ไม่ต้องมีคำาหวานใดๆ คนเดียวในโลก ที่โทรมาหา
ผมเพียงแค่ฟังผมพูดประโยคเดิมๆ
คนเดียวในโลกที่ไม่ว่า โทรศัพท์เธอจะโปรโมชั่นแพงแค่ไหนก็ยัง
โทรหาผม
และคนเดียวในโลก ที่เลือกคุยกับผมในวินาทีสุดท้ายใน
ชีวิต
ในบางครั้งประโยคที่ว่า "ไม่มีคำาว่าสาย หากเราคิดที่
จะแก้ตัว"
มันก็ไม่เป็นความจริง "เพราะบางปรากฏการณ์ในโลก เกิดขึ้นได้แค่
ครั้งเดียว"
อาจเป็นเพราะเวรกรรมของผม หลังจากนั้นไม่นาน แฟนผมที่ผมใช้
เวลาคุยกับเธอวันหลายๆ ชั่วโมงก็ทิ้งผมไป
วันนี้ผมเริ่มเข้าใจชีวิตมากขึ้น หลายๆ อย่างที่คนส่วน
ใหญ่ทำา มิได้หมายถึงสิ่งที่ถูกต้องเสมอไป เพราะตัวเราเท่านั้นที่
เป็นผู้ต้องรับผลการกระทำาของเราเอง "เราจะรู้ว่าสิ่งใดสำาคัญ ก็
ต่อเมื่อเราต้องเสียมันไป" ทุกวันนี้ผมนั่งมองโทรศัพท์ รอที่จะ
ตอบคำาถามเดิมๆ ให้ผู้หญิงคนหนึ่งฟัง
แต่ . . . ผู้หญิงคนนั้นคงไม่มีอีกแล้ว "ในเมื่อเรามีความรัก อัน
เต็มเปี่ยมจากครอบครัว
แล้วทำาไมต้องไปขอเศษเสี้ยวจากใคร" ถึงจะไม่ใช่ "วันแม่" แต่เรา
ก็สามารถทำาดีและเอาใจใส่บุคคลที่เป็น "แม่" ของเราได้ทุกวันใช่
มั้ยครับ
๖. บทความข้างต้นเป็นบทความประเภทใด
ก. บรรยาย ข. วิเคราะห์
ค. วิจารณ์ ง. วิชาการ
๗. นำ้าเสียงของผู้แต่งเป็นอย่างไร
ก. ท้อแท้สิ้นหวัง ข. เศร้าโศกเสียใจ
ค. อาลัยอาวรณ์ ง. ต้องการกำาลังใจ
12
๘. ผู้แต่งใช้กลวิธีใดในการจูงใจผู้อ่าน
ก. ใช้อารมณ์เศร้า ข. ใช้เหตุผล
ค. ใช้ตัวอย่างประกอบ ง. ใช้ความแปลกใหม่
๙. ใจความสำาคัญที่สุดที่ผู้แต่งต้องการบอกผู้อ่านคืออะไร
ก. ให้รักแม่ให้มากก่อนที่ไม่มีแม่ให้รัก
ข. วัยรุ่นทำาตัวไร้สาระ
ค. เราควรทำาดีเพื่อแม่
ง. ถ้ารักแม่ให้หมั่นทำาความดี และเชื่อฟังแม่
๑๐. นักเรียนคิดอย่างไรกับพฤติกรรมของวัยรุ่นที่ “… เที่ยว นอน
กิน . . . ดึกๆ ก็โทรคุยกับแฟน เป็นกิจวัตรประจำาวัน…”
ก. เป็นเรื่องส่วนตัวของเขาไม่เกี่ยวกับเรา
ข. สงสารพ่อแม่ผู้ปกครองที่ต้องเสียใจกับพฤติกรรมของลูก
ค. เป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมกับวัยรุ่นน่าจะสนใจเรียน
หนังสือให้มากกว่า
ง. เป็นเรื่องธรรมดาสำาหรับวัยรุ่นในยุคปัจจุบันถ้าไม่อย่างนั้น
จะไม่ทันสมัย
เฉลยข้อสอบก่อนเรียน
๑. ค ๒. ข ๓. ง ๔. ค ๕. ก ๖. ค ๗. ข๘. ง ๙.
ค ๑๐. ค
ใบความรู้เรื่อง การอ่านบทความ
13
ความหมาย
บทความ คืองานเขียนเรียบเรียงถ้อยคำาเพื่อสื่อสารกับ
ผู้อ่านจำานวนมาก เพื่อแสดงถึงความรู้สึกในด้านต่าง ๆ
ลักษณะของบทความ
๑. ส่วนนำาหรือส่วนเริ่มต้น เพื่อให้ความเร้าใจแก่ผู้อ่าน ผู้เขียนอาจ
นำาเรื่องด้วยคำาประพันธ์ สุภาษิต หรือสำานวนโวหาร หรือถ้าเป็นการ
เขียนแบบร้อยแก้วก็มีถ้อยคำาที่ดีเด่น
๒. บทความไม่จำาเป็นต้องสมบูรณ์ในตัวเอง อาจแสดงความรู้
ความคิดไว้เพียงบางส่วนเท่านั้น ๓.
บทความ เป็นหลักฐานอ้างอิงโดยเฉพาะบทความทางวิชาการ หรือ
รายงานผลการวิจัย ๔. บทความควรจะ
เสนอเรื่องที่น่าสนใจ ทันสมัย หรือมีความสำาคัญมากเป็นพิเศษ ไม่
จำาเป็นต้องมีสรุป หรือส่วนลงท้าย
๕. บทความจะต้องเขียนให้น่าอ่าน โดยใช้กลวิธีเสนอเรื่องที่เร้า
ความสนใจ ซึ่งต้องอาศัยท่วงทำานองการเขียนทีดีดึงดูดความสนใจ
ของผู้อ่าน
๖. บทความต้องเสนอแนวคิดที่แปลกและใหม่เพื่อให้ผู้อ่านติดตาม
ต่อไปและต้องมีข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้
องค์ประกอบของบทความ
๑. ชื่อเรื่อง เป็นส่วนแรกของบทความที่สร้างความสนใจแก่ผู้
อ่าน บทความในหนังสือพิมพ์ หรือ นิตยสาร อาจตีพิมพ์ชื่อเรื่อง
ด้วยตัวอักษรขนาดใหญ่เพื่อสร้างความ
๒. บทนำา คือ ส่วนที่อยู่ย่อหน้าแรกของบทความ มีลักษณะ
เป็นการกล่าวนำาเรื่อง โดยให้ความรู้เบื้องต้น บอกส่วนนำาหรือส่วน
เริ่มต้น
๓. เนื้อหา เป็นส่วนสำาคัญที่สุดของบทความ เพราะเป็นส่วนที่
รวบรวมความรู้ สาระต่างๆและความคิดเห็นของผู้เขียน
๔. บทสรุป คือ ส่วนสุดท้ายของบทความที่ผู้เขียนใช้สรุปเนื้อหา
และสร้างความประทับใจแก่ผู้อ่าน โดยใช้กลวิธีหลายประการ
เช่น การชักจูงใจให้ดำาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง การให้ข้อคิด
การหาแนวร่วม
14
ประเภทของบทความ
๑. บทความบรรยายเหตุการณ์ เป็นบทความที่บรรยายเรื่อง
ราวต่างๆที่เป็นเหตุการณ์ในความสนใจของคนสังคม มีจุดมุ่ง
หมายเพื่อรายงานให้ผู้อ่านทราบความเป็นไปของบ้านเมือง
และมีส่วนร่วมในเหตุการณ์นั้น ๆ
๒. บทความเชิงวิเคราะห์ เป็นบทความที่ผู้เขียนนำาเสนอ
เรื่องราวต่าง ๆที่เป็นข่าว หรืออยู่ในความสนใจของประชาชน
โดยจำาแนกออกเป็นประเด็นต่างๆ อย่างชัดเจนลึกซึ้งยิ่งขึ้น
๓. บทความเชิงวิจารณ์ เป็นบทความที่ผู้เขียนต้องการ
เสนอความคิดเห็นของตนเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เป็นข่าว หรือ
เรื่องที่กำาลังอยู่ในความสนใจของประชาชนส่วนใหญ่ การ
เสนอความคิดเห็นเป็นไปในลักษณะโต้แย้ง ไม่เห็นด้วย หรือ
เสนอแนะแนวทาง หรือชี้ให้เห็นข้อบกพร่อง
๔. บทความเชิงวิชาการ เป็นบทความที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ
สาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง บทความเชิงวิชาการที่นำาเสนอใน
หนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร ส่วนใหญ่ไม่มีความยาวมากนัก
นอกจากนี้ ข้อมูลยังมีความถูกต้องน่าเชื่อถือน้อยกว่าบทความ
ทางวิชาการในวารสารวิชาการ
หลักในการอ่านและพิจารณาบทความ
๑. อ่านชื่อเรื่อง ตีความชื่อเรื่อง ชื่อเรื่องอาจบอกแนวคิดของผู้เขียน
๒. อ่าน ๒ ย่อหน้าแรกเพื่อหาสาเหตุที่ผู้เขียนต้องการนำาเสนอ
๓. อ่าน ๒ ย่อหน้าสุดท้ายเพื่อจะได้ทราบความต้องการของผู้
เขียนว่าต้องการให้ผู้อ่านทำาอะไร เช่น ให้ปฏิบัติตาม ให้เชื่อ
ให้เข้าใจ
๔. หากอ่านตามนี้แล้วยังไม่ชัดเจนให้กวาดสายตาอ่านแบบ
15
สำารวจในย่อหน้ากลาง ๆ อีกครั้ง เนื้อหา
สาระ ข้อเท็จจริง เกี่ยวกับเรื่องต้องมีหลักฐาน และข้อมูลเพียง
พอที่จะเชื่อถือได้ ๕. จุด
มุ่งหมายของผู้เขียน ต้องการให้ใครอ่าน และต้องการให้ผู้
อ่านมีความคิดอย่างไร ๖.
การวางโครงเรื่อง จะช่วยให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่วางไว้ได้
กลวิธีการเขียนและการดำาเนินเรื่อง สอดคล้องกันหรือไม่ และ
ตรงตามจุดมุ่งหมายหรือไม่
๗. การใช้ภาษาไม่วกวน อ่านง่ายและน่าสนใจสนใจ
๘. ประโยชน์ที่ได้รับ ผู้อ่านได้รับประโยชน์มากน้อยเพียงใด
ข้อคิดหรือทรรศนะของผู้เขียนสามารถนำาไปปฏิบัติได้หรือไม่
บทความนี้มีประโยชน์กับบุคคลเฉพาะกลุ่มหรือบุคคลส่วนใหญ่
ในสังคม
กิจกรรมที่ ๑ (กิจกรรมกลุ่ม)
จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรียนอธิบายลักษณะของบทความได้
๒. นักเรียนอ่านจับใจความของบทความได้
๓. นักเรียนบอกข้อคิดและวิเคราะห์คุณค่าจากบทความ
ที่อ่านได้
กลุ่มที่...............ชื่อ
กลุ่ม...........................................................
รายชื่อสมาชิก ๑. ...................................................
๒........ .....................................................................
๓. ...........................................................
๔..............................................................................
16
คำาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านบทความที่กำาหนดให้ต่อไปนี้
โดยอ่านเนื้อหาของบทความ
ให้ละเอียด แล้ววิเคราะห์บทความโดยตอบคำาถามตามที่นักเรียน
เข้าใจ
ปัญหาวัยรุ่น ต้นเหตุ และทางแก้
๑. เวลารับรู้ปัญหาของวัยรุ่น หลายคนมีความหงุดหงิด ไม่
พอใจ เบื่อ รู้สึกว่าทำาไมเด็กไม่เลือกสิ่งที่ดีให้กับตนเอง ทำาไมต้อง
สร้างปัญหา จนมีคนจำานวนหนึ่งอยากจัดการแก้ปัญหาด้วยความ
รุนแรง แต่ในความเป็นจริง พฤติกรรมที่ปรากฏมีเหตุปัจจัยหลาย
อย่างเชื่อมโยงกัน ที่น่าคิดคิดคือทำาไมเด็กบางคนมีปัญหาพฤติกรรม
เช่น ติดยาเสพติด เล่นการพนัน ชอบความรุนแรง มีปัญหาเรื่องเพศ
เป็นต้น แต่ทำาไมเด็กบางคนไม่มีปัญหาทั้ง ๆ ที่อยู่ในสภาพแวดล้อม
ที่เสี่ยง
ผู้อำานวยการสถาบันราชานุกูลอธิบายถึงปัญหานี้ว่า ปัจจัย
เสี่ยงที่ทำาให้เกิดปัญหาวัยรุ่น มีมากมายที่สำาคัญคือ ปัจจัยเสี่ยงใน
ครอบครัว ปัจจัยเสี่ยงในชุมชนและสังคม และปัจจัยเสี่ยงในตัวเด็ก
เอง ดังนั้นหากแก้ไขปัญหาก็ต้องลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ และสร้าง
ปัจจัยปกป้องเพิ่มขึ้น ซึ่งที่สำาคัญก็คือ ภูมิคุ้มกันในตัวเด็ก
๒. ปัจจัยเสี่ยงในครอบครัวส่วนใหญ่เกิดจากวิธีการเลี้ยงดูเด็ก
ที่ไม่ถูกต้อง เช่น ตามใจลูกมากเกินไป ไม่รู้วิธีที่จะจูงใจเด็กให้ทำา
ตามคำาสั่งพ่อแม่ บางครอบครัวใช้วิธีบังคับรุนแรงแต่ไม่เคยแก้
ปัญหาได้ บางครอบครัวมีปัญหาขัดแย้งในครอบครัวจนเด็กไม่
อยากกลับบ้าน ในที่สุดก็มีกลุ่มของตนเองและรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วน
หนึ่งของกลุ่มมากกว่าครอบครัว บางครอบครัวส่งเสริมพฤติกรรมที่
เป็นปัญหา มองว่าปัญหามาจากเพื่อนหรือคนอื่นปกป้องเด็กในทาง
ที่ผิด ไม่ฝึกเด็กให้รับผิดชอบการกระทำาของตนเอง นอกจากนี้การ
ที่ตัวพ่อแม่เองมีปัญหาทางด้านพฤติกรรมด้วยก็เลยเป็นเรื่องเดินตาม
พ่อปูแม่ปู
๓. สำาหรับปัจจัยเสี่ยงในตัวเด็กก็เป็นผลมาจากครอบครัวเช่น
กัน โดยเฉพาะการไม่รับการ ยอมรับจากคนในครอบครัว ถูกมองว่า
เป็นแกะดำา ทำาอะไรก็ไม่ได้เรื่อง จะทำาให้เด็กมีความคิดต่อต้าน
17
สังคม ไม่ยอมรับกติกาการอยู่ร่วมกัน พฤติกรรมที่เป็นปัญหาว่าเป็น
ความทันยุคทันสมัยและทำาให้เป็นที่ยอมรับในกลุ่ม
เหตุสำาคัญของปัญหาวัยรุ่นอีกอย่างหนึ่งคือ ปัจจัยเสี่ยงใน
ชุมชนและสังคม ได้แก่การที่เด็กเข้าถึงอบายมุข เหล้า ยา อาวุธ สื่อ
ลามก และสิ่งยั่วยุทั้งหลายได้โดยง่าย เมื่อทัศนคติของชุมชนเองก็
ยอมรับสิ่งเหล่านี้และผู้ใหญ่ก็ทำาผิดให้เด็กเห็น เด็กก็ย่อมซึมซับรับ
เอาพฤติกรรมที่เป็นปัญหามาปฏิบัติบ้าง
คำาถาม
๑. บทความมีองค์ประกอบอย่างไรบ้าง………..
……..........................................................
๒. บทความที่อ่านเป็นบทความประเภท
ใด..........................................................................
๓. ใจความสำาคัญของบทความ
๔. ผู้เขียนต้องการสื่อสารอะไร หรือนำ้าเสียงของผู้เขียนเป็นอย่างไร
ปัญหาที่พบใน
บทความ........................................................................
....................
๕. บทความนี้มีประโยชน์ต่อนักเรียน
อย่างไร.......................................................................
กิจกรรมที่ ๒ (กิจกรรมรายบุคคล)
คำาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละคนอ่านบทความที่กำาหนดให้ต่อไปนี้
แล้ววิเคราะห์บทความโดยตอบคำาถาม
18
เศรษฐกิจพอเพียง
๑. การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีรากฐานมาจาก
หลักการเรื่องทางสายกลางและหลักความไม่ประมาท หลักเศรษฐกิจ
พอเพียงนี้ประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ ซึ่งต้องไปพร้อม ๆ กัน
กล่าวคือ
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและ
ไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและ
การบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การกระทำาในเรื่องหลักการ
ความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจาก
เหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจาก
การกระทำานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อม
รับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำานึง
ถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน
อนาคตทั้งใกล้และไกล
๓. หลักเศรษฐกิจพอเพียงนั้นนำาไปสู่กระบวนการตัดสินใจ
และดำาเนินการให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นกระบวนการดังกล่าวต้อง
ประกอบด้วยพื้นฐาน ๒ ประการ
การใช้ความรู้ ประกอบด้วยความรู้รอบตัวเกี่ยวกับวิชาการ
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำาความรู้เหล่า
นั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความ
ระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
๔. การมีคุณธรรมที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความ
ตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความ
เพียรใช้สติปัญญาในการดำาเนินชีวิตการตัดสินใจ
ซึ่งกระบวนการตัดสินใจและดำาเนินการดังกล่าว จึงนำาไปสู่
การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืนทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
ความรู้และเทคโนโลยี
(คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สำานักคณะ
กรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ)
คำาถาม
19
๑. บทความมีองค์ประกอบอย่างไรบ้าง………..
……..........................................................
๒. บทความที่อ่านเป็นบทความประเภท
ใด..........................................................................
๓. ใจความสำาคัญของบทความ
๔. ผู้เขียนต้องการสื่อสารอะไร หรือนำ้าเสียงของผู้เขียนเป็นอย่างไร
ปัญหาที่พบใน
บทความ........................................................................
....................
๕. บทความนี้มีประโยชน์ต่อนักเรียน
อย่างไร.......................................................................
20
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่องการอ่านและ
วิเคราะห์บทความ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๔-๖
๑. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ ๑ ฉบับนี้ ใช้ทดสอบความ
สามารถในการคิดวิเคราะห์
ก่อนการฝึกกิจกรรม การคิดวิเคราะห์ชุดที่ ๒ เรื่องการอ่านและ
วิเคราะห์บทความ เป็นแบบทดสอบปรนัยแบบ เลือกตอบ ๔ ตัว
เลือก จำานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน ใช้เวลาในการทดสอบ ๓๐
นาที
๒. ให้นักเรียนอ่านข้อคำาถามและคำาตอบให้ละเอียด แล้วเลือก
คำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำาตอบ
เดียวแล้วนำาไปตอบลงในกระดาษคำาตอบ โดยทำาเครื่องหมาย X
ลงในช่องตัวเลือกที่ต้องการ
๓. ให้นักเรียนทำาแบบทดสอบให้ครบทุกข้อ
อ่านบทความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถาม ข้อ ๑-๕
ข้าวแต่ละเม็ดไม่ได้มาง่าย ๆ
ข้าวหนึ่งเม็ด ได้มา
ไม่ง่าย
ทานข้าวในจาน
นึกถึงที่มา
โปรดอย่าเหลือทิ้ง เป็น
บาปหนักหนา
ถางหญ้ากลางแดดจ้า
หลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน
เหงื่อไหลรินอาบหน้า
ความทุกข์จากชาวนา
พระอาทิตย์ พระจันทร์ต้องส่องแสง หล่อเลี้ยง
จากอากาศ
เติบโตได้กว่าร้อยวัน จึง
21
เก็บเกี่ยวยามสมควร
ดิฉันมีโอกาสได้อ่านข้อคิดคำาคมที่แปลจาก
สุภาษิตจีนบทนี้แล้ว ก็อดตั้งคำาถามขึ้นมาในใจไม่ได้
ว่า . . . ถ้าวันหนึ่งข้างหน้าประเทศไทยไม่สามารถปลูกข้าว
กินได้ อาจเพราะไม่มีพื้นที่ทำานา ไม่มีใครปลูกข้าว ชาวนารุ่น
หลังหันหลังให้ท้องนาหันหน้าเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ
จนเราต้องซื้อข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น อินเดีย
เวียดนาม เพื่อนำามาบริโภค อยากรู้จริงๆ ว่าคนไทยกว่า ๖๐
ล้านคนจะรู้สึกอย่างไร …?
หลายคนอาจจะหัวเราะที่ดิฉันถามคำาถามนี้ขึ้นมา
เพราะเป็นไปไม่ได้ที่เมืองไทยจะไม่มีข้าวกิน แต่อย่าลืมว่าใน
อนาคตอะไรก็เป็นไปได้หมด ยิ่งโลกร้อน เกิดภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ นำ้าท่วมบ่อยๆ อาจทำาให้คำาถามที่คิดว่าไม่น่าถามนี้
เป็นไปได้
และเชื่อว่าหากเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นจริงๆ หลายต่อ
หลายคนต้องโทษคนโน้นโทษคนนี้ ทั้งๆ ที่ไม่เคยมองหรือถาม
ตัวเองเลยว่า ทุกวันนี้เราทำาทุกอย่างดีพอหรือยัง เรากินข้าว
หมดจานไหม เรากินทิ้งกินขว้างหรือเปล่า
เคยจำาได้ว่าตอนเป็นเด็กคุณครูจะให้ท่องบทกลอนหนึ่ง
ก่อนกินข้าวทุกมื้อ ... ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง อย่ากินทิ้ง
ขว้าง เป็นของมีค่า พ่อแม่เหนื่อยยาก ลำาบากหนักหนา สงสาร
บรรดา คนยากคนจน ... แต่พอเวลาผ่านไปเมื่อเติบโต
ขึ้น กลอนบทนี้ก็กลายเป็นเพียงความทรงจำาสีจางที่
เข้าไปหลบอยู่ในซอกเล็กๆ ของความทรงจำา จนทำา
ให้หลายๆ คนมักมองข้ามและไม่เคยนึกถึง
ทุกวันนี้เรามีข้าวปลาอาหารกินครบ ๓ มื้อ เผลอๆ อาจ
จะมีบ้างที่กินเหลือ กินขว้าง กินทิ้ง กินเล่น แต่ในทาง
กลับกันยังมีอีกหลายคนไม่มีแม้แต่ข้าวสักเม็ดตกถึงท้อง นั่งรอ
คอยความหวังว่าจะได้กินอาหารดีๆ สักมื้อในชีวิตก่อนหมดลม
หายใจ …
๑. เรื่องนี้จัดเป็นบทความเพราะ
ก. ให้ความรู้ขนาดสั้น ทันสมัย น่าสนใจ
ข. เป็นการเสนอความคิดเห็นที่น่าสนใจอย่างสั้น ๆ
22
ค. เป็นการเสนอความคิดเห็นของผู้แต่งและเสนอความรู้ของผู้
มีชื่อเสียง
ง. การเสนอเหตุผลและตัวอย่างโน้มน้าวจูงใจ
๒. ควรเป็นบทความประเภทใดมากที่สุด
ก. บรรยาย ข. วิเคราะห์
ค. วิจารณ์ ง. ไม่มีข้อถูก
๓. จุดเด่นที่จูงใจให้ผู้อ่านเชื่อถือและเห็นจริงในเรื่องนี้มากที่สุดคือ
อะไร
ก. อ้างบุคคลที่มีชื่อเสียง ข. ให้เหตุผลที่น่าเชื่อถือ
ค. ยกตัวอย่างที่ชัดเจน ง. ให้ความรู้ใหม่ที่น่า
สนใจ
๔. ใจความสำาคัญของบทความคืออะไร
ก. ความจนทำาให้คนเฉยชา ข. การตอบแทนพระคุณพ่อแม่
ค. หัวอกคนเป็นพ่อ ง. นี่หรือคนไทยในปัจจุบัน
๕. นำ้าเสียงของผู้แต่งเป็นอย่างไร
ก. เศร้าสลด ข. โกรธ เกลียด
ค. เวทนา สงสาร ง. ให้กำาลังใจ
อ่านบทความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถาม ข้อ ๖-๑๐
แด่เธอ… คนที่ฉัน ให้ความสำาคัญน้อยไป
ผมก็เป็นอีกคนที่เหมือนวัยรุ่นทั่วๆ ไป เรียน เที่ยว นอน
กิน . . . ดึกๆ ผมก็โทรคุยกับแฟนของผม ทั้งหมดเหล่านี้ มันก็เป็น
กิจวัตรประจำาวันของผม และผมก็เชื่อว่าวัยรุ่นสมัยนี้เค้าก็ทำาแบบนี้
กัน (ความเข้าใจของผมนะ) "จ้า ตัวเอง วันนี้กินข้าวรื้อยาง" "กิน
กับอะไรบ้าง แล้วตอนกินตัวเองคิดถึงเค้ามั้ยเนี่ย" "รู้มั้ยตัวเอง ถ้า
เค้าเป็นผีเนี่ย เค้าอยากเป็นกระสือที่รักจะได้เห็นใจไง"
"ตัวเองวางก่อนดิ ก่อนดิ" นี่คือประโยคต่างๆ ที่ผมได้คิด และคัดสรร
เตรียมพร้อมมาต่างๆ ก่อนโทรหาแฟน
ในตอนดึกของทุกๆ วัน . . . ผมยังคงใช้เวลาส่วนใหญ่ใน
การคุยโทรศัพท์
แต่ผมกลับรู้สึกว่า ระยะเวลาที่ผมใช้ไปนั้นไม่นานเลย แต่ . . . พอ
รู้สึกอีกที มันกลับผ่านไปหลายชั่วโมงแล้ว ผมก็ไม่ชอบนะ . . .
หากใครจะมาว่าผมไร้สาระ ก็ไม่เห็นเหรอคนส่วนใหญ่เค้าก็ทำากัน
23
ใครไม่ทำาก็เชยเป็นบ้าแล้ว . . .
เอ้อ . . .เกือบลืมไปอีกอย่าง กิจวัตรอีกอย่างหนึ่งของผมก็คือ
แม่ของผมมักชอบโทรหาผมทุกวัน "ตอนนี้ลูกอยู่หอรึยัง"
"เย็นนี้กินข้าวอิ่มมั้ย"
"วันนี้เรียนเป็นยังไงบ้าง"
"อย่าไปเที่ยวที่ไหนไกลนะ" โธ่! คำาถามเดิมๆ ผมก็ตอบไปแบบ
เดิมๆ
แม่ผมก็ไม่เบื่อซักที ยังคงโทรหาผมเป็นประจำา โชคดี . . . ที่ผม
พยายามตัดบทคุย
ผมกับแม่น่ะคุยกันไม่กี่นาทีก็วางแล้ว ก็มันไม่มีอะไรจะคุยจะให้ผม
ทำายังไง
จนกระทั่งวันนั้น . . .
"ตัวเองตอบเค้าได้รึยังว่ารักเค้ามั้ย" "เร็วๆ สิ เค้ายังอุตส่าห์
บอกรักตัวเองไปแล้วนะ"
"แล้วยังจะใจร้าย ไม่บอกรักเค้าอีกเหรอ" ติ๊ดๆ ติ๊ดๆ เสียงจาก
โทรศัพท์บอกผมว่ามีสายซ้อน
ผมมองไปที่หน้าจอมันขึ้นชื่อว่า "Home"
"โธ่ แม่โทรมาทำาไมตอนนี้เนี่ย กำาลังเข้าด้ายเข้าเข็มเลย"
ผมไม่สลับสาย . . . ผมยังคงคุยกับสุดที่รักของผมต่อไป
เพราะผมรู้ว่า สิ่งที่แม่จะคุยกับผมก็คงเป็นประโยคเดิมๆ และนั่น
เป็นการตัดสินใจ . . . ที่ผิดพลาดที่สุดในชีวิตของผม
หลังจากนั้นไม่นาน . . .
ทางญาติของผมโทรมาแจ้งผมว่า . . . เมื่อคืนนี้บ้านของผมถูก
ขโมยเข้า และแม่ของผมขัดขืน
และได้ต่อสู้กับโจร จึงถูกโจรใช้มีดแทงเข้าที่ท้อง
แม่เสียชีวิต เพราะทนพิษบาดแผลไม่ไหว
ญาติของผมเล่าอีกว่า . . . ตอนไปพบศพแม่นั้น
ในมือของแม่กำาโทรศัพท์ไว้แน่น
และเบอร์โทรออกล่าสุดของเธอ ไม่ใช่โทรแจ้งตำารวจ
หรือเรียกรถพยาบาล แต่แม่เลือกที่จะโทรหาผม
สิ่งสุดท้ายในชีวิต ที่แม่ผมเลือกที่จะทำาคือ . . .
24
โทรศัพท์หาผมเพื่อฟังเสียงของผม
วินาทีนั้นนำ้าตาของผมไหลอาบแก้ม ผมพูดอะไรไม่ออก มือและตัว
ของผมสั่น
วันนั้น . . . ผมเลือกที่จะคุยกับแฟนผม ดีกว่าที่จะคุยกับ
แม่ของผม ผู้หญิงคนเดียวในโลก ที่คุยกับผมเป็นคนแรกในชีวิต
ผู้หญิงคนเดียวที่ผมสามารถที่จะคุยกับเธอได้ทุกเวลา โดยที่ผมไม่
ต้องเตรียมบทพูดใดๆ ไม่ต้องกังวลว่าเธอจะประทับใจหรือไม่ ไม่
ต้องมีมุข ไม่ต้องมีคำาหวานใดๆ คนเดียวใน
โลก ที่โทรมาหาผมเพียงแค่ฟังผมพูดประโยคเดิมๆ คนเดียวใน
โลกที่ไม่ว่า โทรศัพท์เธอจะโปรโมชั่นแพงแค่ไหนก็ยังโทรหาผม
และคนเดียวในโลก ที่เลือกคุยกับผมในวินาทีสุดท้ายใน
ชีวิต
ในบางครั้งประโยคที่ว่า "ไม่มีคำาว่าสาย หากเราคิดที่
จะแก้ตัว"
มันก็ไม่เป็นความจริง "เพราะบางปรากฏการณ์ในโลก เกิดขึ้นได้แค่
ครั้งเดียว"
อาจเป็นเพราะเวรกรรมของผม หลังจากนั้นไม่นาน แฟนผมที่ผมใช้
เวลาคุยกับเธอวันหลายๆ ชั่วโมงก็ทิ้งผมไป
วันนี้ผมเริ่มเข้าใจชีวิตมากขึ้น หลายๆ อย่างที่คนส่วน
ใหญ่ทำา มิได้หมายถึงสิ่งที่ถูกต้องเสมอไป เพราะตัวเราเท่านั้นที่
เป็นผู้ต้องรับผลการกระทำาของเราเอง "เราจะรู้ว่าสิ่งใดสำาคัญ ก็
ต่อเมื่อเราต้องเสียมันไป" ทุกวันนี้ผมนั่งมองโทรศัพท์ รอที่จะ
ตอบคำาถามเดิมๆ ให้ผู้หญิงคนหนึ่งฟัง
แต่ . . . ผู้หญิงคนนั้นคงไม่มีอีกแล้ว "ในเมื่อเรามีความรัก อัน
เต็มเปี่ยมจากครอบครัว
แล้วทำาไมต้องไปขอเศษเสี้ยวจากใคร" ถึงจะไม่ใช่ "วันแม่" แต่เรา
ก็สามารถทำาดีและเอาใจใส่บุคคลที่เป็น "แม่" ของเราได้ทุกวันใช่
มั้ยครับ
๖. บทความข้างต้นเป็นบทความประเภทใด
ก. บรรยาย ข. วิเคราะห์
ค. วิจารณ์ ง. วิชาการ
๗. นำ้าเสียงของผู้แต่งเป็นอย่างไร
ก. ท้อแท้สิ้นหวัง ข. เศร้าโศกเสียใจ
25
ค. อาลัยอาวรณ์ ง. ต้องการกำาลังใจ
๘. ผู้แต่งใช้กลวิธีใดในการจูงใจผู้อ่าน
ก. ใช้อารมณ์เศร้า ข. ใช้เหตุผล
ค. ใช้ตัวอย่างประกอบ ง. ใช้ความแปลกใหม่
๙. ใจความสำาคัญที่สุดที่ผู้แต่งต้องการบอกผู้อ่านคืออะไร
ก. ให้รักแม่ให้มากก่อนที่ไม่มีแม่ให้รัก
ข. วัยรุ่นทำาตัวไร้สาระ
ค. เราควรทำาดีเพื่อแม่
ง. ถ้ารักแม่ให้หมั่นทำาความดี และเชื่อฟังแม่
๑๐. นักเรียนคิดอย่างไรกับพฤติกรรมของวัยรุ่นที่ “… เที่ยว นอน
กิน . . . ดึกๆ ก็โทรคุยกับแฟน
เป็นกิจวัตรประจำาวัน…”
ก. เป็นเรื่องส่วนตัวของเขาไม่เกี่ยวกับเรา
ข. สงสารพ่อแม่ผู้ปกครองที่ต้องเสียใจกับพฤติกรรมของลูก
ค. เป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมกับวัยรุ่นน่าจะสนใจเรียน
หนังสือให้มากกว่า
ง. เป็นเรื่องธรรมดาสำาหรับวัยรุ่นในยุคปัจจุบันถ้าไม่อย่างนั้น
จะไม่ทันสมัย
เฉลยข้อสอบหลังเรียน
๑. ค ๒. ข ๓. ง ๔. ค ๕. ก ๖. ค ๗. ข๘. ง ๙. ค ๑๐.
ค
บรรณานุกรม
กรมวิชาการ. คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย. กรุงเทพฯ :
26
โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์, ๒๕๔๕.
สุวิทย์ มูลคา. ๒๕๔๗. กลยุทธ์การสอนคิดวิเคราะห์. พิมพ์ครั้ง
ที่ ๒. กรุงเทพฯ :
ห้างหุ้นส่วนจากัด ภาพพิมพ์
สุวิทย์ มูลคา และ อรทัย มูลคา. ๒๕๔๗. ๒๑ วิธีจัดการเรียนรู้
เพื่อพัฒนากระบวนการคิด.
พิมพ์ครั้งที่ ๕ กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจากัด ภาพพิมพ์.
วิชาการ, กรม. ๒๕๔๖.การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
27

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
สำนวน สุภาษิต คำพังเพยสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
สำนวน สุภาษิต คำพังเพยRattana Dumsakul
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 

Tendances (20)

1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.
 
ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2
 
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
 
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
สำนวน สุภาษิต คำพังเพยสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
15 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 115 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 1
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 

En vedette

แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

En vedette (8)

แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 

Similaire à ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ

เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11Benjarat Meechalat
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความKo Kung
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯsompoy
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3Pari Za
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 

Similaire à ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ (20)

เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
202
202202
202
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ

  • 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ จังหวัดตรัง สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต ๑๓ คำานำา ชุดกิจกรรมฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ชุดนี้ จัดทำาขึ้นเพื่อเป็น เครื่องมือในการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ให้กับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ การคิดวิเคราะห์เป็นพื้นฐานสำาคัญของการ พัฒนาผู้เรียนให้รู้จักคิดอย่างเป็นระบบ คิดอย่างมีเหตุผล มี วิจารณญาณ มีการไตร่ตรอง มองเห็นการณ์ไกล และรู้จักนำาความ สามารถในการคิดไปใช้ในการเผชิญสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ชุดกิจกรรมฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ มีทั้งหมด ๖ ชุด ชุดที่ ๑ เป็นการฝึกการคิดวิเคราะห์จากข่าว ชุดที่ ๒ เป็นการฝึกการคิดวิเคราะห์จากบทความ ชุดที่ ๓ เป็นการฝึกการคิดวิเคราะห์จากสารคดี ชุดที่ ๔ เป็นการฝึกการคิดวิเคราะห์จากเรื่องสั้น นวนิยาย ชุดที่ ๕ เป็นการฝึกการคิดวิเคราะห์จากร้อยกรอง ชุดกิจกรรมแต่ละชุดจะมีแผนการจัดการเรียนรู้เป็นคู่มือใน การฝึก ซึ่งเป็นการสอน สอดแทรกในการเรียนการสอน กิจกรรมมี ๕ ขั้นตอน คือ เสนอ สถานการณ์ กำาหนดปัญหา กำาหนดหลักการ จำาแนกแยกแยะ และสรุปคำาตอบผู้จัดทำาหวังว่าชุด กิจกรรมฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ชุดนี้ จะเป็นแนวทางหนึ่งในการ จัดกระบวนการสอนคิดให้กับผู้เรียนได้ตามเจตนารมณ์ของ 2
  • 3. หลักสูตร และเป็นประโยชน์ต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูใน กลุ่มสาระภาษาไทยและกลุ่มสาระอื่นๆได้ตามสมควร นางเพ็ญศรี สังข์สุข ครู โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ สารบัญ เรื่อง หน้า คำานำา……………………………………………………………… ………………………………….๑ สารบัญ…………………………………………………………… ………………………………....๒ คำา ชี้แจง……………………………………………………………… ………………… ……… .….๔ ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมฝึก ……………………………………………………………………. ....๕ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด...... …………………………………………………………………… …………...๖ แบบทดสอบก่อนเรียน …………………………………………………………………… …………๗ 3
  • 4. เฉลยแบบทดสอบ …………………………………………………………………… ……………..๑๐ กรอบเนื้อหา …………………………………………………………………… …………………..๑๑ กรอบกิจกรรม …………………………………………………………………… ………………...๑๕ เกม …………………………………………………………………… ……………………………๑๕ กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมกลุ่ม ……………………………………………………………………. …...๑๖ กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมรายบุคคล ………………………………………………………………….. ๑๙ แบบทดสอบหลังเรียน …………………………………………………………………… ………..๒๑ เฉลยแบบทดสอบ …………………………………………………………………… ……………๒๔ บรรณานุกรม …………………………………………………………………… ………………...๒๕ 4
  • 5. คำาชี้แจง ชุดกิจกรรมฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖จัดทำาขึ้นเพื่อใช้ฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์ให้กับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ชุดกิจกรรมฝึกทักษะ การคิดวิเคราะห์ ในแต่ละชุดประกอบด้วย ๑. มาตรฐาน /ตัวชี้วัด ๒. กรอบเนื้อหา ๓. กรอบกิจกรรม ๓ กิจกรรม คือ ๓.๑ เกมกระตุ้นให้คิด ๓.๒ กิจกรรมกลุ่ม ๓.๓ กิจกรรมรายบุคคล ๔. กิจกรรมการฝึกคิดวิเคราะห์มี ๕ ขั้นตอน คือ เสนอสถานการณ์ กำาหนดปัญหา กำาหนดหลักการหรือกฎเกณฑ์ พิจารณาแยกแยะ สรุปคำาตอบ ๕. แบบทดสอบก่อน-หลังฝึกกิจกรรม 5
  • 6. ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์ ๑. ศึกษามาตรฐาน /ตัวชี้วัด ๒. ทำาแบบทดสอบก่อนเรียน ๓. ศึกษาเนื้อหา ๔. ปฏิบัติกิจกรรม ๔.๑ เล่นเกมกระตุ้นให้คิด ๔.๒ ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานที่ ๑ เป็นกิจกรรมกลุ่ม ๔.๓ ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานที่ ๒ เป็นกิจกรรมราย บุคคล ๕. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละกิจกรรมเสร็จแล้วประเมินผล งานร่วมกับครู ๖. ทำาแบบทดสอบหลังเรียน มาตรฐาน /ตัวชี้วัด 6
  • 7. มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต และมีนิสัยรัก การอ่าน ม ๔-๖/๒ ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน ม ๔-๖/๓ วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมี เหตุผล ม ๔-๖/๔ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน และประเมินค่าเพื่อ นำาความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิต ม ๔-๖/๖ ตอบคำาถามจากการอ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่ กำาหนด ม ๔-๖/๗ อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิดผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน ม ๔-๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำามาประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริง ม ๔-๖/๑ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลัก การวิจารณ์เบื้องต้น ม ๔-๖/๔ สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนอธิบายลักษณะของบทความได้ ๒. นักเรียนอ่านจับใจความและตอบคำาถามของบทความ ที่อ่านได้ ๓. นักเรียนบอกข้อคิดจากบทความที่อ่านได้ 7
  • 8. แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการอ่านและ พิจารณาบทความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๔-๖ ๑. แบบทดสอบหลังเรียน ฉบับนี้ใช้ทดสอบความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ ก่อนการฝึกกิจกรรม การคิดวิเคราะห์ชุดที่ ๒ เรื่องการอ่านและ พิจารณาวิเคราะห์วิจารณ์บทความ เป็นแบบทดสอบปรนัยแบบ เลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จำานวน ๒๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน ใช้เวลาใน การทดสอบ ๕๐ นาที ๒. ให้นักเรียนอ่านข้อคำาถามและคำาตอบให้ละเอียด แล้วเลือก คำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำาตอบ เดียวแล้วนำาไปตอบลงในกระดาษคำาตอบ โดยทำาเครื่องหมาย X ลงในช่องตัวเลือกที่ต้องการ ๓. ให้นักเรียนทำาแบบทดสอบให้ครบทุกข้อ อ่านบทความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถาม ข้อ ๑-๕ ข้าวแต่ละเม็ดไม่ได้มาง่าย ๆ ข้าวหนึ่งเม็ด ได้มา ไม่ง่าย ทานข้าวในจาน นึกถึงที่มา โปรดอย่าเหลือทิ้ง เป็น บาปหนักหนา ถางหญ้ากลางแดดจ้า หลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน เหงื่อไหลรินอาบหน้า ความทุกข์จากชาวนา พระอาทิตย์ พระจันทร์ต้องส่องแสง หล่อเลี้ยง จากอากาศ เติบโตได้กว่าร้อยวัน จึง เก็บเกี่ยวยามสมควร 8
  • 9. ดิฉันมีโอกาสได้อ่านข้อคิดคำาคมที่แปลจากสุภาษิต จีนบทนี้แล้ว ก็อดตั้งคำาถามขึ้นมาใน ใจไม่ได้ว่า . . . ถ้าวันหนึ่งข้างหน้าประเทศไทยไม่สามารถปลูก ข้าวกินได้ อาจเพราะไม่มีพื้นที่ทำานา ไม่มีใครปลูกข้าว ชาวนารุ่น หลังหันหลังให้ท้องนาหันหน้าเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ จน เราต้องซื้อข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น อินเดีย เวียดนาม เพื่อ นำามาบริโภค อยากรู้จริงๆ ว่าคนไทยกว่า ๖๐ ล้านคนจะรู้สึก อย่างไร …? หลายคนอาจจะหัวเราะที่ดิฉันถามคำาถามนี้ขึ้นมา เพราะเป็นไปไม่ได้ที่เมืองไทยจะ ไม่มีข้าวกิน แต่อย่าลืมว่าในอนาคตอะไรก็เป็นไปได้หมด ยิ่งโลก ร้อน เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ นำ้าท่วมบ่อยๆ อาจทำาให้คำาถามที่คิด ว่าไม่น่าถามนี้เป็นไปได้ และเชื่อว่าหากเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นจริงๆ หลายต่อ หลายคนต้องโทษคนโน้นโทษคนนี้ ทั้งๆ ที่ไม่เคยมองหรือถามตัว เองเลยว่า ทุกวันนี้เราทำาทุกอย่างดีพอหรือยัง เรากินข้าวหมดจาน ไหม เรากินทิ้งกินขว้างหรือเปล่า เคยจำาได้ว่าตอนเป็นเด็กคุณครูจะให้ท่องบทกลอนหนึ่ง ก่อนกินข้าวทุกมื้อ ... ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง อย่ากินทิ้งขว้าง เป็นของมีค่า พ่อแม่เหนื่อยยาก ลำาบากหนักหนา สงสารบรรดา คน ยากคนจน ... แต่พอเวลาผ่านไปเมื่อเติบโตขึ้น กลอนบทนี้ก็ กลายเป็นเพียงความทรงจำาสีจางที่เข้าไปหลบอยู่ในซอก เล็กๆ ของความทรงจำา จนทำาให้หลายๆ คนมักมองข้ามและ ไม่เคยนึกถึง ทุกวันนี้เรามีข้าวปลาอาหารกินครบ ๓ มื้อ เผลอๆ อาจจะมี บ้างที่กินเหลือ กินขว้าง กินทิ้ง กินเล่น แต่ในทางกลับกันยังมี อีกหลายคนไม่มีแม้แต่ข้าวสักเม็ดตกถึงท้อง นั่งรอคอยความหวังว่า จะได้กินอาหารดีๆ สักมื้อในชีวิตก่อนหมดลมหายใจ … ๑. เรื่องนี้จัดเป็นบทความเพราะ ก. ให้ความรู้ขนาดสั้น ทันสมัย น่าสนใจ ข. เป็นการเสนอความคิดเห็นที่น่าสนใจอย่างสั้น ๆ ค. เป็นการเสนอความคิดเห็นของผู้แต่งและเสนอความรู้ของผู้ มีชื่อเสียง ง. การเสนอเหตุผลและตัวอย่างโน้มน้าวจูงใจ ๒. ควรเป็นบทความประเภทใดมากที่สุด 9
  • 10. ก. บรรยาย ข. วิเคราะห์ ค. วิจารณ์ ง. ไม่มีข้อถูก ๓. จุดเด่นที่จูงใจให้ผู้อ่านเชื่อถือและเห็นจริงในเรื่องนี้มากที่สุดคือ อะไร ก. อ้างบุคคลที่มีชื่อเสียง ข. ให้เหตุผลที่น่าเชื่อถือ ค. ยกตัวอย่างที่ชัดเจน ง. ให้ความรู้ใหม่ที่น่า สนใจ ๔. ใจความสำาคัญของบทความคืออะไร ก. ประโยชน์ของข้าว ข. ประเทศไทยกำาลังจะไม่มีข้าว กิน ค. หัวอกของชาวนา ง. อนาคตชาวนาไทย ๕. นำ้าเสียงของผู้แต่งเป็นอย่างไร ก. เศร้าสลด ข. โกรธ เกลียด ค. เวทนา สงสาร ง. ให้กำาลังใจ อ่านบทความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถาม ข้อ ๖-๑๐ แด่เธอ… คนที่ฉัน ให้ความ สำาคัญน้อยไป ผมก็เป็นอีกคนที่เหมือนวัยรุ่นทั่วๆ ไป เรียน เที่ยว นอน กิน . . . ดึกๆ ผมก็โทรคุยกับแฟนของผม ทั้งหมดเหล่านี้ มันก็เป็น กิจวัตรประจำาวันของผม และผมก็เชื่อว่าวัยรุ่นสมัยนี้เค้าก็ทำาแบบนี้ กัน (ความเข้าใจของผมนะ) "จ้า ตัวเอง วันนี้กินข้าวรื้อยาง" "กิน กับอะไรบ้าง แล้วตอนกินตัวเองคิดถึงเค้ามั้ยเนี่ย" "รู้มั้ยตัวเอง ถ้า เค้าเป็นผีเนี่ย เค้าอยากเป็นกระสือที่รักจะได้เห็นใจไง" "ตัวเองวางก่อนดิ ก่อนดิ" นี่คือประโยคต่างๆ ที่ผมได้คิด และคัดสรร เตรียมพร้อมมาต่างๆ ก่อนโทรหาแฟน ในตอนดึกของทุกๆ วัน . . . ผมยังคงใช้เวลาส่วนใหญ่ใน การคุยโทรศัพท์ แต่ผมกลับรู้สึกว่า ระยะเวลาที่ผมใช้ไปนั้นไม่นานเลย แต่ . . . พอ รู้สึกอีกที มันกลับผ่านไปหลายชั่วโมงแล้ว ผมก็ไม่ชอบนะ . . . หากใครจะมาว่าผมไร้สาระ ก็ไม่เห็นเหรอคนส่วนใหญ่เค้าก็ทำากัน 10
  • 11. ใครไม่ทำาก็เชยเป็นบ้าแล้ว . . . เอ้อ . . .เกือบลืมไปอีกอย่าง กิจวัตรอีกอย่างหนึ่งของผมก็คือ แม่ของผมมักชอบโทรหาผมทุกวัน "ตอนนี้ลูกอยู่หอรึยัง" "เย็นนี้กินข้าวอิ่มมั้ย" "วันนี้เรียนเป็นยังไงบ้าง" "อย่าไปเที่ยวที่ไหนไกลนะ" โธ่! คำาถามเดิมๆ ผมก็ตอบไปแบบ เดิมๆ แม่ผมก็ไม่เบื่อซักที ยังคงโทรหาผมเป็นประจำา โชคดี . . . ที่ผม พยายามตัดบทคุย ผมกับแม่น่ะคุยกันไม่กี่นาทีก็วางแล้ว ก็มันไม่มีอะไรจะคุยจะให้ผม ทำายังไง จนกระทั่งวันนั้น . . . "ตัวเองตอบเค้าได้รึยังว่ารักเค้ามั้ย" "เร็วๆ สิ เค้ายังอุตส่าห์ บอกรักตัวเองไปแล้วนะ" "แล้วยังจะใจร้าย ไม่บอกรักเค้าอีกเหรอ" ติ๊ดๆ ติ๊ดๆ เสียงจาก โทรศัพท์บอกผมว่ามีสายซ้อน ผมมองไปที่หน้าจอมันขึ้นชื่อว่า "Home" "โธ่ แม่โทรมาทำาไมตอนนี้เนี่ย กำาลังเข้าด้ายเข้าเข็มเลย" ผมไม่สลับสาย . . . ผมยังคงคุยกับสุดที่รักของผมต่อไป เพราะผมรู้ว่า สิ่งที่แม่จะคุยกับผมก็คงเป็นประโยคเดิมๆ และนั่น เป็นการตัดสินใจ . . . ที่ผิดพลาดที่สุดในชีวิตของผม หลังจากนั้นไม่นาน . . . ทางญาติของผมโทรมาแจ้งผมว่า . . . เมื่อคืนนี้บ้านของผมถูก ขโมยเข้า และแม่ของผมขัดขืน และได้ต่อสู้กับโจร จึงถูกโจรใช้มีดแทงเข้าที่ท้อง แม่เสียชีวิต เพราะทนพิษบาดแผลไม่ไหว ญาติของผมเล่าอีกว่า . . . ตอนไปพบศพแม่นั้น ในมือของแม่กำาโทรศัพท์ไว้แน่น และเบอร์โทรออกล่าสุดของเธอ ไม่ใช่โทรแจ้งตำารวจ หรือเรียกรถพยาบาล แต่แม่เลือกที่จะโทรหาผม สิ่งสุดท้ายในชีวิต ที่แม่ผมเลือกที่จะทำาคือ . . . โทรศัพท์หาผมเพื่อฟังเสียงของผม วินาทีนั้นนำ้าตาของผมไหลอาบแก้ม ผมพูดอะไรไม่ออก มือและตัว ของผมสั่น 11
  • 12. วันนั้น . . . ผมเลือกที่จะคุยกับแฟนผม ดีกว่าที่จะคุยกับ แม่ของผม ผู้หญิงคนเดียวในโลก ที่คุยกับผมเป็นคนแรกในชีวิต ผู้หญิงคน เดียวที่ผมสามารถที่จะคุยกับเธอได้ทุกเวลา โดยที่ผมไม่ต้องเตรียม บทพูดใดๆ ไม่ต้องกังวลว่าเธอจะประทับใจหรือไม่ ไม่ต้องมีมุข ไม่ต้องมีคำาหวานใดๆ คนเดียวในโลก ที่โทรมาหา ผมเพียงแค่ฟังผมพูดประโยคเดิมๆ คนเดียวในโลกที่ไม่ว่า โทรศัพท์เธอจะโปรโมชั่นแพงแค่ไหนก็ยัง โทรหาผม และคนเดียวในโลก ที่เลือกคุยกับผมในวินาทีสุดท้ายใน ชีวิต ในบางครั้งประโยคที่ว่า "ไม่มีคำาว่าสาย หากเราคิดที่ จะแก้ตัว" มันก็ไม่เป็นความจริง "เพราะบางปรากฏการณ์ในโลก เกิดขึ้นได้แค่ ครั้งเดียว" อาจเป็นเพราะเวรกรรมของผม หลังจากนั้นไม่นาน แฟนผมที่ผมใช้ เวลาคุยกับเธอวันหลายๆ ชั่วโมงก็ทิ้งผมไป วันนี้ผมเริ่มเข้าใจชีวิตมากขึ้น หลายๆ อย่างที่คนส่วน ใหญ่ทำา มิได้หมายถึงสิ่งที่ถูกต้องเสมอไป เพราะตัวเราเท่านั้นที่ เป็นผู้ต้องรับผลการกระทำาของเราเอง "เราจะรู้ว่าสิ่งใดสำาคัญ ก็ ต่อเมื่อเราต้องเสียมันไป" ทุกวันนี้ผมนั่งมองโทรศัพท์ รอที่จะ ตอบคำาถามเดิมๆ ให้ผู้หญิงคนหนึ่งฟัง แต่ . . . ผู้หญิงคนนั้นคงไม่มีอีกแล้ว "ในเมื่อเรามีความรัก อัน เต็มเปี่ยมจากครอบครัว แล้วทำาไมต้องไปขอเศษเสี้ยวจากใคร" ถึงจะไม่ใช่ "วันแม่" แต่เรา ก็สามารถทำาดีและเอาใจใส่บุคคลที่เป็น "แม่" ของเราได้ทุกวันใช่ มั้ยครับ ๖. บทความข้างต้นเป็นบทความประเภทใด ก. บรรยาย ข. วิเคราะห์ ค. วิจารณ์ ง. วิชาการ ๗. นำ้าเสียงของผู้แต่งเป็นอย่างไร ก. ท้อแท้สิ้นหวัง ข. เศร้าโศกเสียใจ ค. อาลัยอาวรณ์ ง. ต้องการกำาลังใจ 12
  • 13. ๘. ผู้แต่งใช้กลวิธีใดในการจูงใจผู้อ่าน ก. ใช้อารมณ์เศร้า ข. ใช้เหตุผล ค. ใช้ตัวอย่างประกอบ ง. ใช้ความแปลกใหม่ ๙. ใจความสำาคัญที่สุดที่ผู้แต่งต้องการบอกผู้อ่านคืออะไร ก. ให้รักแม่ให้มากก่อนที่ไม่มีแม่ให้รัก ข. วัยรุ่นทำาตัวไร้สาระ ค. เราควรทำาดีเพื่อแม่ ง. ถ้ารักแม่ให้หมั่นทำาความดี และเชื่อฟังแม่ ๑๐. นักเรียนคิดอย่างไรกับพฤติกรรมของวัยรุ่นที่ “… เที่ยว นอน กิน . . . ดึกๆ ก็โทรคุยกับแฟน เป็นกิจวัตรประจำาวัน…” ก. เป็นเรื่องส่วนตัวของเขาไม่เกี่ยวกับเรา ข. สงสารพ่อแม่ผู้ปกครองที่ต้องเสียใจกับพฤติกรรมของลูก ค. เป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมกับวัยรุ่นน่าจะสนใจเรียน หนังสือให้มากกว่า ง. เป็นเรื่องธรรมดาสำาหรับวัยรุ่นในยุคปัจจุบันถ้าไม่อย่างนั้น จะไม่ทันสมัย เฉลยข้อสอบก่อนเรียน ๑. ค ๒. ข ๓. ง ๔. ค ๕. ก ๖. ค ๗. ข๘. ง ๙. ค ๑๐. ค ใบความรู้เรื่อง การอ่านบทความ 13
  • 14. ความหมาย บทความ คืองานเขียนเรียบเรียงถ้อยคำาเพื่อสื่อสารกับ ผู้อ่านจำานวนมาก เพื่อแสดงถึงความรู้สึกในด้านต่าง ๆ ลักษณะของบทความ ๑. ส่วนนำาหรือส่วนเริ่มต้น เพื่อให้ความเร้าใจแก่ผู้อ่าน ผู้เขียนอาจ นำาเรื่องด้วยคำาประพันธ์ สุภาษิต หรือสำานวนโวหาร หรือถ้าเป็นการ เขียนแบบร้อยแก้วก็มีถ้อยคำาที่ดีเด่น ๒. บทความไม่จำาเป็นต้องสมบูรณ์ในตัวเอง อาจแสดงความรู้ ความคิดไว้เพียงบางส่วนเท่านั้น ๓. บทความ เป็นหลักฐานอ้างอิงโดยเฉพาะบทความทางวิชาการ หรือ รายงานผลการวิจัย ๔. บทความควรจะ เสนอเรื่องที่น่าสนใจ ทันสมัย หรือมีความสำาคัญมากเป็นพิเศษ ไม่ จำาเป็นต้องมีสรุป หรือส่วนลงท้าย ๕. บทความจะต้องเขียนให้น่าอ่าน โดยใช้กลวิธีเสนอเรื่องที่เร้า ความสนใจ ซึ่งต้องอาศัยท่วงทำานองการเขียนทีดีดึงดูดความสนใจ ของผู้อ่าน ๖. บทความต้องเสนอแนวคิดที่แปลกและใหม่เพื่อให้ผู้อ่านติดตาม ต่อไปและต้องมีข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ องค์ประกอบของบทความ ๑. ชื่อเรื่อง เป็นส่วนแรกของบทความที่สร้างความสนใจแก่ผู้ อ่าน บทความในหนังสือพิมพ์ หรือ นิตยสาร อาจตีพิมพ์ชื่อเรื่อง ด้วยตัวอักษรขนาดใหญ่เพื่อสร้างความ ๒. บทนำา คือ ส่วนที่อยู่ย่อหน้าแรกของบทความ มีลักษณะ เป็นการกล่าวนำาเรื่อง โดยให้ความรู้เบื้องต้น บอกส่วนนำาหรือส่วน เริ่มต้น ๓. เนื้อหา เป็นส่วนสำาคัญที่สุดของบทความ เพราะเป็นส่วนที่ รวบรวมความรู้ สาระต่างๆและความคิดเห็นของผู้เขียน ๔. บทสรุป คือ ส่วนสุดท้ายของบทความที่ผู้เขียนใช้สรุปเนื้อหา และสร้างความประทับใจแก่ผู้อ่าน โดยใช้กลวิธีหลายประการ เช่น การชักจูงใจให้ดำาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง การให้ข้อคิด การหาแนวร่วม 14
  • 15. ประเภทของบทความ ๑. บทความบรรยายเหตุการณ์ เป็นบทความที่บรรยายเรื่อง ราวต่างๆที่เป็นเหตุการณ์ในความสนใจของคนสังคม มีจุดมุ่ง หมายเพื่อรายงานให้ผู้อ่านทราบความเป็นไปของบ้านเมือง และมีส่วนร่วมในเหตุการณ์นั้น ๆ ๒. บทความเชิงวิเคราะห์ เป็นบทความที่ผู้เขียนนำาเสนอ เรื่องราวต่าง ๆที่เป็นข่าว หรืออยู่ในความสนใจของประชาชน โดยจำาแนกออกเป็นประเด็นต่างๆ อย่างชัดเจนลึกซึ้งยิ่งขึ้น ๓. บทความเชิงวิจารณ์ เป็นบทความที่ผู้เขียนต้องการ เสนอความคิดเห็นของตนเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เป็นข่าว หรือ เรื่องที่กำาลังอยู่ในความสนใจของประชาชนส่วนใหญ่ การ เสนอความคิดเห็นเป็นไปในลักษณะโต้แย้ง ไม่เห็นด้วย หรือ เสนอแนะแนวทาง หรือชี้ให้เห็นข้อบกพร่อง ๔. บทความเชิงวิชาการ เป็นบทความที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ สาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง บทความเชิงวิชาการที่นำาเสนอใน หนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร ส่วนใหญ่ไม่มีความยาวมากนัก นอกจากนี้ ข้อมูลยังมีความถูกต้องน่าเชื่อถือน้อยกว่าบทความ ทางวิชาการในวารสารวิชาการ หลักในการอ่านและพิจารณาบทความ ๑. อ่านชื่อเรื่อง ตีความชื่อเรื่อง ชื่อเรื่องอาจบอกแนวคิดของผู้เขียน ๒. อ่าน ๒ ย่อหน้าแรกเพื่อหาสาเหตุที่ผู้เขียนต้องการนำาเสนอ ๓. อ่าน ๒ ย่อหน้าสุดท้ายเพื่อจะได้ทราบความต้องการของผู้ เขียนว่าต้องการให้ผู้อ่านทำาอะไร เช่น ให้ปฏิบัติตาม ให้เชื่อ ให้เข้าใจ ๔. หากอ่านตามนี้แล้วยังไม่ชัดเจนให้กวาดสายตาอ่านแบบ 15
  • 16. สำารวจในย่อหน้ากลาง ๆ อีกครั้ง เนื้อหา สาระ ข้อเท็จจริง เกี่ยวกับเรื่องต้องมีหลักฐาน และข้อมูลเพียง พอที่จะเชื่อถือได้ ๕. จุด มุ่งหมายของผู้เขียน ต้องการให้ใครอ่าน และต้องการให้ผู้ อ่านมีความคิดอย่างไร ๖. การวางโครงเรื่อง จะช่วยให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่วางไว้ได้ กลวิธีการเขียนและการดำาเนินเรื่อง สอดคล้องกันหรือไม่ และ ตรงตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ ๗. การใช้ภาษาไม่วกวน อ่านง่ายและน่าสนใจสนใจ ๘. ประโยชน์ที่ได้รับ ผู้อ่านได้รับประโยชน์มากน้อยเพียงใด ข้อคิดหรือทรรศนะของผู้เขียนสามารถนำาไปปฏิบัติได้หรือไม่ บทความนี้มีประโยชน์กับบุคคลเฉพาะกลุ่มหรือบุคคลส่วนใหญ่ ในสังคม กิจกรรมที่ ๑ (กิจกรรมกลุ่ม) จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนอธิบายลักษณะของบทความได้ ๒. นักเรียนอ่านจับใจความของบทความได้ ๓. นักเรียนบอกข้อคิดและวิเคราะห์คุณค่าจากบทความ ที่อ่านได้ กลุ่มที่...............ชื่อ กลุ่ม........................................................... รายชื่อสมาชิก ๑. ................................................... ๒........ ..................................................................... ๓. ........................................................... ๔.............................................................................. 16
  • 17. คำาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านบทความที่กำาหนดให้ต่อไปนี้ โดยอ่านเนื้อหาของบทความ ให้ละเอียด แล้ววิเคราะห์บทความโดยตอบคำาถามตามที่นักเรียน เข้าใจ ปัญหาวัยรุ่น ต้นเหตุ และทางแก้ ๑. เวลารับรู้ปัญหาของวัยรุ่น หลายคนมีความหงุดหงิด ไม่ พอใจ เบื่อ รู้สึกว่าทำาไมเด็กไม่เลือกสิ่งที่ดีให้กับตนเอง ทำาไมต้อง สร้างปัญหา จนมีคนจำานวนหนึ่งอยากจัดการแก้ปัญหาด้วยความ รุนแรง แต่ในความเป็นจริง พฤติกรรมที่ปรากฏมีเหตุปัจจัยหลาย อย่างเชื่อมโยงกัน ที่น่าคิดคิดคือทำาไมเด็กบางคนมีปัญหาพฤติกรรม เช่น ติดยาเสพติด เล่นการพนัน ชอบความรุนแรง มีปัญหาเรื่องเพศ เป็นต้น แต่ทำาไมเด็กบางคนไม่มีปัญหาทั้ง ๆ ที่อยู่ในสภาพแวดล้อม ที่เสี่ยง ผู้อำานวยการสถาบันราชานุกูลอธิบายถึงปัญหานี้ว่า ปัจจัย เสี่ยงที่ทำาให้เกิดปัญหาวัยรุ่น มีมากมายที่สำาคัญคือ ปัจจัยเสี่ยงใน ครอบครัว ปัจจัยเสี่ยงในชุมชนและสังคม และปัจจัยเสี่ยงในตัวเด็ก เอง ดังนั้นหากแก้ไขปัญหาก็ต้องลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ และสร้าง ปัจจัยปกป้องเพิ่มขึ้น ซึ่งที่สำาคัญก็คือ ภูมิคุ้มกันในตัวเด็ก ๒. ปัจจัยเสี่ยงในครอบครัวส่วนใหญ่เกิดจากวิธีการเลี้ยงดูเด็ก ที่ไม่ถูกต้อง เช่น ตามใจลูกมากเกินไป ไม่รู้วิธีที่จะจูงใจเด็กให้ทำา ตามคำาสั่งพ่อแม่ บางครอบครัวใช้วิธีบังคับรุนแรงแต่ไม่เคยแก้ ปัญหาได้ บางครอบครัวมีปัญหาขัดแย้งในครอบครัวจนเด็กไม่ อยากกลับบ้าน ในที่สุดก็มีกลุ่มของตนเองและรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วน หนึ่งของกลุ่มมากกว่าครอบครัว บางครอบครัวส่งเสริมพฤติกรรมที่ เป็นปัญหา มองว่าปัญหามาจากเพื่อนหรือคนอื่นปกป้องเด็กในทาง ที่ผิด ไม่ฝึกเด็กให้รับผิดชอบการกระทำาของตนเอง นอกจากนี้การ ที่ตัวพ่อแม่เองมีปัญหาทางด้านพฤติกรรมด้วยก็เลยเป็นเรื่องเดินตาม พ่อปูแม่ปู ๓. สำาหรับปัจจัยเสี่ยงในตัวเด็กก็เป็นผลมาจากครอบครัวเช่น กัน โดยเฉพาะการไม่รับการ ยอมรับจากคนในครอบครัว ถูกมองว่า เป็นแกะดำา ทำาอะไรก็ไม่ได้เรื่อง จะทำาให้เด็กมีความคิดต่อต้าน 17
  • 18. สังคม ไม่ยอมรับกติกาการอยู่ร่วมกัน พฤติกรรมที่เป็นปัญหาว่าเป็น ความทันยุคทันสมัยและทำาให้เป็นที่ยอมรับในกลุ่ม เหตุสำาคัญของปัญหาวัยรุ่นอีกอย่างหนึ่งคือ ปัจจัยเสี่ยงใน ชุมชนและสังคม ได้แก่การที่เด็กเข้าถึงอบายมุข เหล้า ยา อาวุธ สื่อ ลามก และสิ่งยั่วยุทั้งหลายได้โดยง่าย เมื่อทัศนคติของชุมชนเองก็ ยอมรับสิ่งเหล่านี้และผู้ใหญ่ก็ทำาผิดให้เด็กเห็น เด็กก็ย่อมซึมซับรับ เอาพฤติกรรมที่เป็นปัญหามาปฏิบัติบ้าง คำาถาม ๑. บทความมีองค์ประกอบอย่างไรบ้าง……….. …….......................................................... ๒. บทความที่อ่านเป็นบทความประเภท ใด.......................................................................... ๓. ใจความสำาคัญของบทความ ๔. ผู้เขียนต้องการสื่อสารอะไร หรือนำ้าเสียงของผู้เขียนเป็นอย่างไร ปัญหาที่พบใน บทความ........................................................................ .................... ๕. บทความนี้มีประโยชน์ต่อนักเรียน อย่างไร....................................................................... กิจกรรมที่ ๒ (กิจกรรมรายบุคคล) คำาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละคนอ่านบทความที่กำาหนดให้ต่อไปนี้ แล้ววิเคราะห์บทความโดยตอบคำาถาม 18
  • 19. เศรษฐกิจพอเพียง ๑. การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีรากฐานมาจาก หลักการเรื่องทางสายกลางและหลักความไม่ประมาท หลักเศรษฐกิจ พอเพียงนี้ประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ ซึ่งต้องไปพร้อม ๆ กัน กล่าวคือ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและ ไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและ การบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การกระทำาในเรื่องหลักการ ความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจาก เหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจาก การกระทำานั้น ๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อม รับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำานึง ถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน อนาคตทั้งใกล้และไกล ๓. หลักเศรษฐกิจพอเพียงนั้นนำาไปสู่กระบวนการตัดสินใจ และดำาเนินการให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นกระบวนการดังกล่าวต้อง ประกอบด้วยพื้นฐาน ๒ ประการ การใช้ความรู้ ประกอบด้วยความรู้รอบตัวเกี่ยวกับวิชาการ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำาความรู้เหล่า นั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความ ระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ ๔. การมีคุณธรรมที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความ ตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความ เพียรใช้สติปัญญาในการดำาเนินชีวิตการตัดสินใจ ซึ่งกระบวนการตัดสินใจและดำาเนินการดังกล่าว จึงนำาไปสู่ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืนทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี (คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สำานักคณะ กรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) คำาถาม 19
  • 20. ๑. บทความมีองค์ประกอบอย่างไรบ้าง……….. …….......................................................... ๒. บทความที่อ่านเป็นบทความประเภท ใด.......................................................................... ๓. ใจความสำาคัญของบทความ ๔. ผู้เขียนต้องการสื่อสารอะไร หรือนำ้าเสียงของผู้เขียนเป็นอย่างไร ปัญหาที่พบใน บทความ........................................................................ .................... ๕. บทความนี้มีประโยชน์ต่อนักเรียน อย่างไร....................................................................... 20
  • 21. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่องการอ่านและ วิเคราะห์บทความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๔-๖ ๑. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ ๑ ฉบับนี้ ใช้ทดสอบความ สามารถในการคิดวิเคราะห์ ก่อนการฝึกกิจกรรม การคิดวิเคราะห์ชุดที่ ๒ เรื่องการอ่านและ วิเคราะห์บทความ เป็นแบบทดสอบปรนัยแบบ เลือกตอบ ๔ ตัว เลือก จำานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน ใช้เวลาในการทดสอบ ๓๐ นาที ๒. ให้นักเรียนอ่านข้อคำาถามและคำาตอบให้ละเอียด แล้วเลือก คำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำาตอบ เดียวแล้วนำาไปตอบลงในกระดาษคำาตอบ โดยทำาเครื่องหมาย X ลงในช่องตัวเลือกที่ต้องการ ๓. ให้นักเรียนทำาแบบทดสอบให้ครบทุกข้อ อ่านบทความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถาม ข้อ ๑-๕ ข้าวแต่ละเม็ดไม่ได้มาง่าย ๆ ข้าวหนึ่งเม็ด ได้มา ไม่ง่าย ทานข้าวในจาน นึกถึงที่มา โปรดอย่าเหลือทิ้ง เป็น บาปหนักหนา ถางหญ้ากลางแดดจ้า หลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน เหงื่อไหลรินอาบหน้า ความทุกข์จากชาวนา พระอาทิตย์ พระจันทร์ต้องส่องแสง หล่อเลี้ยง จากอากาศ เติบโตได้กว่าร้อยวัน จึง 21
  • 22. เก็บเกี่ยวยามสมควร ดิฉันมีโอกาสได้อ่านข้อคิดคำาคมที่แปลจาก สุภาษิตจีนบทนี้แล้ว ก็อดตั้งคำาถามขึ้นมาในใจไม่ได้ ว่า . . . ถ้าวันหนึ่งข้างหน้าประเทศไทยไม่สามารถปลูกข้าว กินได้ อาจเพราะไม่มีพื้นที่ทำานา ไม่มีใครปลูกข้าว ชาวนารุ่น หลังหันหลังให้ท้องนาหันหน้าเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ จนเราต้องซื้อข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น อินเดีย เวียดนาม เพื่อนำามาบริโภค อยากรู้จริงๆ ว่าคนไทยกว่า ๖๐ ล้านคนจะรู้สึกอย่างไร …? หลายคนอาจจะหัวเราะที่ดิฉันถามคำาถามนี้ขึ้นมา เพราะเป็นไปไม่ได้ที่เมืองไทยจะไม่มีข้าวกิน แต่อย่าลืมว่าใน อนาคตอะไรก็เป็นไปได้หมด ยิ่งโลกร้อน เกิดภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ นำ้าท่วมบ่อยๆ อาจทำาให้คำาถามที่คิดว่าไม่น่าถามนี้ เป็นไปได้ และเชื่อว่าหากเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นจริงๆ หลายต่อ หลายคนต้องโทษคนโน้นโทษคนนี้ ทั้งๆ ที่ไม่เคยมองหรือถาม ตัวเองเลยว่า ทุกวันนี้เราทำาทุกอย่างดีพอหรือยัง เรากินข้าว หมดจานไหม เรากินทิ้งกินขว้างหรือเปล่า เคยจำาได้ว่าตอนเป็นเด็กคุณครูจะให้ท่องบทกลอนหนึ่ง ก่อนกินข้าวทุกมื้อ ... ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่าง อย่ากินทิ้ง ขว้าง เป็นของมีค่า พ่อแม่เหนื่อยยาก ลำาบากหนักหนา สงสาร บรรดา คนยากคนจน ... แต่พอเวลาผ่านไปเมื่อเติบโต ขึ้น กลอนบทนี้ก็กลายเป็นเพียงความทรงจำาสีจางที่ เข้าไปหลบอยู่ในซอกเล็กๆ ของความทรงจำา จนทำา ให้หลายๆ คนมักมองข้ามและไม่เคยนึกถึง ทุกวันนี้เรามีข้าวปลาอาหารกินครบ ๓ มื้อ เผลอๆ อาจ จะมีบ้างที่กินเหลือ กินขว้าง กินทิ้ง กินเล่น แต่ในทาง กลับกันยังมีอีกหลายคนไม่มีแม้แต่ข้าวสักเม็ดตกถึงท้อง นั่งรอ คอยความหวังว่าจะได้กินอาหารดีๆ สักมื้อในชีวิตก่อนหมดลม หายใจ … ๑. เรื่องนี้จัดเป็นบทความเพราะ ก. ให้ความรู้ขนาดสั้น ทันสมัย น่าสนใจ ข. เป็นการเสนอความคิดเห็นที่น่าสนใจอย่างสั้น ๆ 22
  • 23. ค. เป็นการเสนอความคิดเห็นของผู้แต่งและเสนอความรู้ของผู้ มีชื่อเสียง ง. การเสนอเหตุผลและตัวอย่างโน้มน้าวจูงใจ ๒. ควรเป็นบทความประเภทใดมากที่สุด ก. บรรยาย ข. วิเคราะห์ ค. วิจารณ์ ง. ไม่มีข้อถูก ๓. จุดเด่นที่จูงใจให้ผู้อ่านเชื่อถือและเห็นจริงในเรื่องนี้มากที่สุดคือ อะไร ก. อ้างบุคคลที่มีชื่อเสียง ข. ให้เหตุผลที่น่าเชื่อถือ ค. ยกตัวอย่างที่ชัดเจน ง. ให้ความรู้ใหม่ที่น่า สนใจ ๔. ใจความสำาคัญของบทความคืออะไร ก. ความจนทำาให้คนเฉยชา ข. การตอบแทนพระคุณพ่อแม่ ค. หัวอกคนเป็นพ่อ ง. นี่หรือคนไทยในปัจจุบัน ๕. นำ้าเสียงของผู้แต่งเป็นอย่างไร ก. เศร้าสลด ข. โกรธ เกลียด ค. เวทนา สงสาร ง. ให้กำาลังใจ อ่านบทความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถาม ข้อ ๖-๑๐ แด่เธอ… คนที่ฉัน ให้ความสำาคัญน้อยไป ผมก็เป็นอีกคนที่เหมือนวัยรุ่นทั่วๆ ไป เรียน เที่ยว นอน กิน . . . ดึกๆ ผมก็โทรคุยกับแฟนของผม ทั้งหมดเหล่านี้ มันก็เป็น กิจวัตรประจำาวันของผม และผมก็เชื่อว่าวัยรุ่นสมัยนี้เค้าก็ทำาแบบนี้ กัน (ความเข้าใจของผมนะ) "จ้า ตัวเอง วันนี้กินข้าวรื้อยาง" "กิน กับอะไรบ้าง แล้วตอนกินตัวเองคิดถึงเค้ามั้ยเนี่ย" "รู้มั้ยตัวเอง ถ้า เค้าเป็นผีเนี่ย เค้าอยากเป็นกระสือที่รักจะได้เห็นใจไง" "ตัวเองวางก่อนดิ ก่อนดิ" นี่คือประโยคต่างๆ ที่ผมได้คิด และคัดสรร เตรียมพร้อมมาต่างๆ ก่อนโทรหาแฟน ในตอนดึกของทุกๆ วัน . . . ผมยังคงใช้เวลาส่วนใหญ่ใน การคุยโทรศัพท์ แต่ผมกลับรู้สึกว่า ระยะเวลาที่ผมใช้ไปนั้นไม่นานเลย แต่ . . . พอ รู้สึกอีกที มันกลับผ่านไปหลายชั่วโมงแล้ว ผมก็ไม่ชอบนะ . . . หากใครจะมาว่าผมไร้สาระ ก็ไม่เห็นเหรอคนส่วนใหญ่เค้าก็ทำากัน 23
  • 24. ใครไม่ทำาก็เชยเป็นบ้าแล้ว . . . เอ้อ . . .เกือบลืมไปอีกอย่าง กิจวัตรอีกอย่างหนึ่งของผมก็คือ แม่ของผมมักชอบโทรหาผมทุกวัน "ตอนนี้ลูกอยู่หอรึยัง" "เย็นนี้กินข้าวอิ่มมั้ย" "วันนี้เรียนเป็นยังไงบ้าง" "อย่าไปเที่ยวที่ไหนไกลนะ" โธ่! คำาถามเดิมๆ ผมก็ตอบไปแบบ เดิมๆ แม่ผมก็ไม่เบื่อซักที ยังคงโทรหาผมเป็นประจำา โชคดี . . . ที่ผม พยายามตัดบทคุย ผมกับแม่น่ะคุยกันไม่กี่นาทีก็วางแล้ว ก็มันไม่มีอะไรจะคุยจะให้ผม ทำายังไง จนกระทั่งวันนั้น . . . "ตัวเองตอบเค้าได้รึยังว่ารักเค้ามั้ย" "เร็วๆ สิ เค้ายังอุตส่าห์ บอกรักตัวเองไปแล้วนะ" "แล้วยังจะใจร้าย ไม่บอกรักเค้าอีกเหรอ" ติ๊ดๆ ติ๊ดๆ เสียงจาก โทรศัพท์บอกผมว่ามีสายซ้อน ผมมองไปที่หน้าจอมันขึ้นชื่อว่า "Home" "โธ่ แม่โทรมาทำาไมตอนนี้เนี่ย กำาลังเข้าด้ายเข้าเข็มเลย" ผมไม่สลับสาย . . . ผมยังคงคุยกับสุดที่รักของผมต่อไป เพราะผมรู้ว่า สิ่งที่แม่จะคุยกับผมก็คงเป็นประโยคเดิมๆ และนั่น เป็นการตัดสินใจ . . . ที่ผิดพลาดที่สุดในชีวิตของผม หลังจากนั้นไม่นาน . . . ทางญาติของผมโทรมาแจ้งผมว่า . . . เมื่อคืนนี้บ้านของผมถูก ขโมยเข้า และแม่ของผมขัดขืน และได้ต่อสู้กับโจร จึงถูกโจรใช้มีดแทงเข้าที่ท้อง แม่เสียชีวิต เพราะทนพิษบาดแผลไม่ไหว ญาติของผมเล่าอีกว่า . . . ตอนไปพบศพแม่นั้น ในมือของแม่กำาโทรศัพท์ไว้แน่น และเบอร์โทรออกล่าสุดของเธอ ไม่ใช่โทรแจ้งตำารวจ หรือเรียกรถพยาบาล แต่แม่เลือกที่จะโทรหาผม สิ่งสุดท้ายในชีวิต ที่แม่ผมเลือกที่จะทำาคือ . . . 24
  • 25. โทรศัพท์หาผมเพื่อฟังเสียงของผม วินาทีนั้นนำ้าตาของผมไหลอาบแก้ม ผมพูดอะไรไม่ออก มือและตัว ของผมสั่น วันนั้น . . . ผมเลือกที่จะคุยกับแฟนผม ดีกว่าที่จะคุยกับ แม่ของผม ผู้หญิงคนเดียวในโลก ที่คุยกับผมเป็นคนแรกในชีวิต ผู้หญิงคนเดียวที่ผมสามารถที่จะคุยกับเธอได้ทุกเวลา โดยที่ผมไม่ ต้องเตรียมบทพูดใดๆ ไม่ต้องกังวลว่าเธอจะประทับใจหรือไม่ ไม่ ต้องมีมุข ไม่ต้องมีคำาหวานใดๆ คนเดียวใน โลก ที่โทรมาหาผมเพียงแค่ฟังผมพูดประโยคเดิมๆ คนเดียวใน โลกที่ไม่ว่า โทรศัพท์เธอจะโปรโมชั่นแพงแค่ไหนก็ยังโทรหาผม และคนเดียวในโลก ที่เลือกคุยกับผมในวินาทีสุดท้ายใน ชีวิต ในบางครั้งประโยคที่ว่า "ไม่มีคำาว่าสาย หากเราคิดที่ จะแก้ตัว" มันก็ไม่เป็นความจริง "เพราะบางปรากฏการณ์ในโลก เกิดขึ้นได้แค่ ครั้งเดียว" อาจเป็นเพราะเวรกรรมของผม หลังจากนั้นไม่นาน แฟนผมที่ผมใช้ เวลาคุยกับเธอวันหลายๆ ชั่วโมงก็ทิ้งผมไป วันนี้ผมเริ่มเข้าใจชีวิตมากขึ้น หลายๆ อย่างที่คนส่วน ใหญ่ทำา มิได้หมายถึงสิ่งที่ถูกต้องเสมอไป เพราะตัวเราเท่านั้นที่ เป็นผู้ต้องรับผลการกระทำาของเราเอง "เราจะรู้ว่าสิ่งใดสำาคัญ ก็ ต่อเมื่อเราต้องเสียมันไป" ทุกวันนี้ผมนั่งมองโทรศัพท์ รอที่จะ ตอบคำาถามเดิมๆ ให้ผู้หญิงคนหนึ่งฟัง แต่ . . . ผู้หญิงคนนั้นคงไม่มีอีกแล้ว "ในเมื่อเรามีความรัก อัน เต็มเปี่ยมจากครอบครัว แล้วทำาไมต้องไปขอเศษเสี้ยวจากใคร" ถึงจะไม่ใช่ "วันแม่" แต่เรา ก็สามารถทำาดีและเอาใจใส่บุคคลที่เป็น "แม่" ของเราได้ทุกวันใช่ มั้ยครับ ๖. บทความข้างต้นเป็นบทความประเภทใด ก. บรรยาย ข. วิเคราะห์ ค. วิจารณ์ ง. วิชาการ ๗. นำ้าเสียงของผู้แต่งเป็นอย่างไร ก. ท้อแท้สิ้นหวัง ข. เศร้าโศกเสียใจ 25
  • 26. ค. อาลัยอาวรณ์ ง. ต้องการกำาลังใจ ๘. ผู้แต่งใช้กลวิธีใดในการจูงใจผู้อ่าน ก. ใช้อารมณ์เศร้า ข. ใช้เหตุผล ค. ใช้ตัวอย่างประกอบ ง. ใช้ความแปลกใหม่ ๙. ใจความสำาคัญที่สุดที่ผู้แต่งต้องการบอกผู้อ่านคืออะไร ก. ให้รักแม่ให้มากก่อนที่ไม่มีแม่ให้รัก ข. วัยรุ่นทำาตัวไร้สาระ ค. เราควรทำาดีเพื่อแม่ ง. ถ้ารักแม่ให้หมั่นทำาความดี และเชื่อฟังแม่ ๑๐. นักเรียนคิดอย่างไรกับพฤติกรรมของวัยรุ่นที่ “… เที่ยว นอน กิน . . . ดึกๆ ก็โทรคุยกับแฟน เป็นกิจวัตรประจำาวัน…” ก. เป็นเรื่องส่วนตัวของเขาไม่เกี่ยวกับเรา ข. สงสารพ่อแม่ผู้ปกครองที่ต้องเสียใจกับพฤติกรรมของลูก ค. เป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมกับวัยรุ่นน่าจะสนใจเรียน หนังสือให้มากกว่า ง. เป็นเรื่องธรรมดาสำาหรับวัยรุ่นในยุคปัจจุบันถ้าไม่อย่างนั้น จะไม่ทันสมัย เฉลยข้อสอบหลังเรียน ๑. ค ๒. ข ๓. ง ๔. ค ๕. ก ๖. ค ๗. ข๘. ง ๙. ค ๑๐. ค บรรณานุกรม กรมวิชาการ. คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : 26
  • 27. โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์, ๒๕๔๕. สุวิทย์ มูลคา. ๒๕๔๗. กลยุทธ์การสอนคิดวิเคราะห์. พิมพ์ครั้ง ที่ ๒. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจากัด ภาพพิมพ์ สุวิทย์ มูลคา และ อรทัย มูลคา. ๒๕๔๗. ๒๑ วิธีจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. พิมพ์ครั้งที่ ๕ กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจากัด ภาพพิมพ์. วิชาการ, กรม. ๒๕๔๖.การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ 27